ไปเที่ยวดู อุโบสถ์เงิน...ศาสนสถานแห่งแรกของโลกกันครับ

ในห้อง 'ท่องเที่ยว - อาหารการกิน' ตั้งกระทู้โดย อดุลย์ เมธีกุล, 5 มีนาคม 2008.

  1. อดุลย์ เมธีกุล

    อดุลย์ เมธีกุล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 กันยายน 2007
    โพสต์:
    7,363
    ค่าพลัง:
    +11,793
    ท่องไปในแดนธรรม : อุโบสถเงิน...ศาสนสถานแห่งแรกของโลก



    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    วัดศรีสุพรรณ ตั้งอยู่ที่ถนนวัวลาย ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๐๔๓ ตรงกับสมัยของพระเจ้าเมืองแก้ว กษัตริย์ราชวงศ์มังราย โดยได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมาอุโบสถ เมื่อ พ.ศ. ๒๐๕๒ ใช้เป็นที่ทำสังฆกรรมของคณะสงฆ์ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธปาฏิหาริย์ (พระเจ้า ๕๐๐ ปี) ของวัดศรีสุพรรณ มาโดยตลอด ต่อมาอุโบสถหลังนี้ได้ชำรุดทรุดโทรม จนไม่เหลือเค้าโครงเดิม
    ตามหลักศิลาจารึกของวัดศรีสุพรรณ กล่าวไว้ว่า พ.ศ. ๒๐๔๓ พระเจ้าพิลกปนัดดาธิราชเจ้า หรือพระแก้วเมือง กษัตริย์เมืองเชียงใหม่ และพระนางสิริยสวดี พระราชมารดาโปรดให้มหาอำมาตย์ชื่อเจ้าหมื่นหลวงจ่าคำ นำพระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ องค์หนึ่งมาประดิษฐานและสร้างวัดศรีสุพรรณ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๐๕๒
    มีเรื่องเล่าสืบต่อมาว่าในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทหารญี่ปุ่นยึดวัดศรีสุพรรณ เป็นที่ตั้งฐานทัพ ใช้หอไตรของวัดเป็นกองบัญชาการ รบกับกองทัพพันธมิตร จนพระเณรต้องหนีไปอยู่ที่อื่น และได้มีการจับเชลยศึกจำนวนมากมาทรมานภายในวัด
    ฝ่ายพันธมิตรได้ส่งกำลังทางอากาศเข้าโจมตีฐานที่มั่นกองทัพญี่ปุ่นที่วัดศรีสุพรรณ ศาสนสถานได้รับความเสียหายย่อยยับ
    แต่เป็นเรื่องแปลกที่พระพุทธปาฏิหาริย์ มีรอยแฉลบของกระสุนที่ไหล่ขวาและเข่าซ้ายเท่านั้น
    นอกจากนี้แล้ว ภายในวัดยังปรากฏหลักศิลาจารึก ประวัติความเป็นมาของวัด ซึ่งจารึกด้วยอักษรฝักขาม บนหินทรายแดง
    สิ่งที่เป็นสถาปัตยกรรมและศิลปะล้านนายังพบเห็นได้จากเสนาสนะต่างๆ อาทิ หอไตร เป็นสถาปัตยกรรมล้านนาโบราณ เป็นที่เก็บรวบรวมคัมภีร์ ใบลาน และใช้ประโยชน์อื่นๆ ของวัด
    วิหาร เป็นสถาปัตยกรรมล้านนาโบราณ สร้างสมัยที่เรียกกันว่า "ยุคเก็บผักใส่ส้า เก็บข้าใส่เมือง" โดยพระเจ้ากาวิโรรส สร้างประมาณ พ.ศ. ๒๓๔๒ พระสมุห์สุพล สุทธสีดล อดีตเจ้าอาวาสได้ปฏิสังขรณ์ผสมผสานศิลปะร่วมสมัย จิตรกรรมฝาผนัง มีพระธาตุ ๑๒ ราศี พุทธจักรวาล ใช้สีโทนสีทอง ประดับผนังด้วยหัตถกรรมเครื่องเงิน
    พระครูพิทักษ์สุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดศรีสุพรรณ บอกว่า อุโบสถได้ชำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา ไม่เอื้อต่อการประกอบศาสนกิจ ของพระสงฆ์ กอปรกับกลุ่มศิลป์ล้านนาวัดศรีสุพรรณ ชมรมส่งเสริมสล่าล้านนา มีความปรารถนาอย่างแรงกล้า ที่ต้องการจะสืบสาน ส่งเสริมภูมิปัญญาหัตถกรรมเครื่องเงิน ถนนวัวลาย ดังนั้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงมีแนวคิดสร้าง อุโบสถเงินหลังแรกของโลก ให้เป็นสถาปัตยกรรมสำคัญทางพระพุทธศาสนา
    โดยอุโบสถเงินหลังนี้จะเป็นแหล่งรวบรวมลวดลายศิลปะล้านนาและลวดลายประจำท้องถิ่น นอกจากนี้ยังจะได้เป็นการส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชน

