เซลล์พลังงาน

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ปาฏิหาริย์, 15 กรกฎาคม 2008.

  1. ปาฏิหาริย์

    ปาฏิหาริย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2006
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +3,516
    "ไฮโดรเจน" เป็นธาตุที่ไม่ก่อให้เกิดมลพิ<WBR>ษต่อสิ่งแวดล้อม
    มักจะพบเป็นสารประกอบมากกว่<WBR>าธาตุอิสระ
    โดยเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ในน้<WBR>ำและสารอินทรีย์ มิได้เป็นแหล่งพลังงานโดยตรง แต่มีศักยภาพอย่างมีนัยสำคัญที่<WBR>จะเป็นพาหะของพลังงาน เทคโนโลยีเซลล์พลังงาน

    "ไฮโดรเจน" ที่ทั่วโลกพยายามพัฒนาขึ้นมาใช้<WBR>ในอนาคตจะปราศจากการปลดปล่อยก๊<WBR>าซเรือนกระจก จึงจัดได้ว่าเป็นเทคโนโลยีที่<WBR>สะอาด และมีความเป็นไปได้สูงที่<WBR>จะนำมาใช้เป็นแหล่งอุปทานพลั<WBR>งงานทดแทน โดยคาดว่าจะสามารถนำมาใช้<WBR>ในยานยนต์และการบิน การผลิตกระแสไฟฟ้าให้กับภาคอุ<WBR>ตสาหกรรมและอาคารบ้านเรือน รวมทั้งใช้เป็นเซลล์พลังงานในอุ<WBR>ปกรณ์ต่างๆ
    อาทิ โทรศัพท์เคลื่อนที่


    นอก จากนี้ ไฮโดรเจน สามารถจะดักและเก็บคาร์<WBR>บอนไดออกไซด์ ดังนั้น เทคโนโลยีไฮโดรเจนจึ<WBR>งสามารถนำมาประยุกต์ใช้<WBR>ในการลดก๊าซเรือนกระจกที่จะปลด ปล่อยจากภาคพลังงานสู่ชั้<WBR>นบรรยากาศได้อีกทางหนึ่งด้วย อย่างไรก็ดี เนื่องจากการใช้เซลล์พลังงาน <WBR>

