กรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย sbird30, 14 ธันวาคม 2016.

  1. sbird30

    sbird30 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2016
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +9
    ท่านใดมีคำถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน ๔ (พองหนอ-ยุบหนอ) เรียนเชิญค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 ธันวาคม 2016
  2. พงษ์สนั่น

    พงษ์สนั่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2014
    โพสต์:
    288
    ค่าพลัง:
    +336
    ผมก็ไม่ใช่นักปฏิบัตินะครับ แต่มีตั้งให้ถามผมก็อยากจะรับฟังความเห็นจากผู้ปฏิบัติ เผื่อเป็นแนวทางอะครับ +.+

    1. ยุบหนอ-พองหนอ อะไรคือนาม อะไรคือรูป ในคำกล่าว ยุบหนอ-พองหนอ นี้ครับ

    2. ยุบหนอ-พองหนอ ยุบเป็นเหตุของการพองหรือว่าพองเป็นเหตุแห่งการยุบ

    3. ยุบหนอ-พองหนอ ในแง่กลับด้าน มีส่วนที่ไม่ยุบ-ไม่พอง ใหมครับ

    4. ยุบหนอ-พองหนอ ในสองส่วนนี้ สิ่งไหนเป็นกุศล สิ่งไหนเป็นอกุศล

    5. ยุบหนอ-พองหนอ กับ อาหารใหม่-อาหารเก่า เหมือนกันใหมครับ

    6. ยุบหนอ-พองหนอ กับ การขับถ่าย เราจะพิจรณายังไงครับ หากไม่ขับถ่ายเลยจะรู้สึกอัดอั้นอะครับ

    7. สตรีมีครรภ์ตั้งท้องมาได้พอประมาณจนท้องพอง มีเด็กอยู่ในท้องแบบเป็นรูปเป็นร่างมนุษย์
    เราจะมองว่าแม่นี้ เป็น กายนอก เวทนานอก จิตนอก ธรรมนอก
    ส่วนเด็กนั้นเป็น กายใน เวทนาใน จิตใน ธรรมใน ได้ใหมครับ หรือมองในแบบอื่นครับ

    8.ในขณะที่แม่ท้องพองแม่มีลูกในท้องแต่ในขณะที่แม่ท้องยุบหรือคลอดแล้ว
    เราจะมองลูกว่าเป็น กายนอก เวทนานอก จิตนอก ธรรมนอก ได้ใหมครับหรือมองแบบอื่นครับ

    9. หากเจอกรณีการคลอดที่ว่า หากลูกรอดจากการคลอดแม่เสียชีวิต หากลูกเสียชีวิตแม่จะรอด
    เราจะเลือกรักษาร่างกายนอกหรือร่างกายตัวน้อยภายในไว้ดีครับ ที่จะเป็นธรรมที่เป็นสัมมาทิฏฐิ

    10. ยุบหนอ-พองหนอ เราจะสังเกตอย่างไรครับ ว่าสิ่งที่เราเรียกว่าชีวิตนั้นและสิ่งไม่มีชีวิต
    เริ่มจากตอนยุบหนอหรือว่าตอนพองหนอ

    ขอถาม 10 ข้อละกันครับ สำหรับเรื่อง สติปัฏฐาน 4 (ยุบหนอ-พองหนอ) ^_^
     
  3. sbird30

    sbird30 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2016
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +9
    ตอบคำถามค่ะ

    ตอบคำถามค่ะ

     
  4. เทพบุตรลั้ลลาลั้ลลั้ลลาาา

    เทพบุตรลั้ลลาลั้ลลั้ลลาาา เพื่อมวลมนุษย์แลสรรพสัตว์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2014
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +1,938
    อย่าเพิ่งไปใหนนะ ขอเวลาผมไปปฏิบัติสักห้าหกปี
    เมื่อติดขัดจะกลับมาถาม ถ้าไม่มาแสดงว่ายังไม่ติดขัด
    ให้รอต่อไปอิอิ
     
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    41,418
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,018
    .......
    ตั้ง๕.๖ ปีเชียวหรือคะ เป็นกําลังใจให้ค่ะ
     
  6. เทพบุตรลั้ลลาลั้ลลั้ลลาาา

    เทพบุตรลั้ลลาลั้ลลั้ลลาาา เพื่อมวลมนุษย์แลสรรพสัตว์

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2014
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +1,938
    ถ้าจริตไม่ชอบยุบพองหนอจะภาวนาว่า..โป่งแฟบๆได้ป่าวคับ
     
  7. sbird30

    sbird30 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2016
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +9
    พองหนอ-ยุบหนอ

    สามารถเปลี่ยนคำบริกรรมได้ตามภาษาท้องถิ่น แต่คำบริกรรมนั้นๆต้องมีความหมายที่ตรงกับการกระทำนั้นๆค่ะ เช่น พองหนอ-ยุบหนอ สามารถเปลี่ยนเป็น โป่งหนอ-แฟบหนอ .. สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการตามรู้การเคลื่อนไหวของผนังท้องกับคำบริกรรมต้องตรงกันค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2016
  8. บ้องแบ้ว

    บ้องแบ้ว นางฟ้าผู้น่ารัก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,295
    กระทู้เรื่องเด่น:
    105
    ค่าพลัง:
    +5,301
    แนวการปฏิบัติยุบหนอพองหนอ สติจับอยู่ที่ท้องอย่างเดียวใช่มั้ยคะ เผอิญถนัดแนวอานาปานุสสติค่ะ บริกรรมว่าเข้าออกหรือพุทโธ
     
  9. sbird30

    sbird30 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2016
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +9
    แนวทางของพองหนอ-ยุบหนอเป็นอานาปานสติเหมือนกันกับการภาวนาพุทโธค่ะ เพียงแค่ว่าพุทโธจะจับต้นลม แต่พองหนอ-ยุบหนอจะจับปลายของลมโดยรู้ตามการเคลื่อนของผนังท้อง
    ถามว่าสติจับอยู่ที่ท้องอย่างเดียวใช่ไหม - คำตอบคือไม่ใช่ค่ะ พองหนอ-ยุบหนอเป็นรูปแบบหนึ่งของการปฏิบัติกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน4 ซึ่งจะมี 4 ฐานคือ 1.กาย 2.เวทนา 3.จิต 4.ธรรม ที่จะต้องกำหนดไปด้วยตามสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2016
  10. sbird30

    sbird30 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 ธันวาคม 2016
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +9
    ขอบคุณนะคะสำหรับข้อมูลเพิ่มเติม ทุกรูปแบบมีความละเอียดอ่อนในเส้นทางเดินที่จะถึงจุดสูงสุดของภูเขาต่างกันแต่ปลายทางคือที่เดียวกัน ในหัวข้อนี้เราเอามาเปรียบเทียบแค่ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับผู้ปฏิบัติใหม่หรือผู้ที่ยังไม่เข้าใจในแนวของพองหนอ-ยุบหนอ เปรียบเทียบเบื้องต้นให้เห็นถึงความแตกต่างเบื้องต้นอย่างชัดเจนเท่านั้นค่ะ ในส่วนของความละเอียดลึกซึ้งกว่านี้ต้องพูดคุยกันในวงของผู้ปฏิบัติแนวเดียวกันถึงจะเข้าใจกัน
     

แชร์หน้านี้

Loading...