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    อุโบสถเงินหลังนี้ก่อสร้างในแบบสถาปัตยกรรมล้านนา ขนาดกว้าง ๕ เมตร ยาว ๑๗.๕๐ เมตร ก่ออิฐถือปูนเสริมเหล็กทุกส่วน ตกแต่งด้วยศิลปกรรม สลักลวดลายบนแผ่นอะลูมิเนียม และแผ่นเงินผสม ๙๒.๕ เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากหากใช้เงินแท้อาจถูกขโมย
    และที่สำคัญหากโดนความร้อนมากๆ อาจทำให้เปลี่ยนรูปแบบและคดงอได้
    ผนังอุโบสถสลักลวดลายภาพสามมิติ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธศิลป์ ปริศนาธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ของวัด และชุมชน ทั้งนี้จะมีการระดมช่างภูมิปัญญาท้องถิ่นทั้งสามชุมชนซึ่งมีความเชี่ยวชาญเป็นผู้สรรค์สร้าง สถาปัตยกรรมร่วมกัน โดยเป็นการก่อสร้างด้วยความศรัทธา ไม่มีค่าแรง
    เริ่มก่อสร้างเมื่อเดือนมิถุนายนปี ๒๕๔๘ ที่ผ่านมา คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี ๒๕๕๐ เพื่อสนองปณิธานการสร้างศิลป์แก่แผ่นดิน ล้านนาให้ปรากฏแก่สายตาของคนทั่วไป
    ส่วนปัจจัยในการก่อสร้างประเมินไว้ที่ ๘ ล้านบาท โดยได้มาจากการรับบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา ซึ่งในการรับบริจาค นอกจากเงินสดแล้วยังรับบริจาคเป็นเครื่องเงินทุกชนิดอีกด้วย เพื่อนำมาหลอมเป็นรูปแบบต่างๆ ตลอดจนการตกแต่งอุโบสถ ให้สวยงามที่สุด ล่าสุดมีผู้บริจาคเงินทุนการก่อสร้างแล้ว ๒ ล้านบาท
    "การก่อสร้างอุโบสถครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการต่ออายุพระพุทธศาสนาแล้วยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการทำเครื่องเงิน ไว้เป็นมรดกสืบทอดไปสู่อนุชนรุ่นหลังให้ยั่งยืนต่อไปอีกด้วย ทางวัดจึงได้จัดทำโครงการสร้างอุโบสถเงินนี้ขึ้นโดยมีปณิธาน ว่าจะร่วมสร้างสรรค์ส่งเสริม สนับสนุนภูมิปัญญาท้องถิ่น และสร้างศิลป์เป็นอนุสรณ์แก่แผ่นดินถิ่นล้านนา และถวายไว้ในบวร พระพุทธศานาสืบต่อไป" เจ้าอาวาสวัดศรีสุพรรณ กล่าว
    สำหรับชุมชนย่านถนนวัวลาย อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เป็นชุมชนเก่าแก่ที่ได้รับการสืบทอดภูมิปัญญาหัตถกรรมเครื่องเงินต่อกัน มาหลายชั่วอายุคน นับแต่สมัยพระเจ้ากาวิละ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์แรก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๘)
    ปัจจุบันยังคงเหลือร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมล้านนาโบราณอย่างสมบูรณ์แบบ ภายในวัดหมื่นสาร วัดนันทาราม และวัดศรีสุพรรณ เรื่อง เอกพงศ์ ประดิษฐ์พงษ์

    ที่มา - คม ชัด ลึก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มีนาคม 2008
  2. บุษบากาญจ์

    บุษบากาญจ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    9,476
    ค่าพลัง:
    +20,271
    (ข้อมูลเพิ่มเติมค่ะ)