    "ไฮโดรเจน" ยังต้องศึกษา วิจัยและพัฒนาอีกมาก ทั้งในส่วนที่เกี่ยวข้องกั<WBR>บเทคโนโลยีสำหรับเซลล์พลังงาน การผลิตและการเก็บรักษาไฮโดรเจน การเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุ<WBR>นการผลิตของเครื่องมืออุปกรณ์ และวัสดุที่เกี่ยวข้องตลอดห่<WBR>วงโซ่การผลิต ให้ถึงจุดที่คุ้มค่าสำหรั<WBR>บการนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทน เพื่อรองรับความต้องการทางด้<WBR>านพลังงานนของโลกที่เพิ่มขึ้<WBR>นอย่างรวดเร็ว ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกต่<WBR>อไป รวมทั้งจะต้องพัฒนาศาสตร์ที่มี<WBR>ความสัมพันธ์กับเทคโนโลยี และตลาดที่จะรองรับอย่งสมดุ<WBR>ลในอนาคตด้วย
    จุดแข็งของสหภาพยุโรปต่อขี<WBR>ดความสามารถในการแข่ง ขันที่เกี่ยวกั<WBR>บไฮโดนเจนและเซลล์พลังงานที่<WBR>สำคัญคือ เป็นเทคโนโลยีที่ภูมิภาคนี้ได้<WBR>มีการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้<WBR>มาตั้งแต่ต้น ศตวรรษที่ 21 แล้ว รวมทั้งสอดคล้องกับนโยบายที่เข้<WBR>มแข็งในการขับเคลื่อนการใช้<WBR>เทคโนโลยีสะอาด ของยุโรป โดยที่สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมั<WBR>นมีเทคโนโลยีฐานกว้างและลึ<WBR>กตลอดห่วงโซ่การผลิต นอกจากนี้ยังมีอี<WBR>กหลายประเทศในยุโรปที่ดำเนิ<WBR>นการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยว ข้องอย่างชัดเจน อาทิ สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐอิตาลี ราชอาณาจักรเดนมาร์ก สาธารณรัฐฟิลแลนด์ ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ราชอาณาจักรสวีเดน และสมาพันธรัฐสวิส กรรมการธิการสหภาพยุโรปได้<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cWBR\u003eกำหนดวิสัยทัศน์ที่ท้าทายเกี่\u003cWBR\u003eยวกับไฮโดรเจน ค.ศ. 2050 โดยจะพัฒนาสหภาพยุโรปให้เป็น \u0026quot;สังคมเศรษฐกิจมุ่งทิศสู่การใช้\u003cWBR\u003eไฮโรเจน\u0026quot; หรือ \u0026quot;Hydrogen-Oriented Economy\u0026quot; จึงได้มีการวิเคราะห์ถึงการพั\u003cWBR\u003eฒนาเทคโนโลยีที่จำเป็นะต้\u003cWBR\u003eองดำเนินการให้บรรลุ ผลในการเป็นคู่แข่งระดับโลก ให้ได้ภายในช่วง ค.ศ. 2020 รวมทั้งได้\u003cWBR\u003eกำหนดแผนงานไฮโดรเจนและเซลล์พลั\u003cWBR\u003eงงาน ค.ศ. 2007-2015 ไว้ ซึ่งเน้นการดำเนินงานด้านนวั\u003cWBR\u003eตกรรมและการพัฒนาใน 4 ประเด็นหลัก ประกอบด้วย 1) ยานพาหนะที่ใช้ไฮโดรเจนและสถานี\u003cWBR\u003eเติมเชื้อเพลิงเพื่อให้มี\u003cWBR\u003eการเคลื่นตัวได้ อย่างยั่งยืน 2) เซลล์พลังงานสำหรับการสร้\u003cWBR\u003eางความร้อนและกำลังที่มีประสิ\u003cWBR\u003eทธิภาพ 3) อุปทานไฮโรเจนที่ยั่งยืน เพื่อเตรียมการสำหรับปรับเปลี่\u003cWBR\u003eยนไปสู่การใช้พาหะพลังงานที่\u003cWBR\u003eสะอาด 4) เซลล์พลังงานสำหรับตลาดช่วงแรก เพื่อสนับสนุนการใช้\u003cWBR\u003eไฮโดรเจนและเซลล์พลังงานในเชิ\u003cWBR\u003eงพาณิชย์ โดยคาดหมายว่าจะเป็นแผนงานที่\u003cWBR\u003eนำมาซึ่งความมั่นคงทางด้านพลั\u003cWBR\u003eงงานที่ยั่งยืนใน ภูมิภาค\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eกรอบแผนงาน ฉบับที่ 7 ค.ศ. 2007-2013 ของสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นกรอบแผนงานการวิจั\u003cWBR\u003eยและพัฒนา รวมทั้งนวตกรรม ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องพลั\u003cWBR\u003eงงานทดแทนอย่างมาก โดยได้กำหนดหัวข้อ \u0026quot;ไฮโดรเจนและเซลล์พลังงาน\u0026quot; อันเป็นเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ไว้ภายใต้ \u0026quot;การริเริ่มเทคโนโลยีร่วม\u0026quot; (Joint Technology Initiatives, JTIs) ซึ่งทิศทางการวิจัยและพัฒาที่\u003cWBR\u003eจะดำเนินการครอบคลุมถึง การลดต้นทุนในการใช้\u003cWBR\u003eไฮโดรเจนและเซลล์พลังงานจากแหล่\u003cWBR\u003eงอื่นๆ รวมทั้งการเพิ่มประสิ\u003cWBR\u003eทธภาพของระบบไฮโดรเจนและเซลล์\u003cWBR\u003eพลังงานโดยเฉพาะการปรับ ปรุงการเก็บกักไฮโดรเจนไว้\u003cWBR\u003eในเครื่องยนต์ ซึ่งขณะนี้ต้องใช้ถังเก็บพลั\u003cWBR\u003eงงานที่มีขนาดความจุสูงมาก กล่าวคือ หากเปรียบเทียบกับเครื่องยนต์ที\u003cWBR\u003e่ใช้ก๊าซโซลีนซึ่งสามารถวิ่งได้\u003cWBR\u003eในระยะทาง เท่ากัน พบว่า เครื่องยนต์สำหรับยานพาหนะที่\u003cWBR\u003eใช้ไฮโดรเจนจะต้องใช้ถั\u003cWBR\u003eงขนาดความจุสำหรับการ เก็บพลังงานมากกว่าเครื่องยนต์\u003cWBR\u003eที่ใช้ก๊าซโซลีนถึง 3,000 เท่า\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eกรรมาธิการสหภาพยุโรปได้\u003cWBR\u003eเสนอโครงการ \u0026quot;ขนส่งชนบทที่สะอาด\u0026quot; ในการประชุมเชิงปฏิบัติการที่\u003cWBR\u003eเมืองฮัมบัวก์ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 โครงการนี้จะพัฒนาเซลล์พลั\u003cWBR\u003eงงานไฮโดรเจนที่นำไปสู่",1]);//--></SCRIPT> <WBR>กำหนดวิสัยทัศน์ที่ท้าทายเกี่<WBR>ยวกับไฮโดรเจน ค.ศ. 2050 โดยจะพัฒนาสหภาพยุโรปให้เป็น
    "สังคมเศรษฐกิจมุ่งทิศสู่การใช้<WBR>ไฮโรเจน" หรือ "Hydrogen-Oriented Economy" จึงได้มีการวิเคราะห์ถึงการพั<WBR>ฒนาเทคโนโลยีที่จำเป็นะต้<WBR>องดำเนินการให้บรรลุ ผลในการเป็นคู่แข่งระดับโลก ให้ได้ภายในช่วง ค.ศ. 2020 รวมทั้งได้<WBR>กำหนดแผนงานไฮโดรเจนและเซลล์พลั<WBR>งงาน ค.ศ. 2007-2015 ไว้ ซึ่งเน้นการดำเนินงานด้านนวั<WBR>ตกรรมและการพัฒนาใน 4 ประเด็นหลัก
    ประกอบด้วย

    1) ยานพาหนะที่ใช้ไฮโดรเจนและสถานี<WBR>เติมเชื้อเพลิงเพื่อให้มี<WBR>การเคลื่นตัวได้ อย่างยั่งยืน

    2) เซลล์พลังงานสำหรับการสร้<WBR>างความร้อนและกำลังที่มีประสิ<WBR>ทธิภาพ

    3) อุปทานไฮโรเจนที่ยั่งยืน เพื่อเตรียมการสำหรับปรับเปลี่<WBR>ยนไปสู่การใช้พาหะพลังงานที่<WBR>สะอาด

    4) เซลล์พลังงานสำหรับตลาดช่วงแรก เพื่อสนับสนุนการใช้<WBR>ไฮโดรเจนและเซลล์พลังงานในเชิ<WBR>งพาณิชย์ โดยคาดหมายว่าจะเป็นแผนงานที่<WBR>นำมาซึ่งความมั่นคงทางด้านพลั<WBR>งงานที่ยั่งยืนใน ภูมิภาค

    กรอบแผนงาน ฉบับที่ 7 ค.ศ. 2007-2013 ของสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นกรอบแผนงานการวิจั<WBR>ยและพัฒนา รวมทั้งนวตกรรม ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องพลั<WBR>งงานทดแทนอย่างมาก โดยได้กำหนดหัวข้อ "ไฮโดรเจนและเซลล์พลังงาน" อันเป็นเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ไว้ภายใต้

    "การริเริ่มเทคโนโลยีร่วม" (Joint Technology Initiatives, JTIs)

    ซึ่งทิศทางการวิจัยและพัฒาที่<WBR>จะดำเนินการครอบคลุมถึง การลดต้นทุนในการใช้<WBR>ไฮโดรเจนและเซลล์พลังงานจากแหล่<WBR>งอื่นๆ รวมทั้งการเพิ่มประสิ<WBR>ทธภาพของระบบไฮโดรเจนและเซลล์<WBR>พลังงานโดยเฉพาะการปรับ ปรุงการเก็บกักไฮโดรเจนไว้<WBR>ในเครื่องยนต์ ซึ่งขณะนี้ต้องใช้ถังเก็บพลั<WBR>งงานที่มีขนาดความจุสูงมาก กล่าวคือ หากเปรียบเทียบกับเครื่องยนต์ที<WBR>่ใช้ก๊าซโซลีนซึ่งสามารถวิ่งได้<WBR>ในระยะทาง เท่ากัน พบว่า เครื่องยนต์สำหรับยานพาหนะที่<WBR>ใช้ไฮโดรเจนจะต้องใช้ถั<WBR>งขนาดความจุสำหรับการ เก็บพลังงานมากกว่าเครื่องยนต์<WBR>ที่ใช้ก๊าซโซลีนถึง 3,000 เท่า