    <TABLE height=1019 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=779 border=0><TBODY><TR><TH vAlign=top scope=col width=779>[​IMG] <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="27%">[​IMG]</TD><TD width="73%">
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD><TD class=toplink vAlign=top align=middle height="100%">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="27%"><TABLE id=table1 borderColor=#cccccc cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#cccccc border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" width="28%"><TABLE id=table2 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=middle bgColor=#ff6600>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table3 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table4 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table5 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table6 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table7 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table8 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table9 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    <TABLE id=table10 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" height=20><TABLE id=table11 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=middle bgColor=#ff6600>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table12 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table13 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table14 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table15 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table16 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table17 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" height=20><TABLE id=table18 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=middle bgColor=#ff6600>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table19 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" height=20>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table20 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table21 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table22 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" align=left height=20><TABLE id=table23 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" height=20><TABLE id=table24 borderColor=#cccccc cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" bgColor=#ff9933> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE> </TD><TD width="73%"><TABLE id=table1 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=style10 height=167><TABLE id=table2 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" width="34%"><TABLE id=table3 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="37%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" width="66%"><TABLE id=table4 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" width="48%"><TABLE id=table5 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma"></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma" width="52%">
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD class=style10 height=1621>
    <TABLE id=table6 cellSpacing=0 cellPadding=15 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 12px; COLOR: #000000; FONT-FAMILY: Tahoma">
    ชื่อโครงการ การสร้างอุโบสถเงินวัดศรีสุพรรณ

    ลักษณะโครงการ เป็นลักษณะต่อเนื่อง
    ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าอาวาส คณะกรรมการ คณะศรัทธาวัดศรีสุพรรณ กลุ่มหัตถศิปล์ล้านนาวัดศรีสุพรรณ
    หลักการและเหตุผลอุโบสถเป็นศาสนสถานในการประกอบศาสนากิจในการทำสังฆกรรม ลงอุโบสถสวดพระ
    ปาฏิโมกซ์ พิธีอุปสมบทและ พิธีกรรมอื่น ๆ ของพระภิกษุสงฆ์ ในบวรพระพุทธศาสนา นับว่าอุโบสถเป็นศาสนา
    สถานที่สำคัญอย่างหนึ่ง ในการประกอบสังฆกรรม ในพระพุทธศาสนา หากไม่มีอุโบสถ ศาสนกิจสำคัญหลาย
    ประการย่อมดำเนินไปให้บริบูรณ์ได้ยาก เพาะฉะนั้นในแต่ละวัดจึงจัดให้ มีการสร้างหรือบูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถ
    ให้สมบูรณ์มั่นคง เอื้อประโยชน์ในการใช้อย่างยิ่ง
    วัดศรีสุพรรณ ได้สร้างขี้นเมือพุทธศักราช 2043 รัฐสมัยของพระเจ้าเมืองแก้ว กษัตริย์ในราชวงค์มังราย และทำ
    การผูก พันธสีมาพระอุโบสถ พุทธศักราช 2052 ใช้เป็นที่ทำสังฆกรรมของคณะสงฆ์ เป็นที่ประดิษฐานพระ
    พุทธปาฏิหาริย์ (พระเจ้า 500 ปี) ของวัดศรีสุพรรณมาโดยตลอด และอุโบสถหลังนี้ได้ชำรุดทรุดโทรมลงจน
    ไม่เหลือเค้าโครงเดิม แต่ก็ได้รับการบูรณะซ่อมแซมจาก เจ้าอาวาส และคณะศรัทธาวัดศรีสุพรรณในแต่ละ
    สมัยเป็นลำดับมา บัดนี้พุทธศักราช 2547 นับเป็นเวลา 495 ปี อุโบสถหลังดัง กล่าวได้ชำรุดทรุดโทรมลงไม่
    สะดวกในการประกอบศาสนกิจ และอาจจะก่อให้เกิดอันครายต่อผู้ใช้งานได้ ทรงคณะสงฆ์คณะกรรมการ
    และคณะศรัทธาวัดศรีสุพรรณ ได้มีความเห็นเป็นฉันทสามัคคี ที่ทำการก่อสร้างขึ้นใหม่ ในการสร้างอุโบสถเงิน
    ครั้งนี้ ได้ดำเนินการในเขตพันธสีมาและฐานเดิม แต่จะเพิ่มเติมในส่วนของรูปทรงให้เป็นแบบ สถาปัตยกรรมล้านนา
    โบราณ โครงสร้างก่ออิฐถือปูน และประดับตกแต่งลวดลายทุกส่วนด้วยอลูมิเนียมและเงิน สลักลวดลายภาพ
    สามมิติ เรื่องราวเกี่ยวกับพุทธศิลป์ปริศนาธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ของวัดและชุมชน
    ตลอดถึงวิธีการ ขั้น ตอนลวดลาย ประจำตระกูลช่างเครื่องเงินของบ้านศรีสุพรรณ โดยช่าง (สล่า ) เครื่องเงิน
    ของบ้านศรีสุพรรณ ซึ่งนอกจากจะเป็นการ สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาแล้ว ยังเป็นการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
    ด้านการทำเครื่องเงินไว้เป็นมรดกสืบทอดไปสู่อนุชนรุ่นหลังให้ ยั่งยืนต่อไป ดังนั้นทางวัดจึงได้จะทำโครงการ
    สร้างอุโบสถเงินวัดศรีสุพรรณนี้ขึ้นโดยมีปณิธานว่าจะร่วมสร้างสรรค์ ส่งเสริม สนับสนุน ภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
    สร้างศิลป์เป็นอนุสรณ์แก่แผ่นดินถิ่นล้านนา และถวายไว้ในบวรพระพุทธศานาสืบต่อไป
    วัตถุประสงค์
    1. เพื่อใช้เป็นศาสนสถานสำหรับทำสังฆกรรมสืบทอดอายุพระพุทธศาสนา
    2. เพื่อสร้างศาสนาสถานเป็นนิทรรศการเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิน การทำเครื่องเงิน
    เป็นอนุสรณ์แก่แผ่นดินถิ่นล้านนา
    3. เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดเขียงใหม่
    เป้าหมาย
    การจัดสร้างอุโบสถเงินหลังแรกของโลก โดยภูมิปัญญาท้องถิ่น และผู้มีจิตศรัทธาที่เห็นคุณค่าแห่งการสร้าง
    ศิลป์เป็นอนุสรณ์ แก่แผ่นดินถิ่นล้านนาทุกท่าน
    วิธีการดำเนินงาน
    1. ประชุมคณะสงฆ์ คณะกรรมการ คณะศรัทธาวัดศรีสุพรรณ
    2. ขออนุญาตต่อคณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ตามลำดับ
    3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการดังนี้
    3.1 จัดพิธีทำบุญรื้อถอน และระดมทุนทรัพย์ผู้มีจิตศรัทธาในท้องถิ่น
    3.2 จัดหาช่างจัดทำโครงสร้างและตกแต่งลวดลายด้วยอลูมิเนียมและเงิน
    3.3 จัดทำเอกสาร แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์สำหรับผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป
    3.4 ดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ ตามแบบแปลนและรายละเอียดที่กำหนด
    3.5 ติดตาม ดูแลการดำเนินงานตลอดโครงการ
    4. สรุป ประเมิณผลการดำเนินงาน
    5. รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง
    ระยะเวลา / สถานที่ดำเนินงาน
    ตั้งแต่ ปีพุทธศักราช 2547 - 2551 สถานที่ ณ วัดศรีสุพรรณ ถนนวัวลาย ตำบลหายยา อำเภอเมือง
    จังหวัดเชียงใหม่
    ทรัพยากร / งบประมาณดำเนินงาน
    แหล่งที่มาของทรัพยากรและงบประมาณ
    - แรงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นจากชุมชน
    - ผู้มีจิตศรัทธารับเป็นเจ้าภาพและบริจาคทั่วไป
    - รับการสนับสนุนจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
    งบประมาณรายจ่าย
    - ค่าแรงงานและวัสดุอุปกรณ์ในส่วนของโครงสร้าง 2,160,000 บาท
    - ค่าแรงงานและอุปกรณ์ในการตกแต่งประดับลวดลายทั้งหลัง 8,200,000 บาท
    รวมงบประมาณทั้งสิ้น 10,360,000 บาท (แปดล้านสามแสนหกหมื่นบาทถ้วน)
    ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    1. ได้อุโบสถเงินเป็นศาสนสถานที่ใช้ประกอบกิจของสงฆ์ที่มั่นคงสวยงามไว้ในพระพุทธศาสนา
    2. ได้ศาสนสถาน ที่จัดนิทรรศการแสดงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น
    3. ได้ศาสนสถาน ที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแห่งหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่
    คณะกรรมที่ปรึกษาฝ่ายสงฆ์
    พระเดช พระคุณฯ พระธรรมสิทธาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร
    พระเดช พระคุณฯ พระเทพวิสุทธิคุณ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดบุพพาราม
    พระเดช พระคุณฯ พระราชเขมากร รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดเจ็ดยอด
    พระเดช พระคุณฯ พระราชสิทธาจารย์ รองเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ วัดพระธาตุดอยสุเทพวรวิหาร
    พระเดช พระคุณฯ พระอมรเวที เจ้าคณะอำเภอเมืองเชียงใหม่ วัดสวนดอก(พระอารามหลวง)
    พระครูอดุลสีลกิตติ์ เจ้าคณะตำบลหายยา วัดธาตุคำ
    พระครูประภัทร์ธรรมรังษี เจ้าคณะตำบลศรีภิมิ เขต 3 วัดกู่เต้า
    พระครูปลัดทรงสวัสดิ์ ปญญาวชิโร เจ้าอาวาสวัดแสนเมืองมาหลวง วัดแสนเมืองมาหลวง
    พระมหา ดร.บุญช่วย สิรินธโร ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์เชียงใหม่ วัดสวนดอก
    คณะกรรการที่ปรึกษาฝ่ายมารวาส
    ศาสตราจารย์เกียรติคุณ มณี พยอมยงค์
    อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์
    อาจารย์พรหมมา อินยาศรี
    อาจารย์ถาวร เสาร์ศรีจันทร์ นายกสมาคมสหธรรมเชียงใหม่
    นายพงศธร เทพวงค์ อดีตรองอธิบดีกรมการสวัสดิการและแรงงาน
    นายสุนทร ยามศิริ สมาชิกสภาเทศบาลนครเชียงใหม่
    นายบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ นายกเทศมนตรีนครเชียงใหม่
    รศ. สมโชติ อ๋องสกุล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    รศ. ดร. ชูชีพ พุทธประเสิรฐ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    คณะกรรมการดำเนินงาน
    พระครูพิทักษ์สุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดศรีสุพรรณ ประธานกรรมการ
    นายบุญทอง พุทธิศรี ไวยาจักรวัดศรีสุพรรณ รองประธานกรรมการ
    ร.ต.ต. บุญมี ฟองตัน ไวยาวัจกรวัดศรีสุพรรณ กรรมการและเหริญญิก
    นายปรชา ขันทนันต์ กรรมการที่ปรึกษาวัดศรีสุพรรณ กรรมการและประชาสัมพันธ์
    สล่าดิเรก สิทธิการ หัวหน้ากลุ่มหัตถศิลป์ล้านนา กรรมการและฝ่ายตกแต่ง
    สล่าบุญรัตน์ ณ วิชัย ประธานชมรมส่งเสริมสล่าล้านนา กรรมการและฝ่ายตกแต่ง
    สล่าธนกร ไชยจินดา รองประธานชมรมส่งเสริมสล่าล้านนา กรรมการและฝ่ายตกแต่ง
    ร.อ.อ. ถวัติ ธารนพ กรรมการที่ปรึกษาวัดศรีสุพรรณ กรรมการ
    นายสิงห์คำทิพย์ดวงตา กรรมการที่ปรึกษาวัดศรีสุพรรณ กรรมการ
    นายประกอบ ปัทมสุคนธ์ กรรมการที่ปรึกษาวัดศรีสุพรรณ กรรมการ
    นางอารี เก่งวิทยา ผุ้อำนวยการโรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ กรรมการ
    นายสมนึก อุดมวิเศษ ประธานชุมชนวัดศีสุพรรณ กรรมการ
    นางศรีพรรณ องค์ไชย ประธานกลุ่มออมทรัพย์วัดศรีสุพรรณ กรรมการ
    พระมหาสมศักดิ์ ภทฺทรธมฺโม วัดศรีสุพรรณ เหรัญญิกและเลขานุการ​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=67 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=42>
    วัดศรีสุพรรณ
    100 ถ.วัวลาย ตำบลหายยา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100
    info@watsrisuphan.org
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TH></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. เฮียปอ ตำมะลัง

    เฮียปอ ตำมะลัง ทุกสิ่งจบสิ้นลงด้วยความตาย วุ่นวายทำไม ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    24,969
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +91,129
    ขอบคุณครับ..ได้รู้จักวัดสวย ๆ อีกหนึ่งที่
     
  4. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,199
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    งามแต้ๆ ครับ
    อยู่เชียงใหม่มา3ปี
    ไม่เคยรู้เลย
    อยากจะเขกกะโหลกตัวเอง..
     
  5. บุษบากาญจ์

    บุษบากาญจ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    9,476
    ค่าพลัง:
    +20,271
    มือว่างมั้ยคะยินดีช่วยเขกค่ะ หุหุหุ อ่ะล้อเล้ง
     
  6. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,199
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    นี่คุณจะเขกผมหรอ...
    อ๊ะๆ เตรียมเซรุ่มด้วยนะครับ
     
  7. บุษบากาญจ์

    บุษบากาญจ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    9,476
    ค่าพลัง:
    +20,271
    อ้าวเจองูเกงกองเต็มหัวแน่เลย ไม่เป็นไรบุษใช้ฆ้อนปอนด์แทนได้หุหุหุ
     
  8. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,199
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ไม่ทันไร ก็ส่งค้อนมาซะแล้ว
    ดีกันนะครับ..โอ่โอ๋
     

แชร์หน้านี้

Loading...