    กรรมาธิการสหภาพยุโรปได้<WBR>เสนอโครงการ "ขนส่งชนบทที่สะอาด" ในการประชุมเชิงปฏิบัติการที่<WBR>เมืองฮัมบัวก์ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2006 โครงการนี้จะพัฒนาเซลล์พลั<WBR>งงานไฮโดรเจนที่นำไปสู่<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cWBR\u003eการนำไปใช้กับพาหนะบนท้อง ถนนในยุโรป ของเสียที่เกิดขึ้\u003cWBR\u003eนจากการเผาผลาญพลังงานคือน้ำเพี\u003cWBR\u003eยงอย่างเดียว เนื่องจากไฮโดรเจนเป็นก๊าซที่ติ\u003cWBR\u003eดไฟง่าย และเมื่อผสมอยู่กับออกซิ\u003cWBR\u003eเจนจะระเบิดได้หากเกิดการจุดติ\u003cWBR\u003eดไฟ กรรมาธิการสหภาพยุโรปก็ตระหนั\u003cWBR\u003eกถึงความปลอดภัยและความเสี่\u003cWBR\u003eยงเชิงสิ่งแวดล้อม จึงเสนอให้โรงงานอุ\u003cWBR\u003eตสาหกรรมการผลิตพาหนะที่จะใช้\u003cWBR\u003eเซลล์พลังงานไฮโดรเจนสร้าง เครื่องยนต์ที่มีความเหมาะสมเชิ\u003cWBR\u003eงระบบการเก็บไฮโดรเจนที่ปลอดภัย รวมทั้งการจัดเตรียมสถานีเติ\u003cWBR\u003eมเชื้อเพลิง ในการดำเนินงานให้เกิดผลสัมฤทธิ\u003cWBR\u003e์จำเป็นต้องเตรียมโครงสร้างพื้\u003cWBR\u003eนฐานที่เกี่ยว ข้อง รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่จะดู\u003cWBR\u003eแลและบำรุงรักษาระบบให้มีความรู\u003cWBR\u003e้ความสามารถอย่าง เพียงพอด้วย\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eการพัฒนาเทคโนโลยีเซลล์พลังงาน \u0026quot;ไฮโดรเจน\u0026quot; ในบางกรณีก็จะบูรณาการร่วมกั\u003cWBR\u003eบเทคโนโลยีพลังงานอื่นๆ อาทิ โครงการวิจัยเทคนิคการผลิ\u003cWBR\u003eตไฮโดรเจน โดยการใช้น้ำและพลังงานแสงอาทิ\u003cWBR\u003eตย์ซึ่งได้รับรางวัลประจำปี \u0026quot;Descartes Prize\u0026quot; เมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2007 ของสหภาพยุโรป หรือการพัฒนาระบบไฮโดรเจนร่วมกั\u003cWBR\u003eบไอน้ำ โดยไฮโดรเจนจะทำหน้าที่สำหรั\u003cWBR\u003eบการเก็บพลังงานสำรอง ซึ่งเป็นโครงการที่ดำเนิ\u003cWBR\u003eนการในสหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่\u003cWBR\u003eยวข้อง อาทิ การพัฒนาเครื่อตรวจสอบการรั่\u003cWBR\u003eวไหลของไฮโดรเจนในยานพาหนะรวมถึ\u003cWBR\u003eงเครื่องบินด้วย\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eเซลล์พลังงาน \u0026quot;ไฮโดรเจน\u0026quot; เสมือนเป็นเทคโนโลยีพลั\u003cWBR\u003eงงานทางเลือกที่มีศักยภาพสู\u003cWBR\u003eงในการนำมาใช้เป็นพลังงาน ทดแทนร่วมกับแหล่งพลังงานอื่น เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่\u003cWBR\u003eมขึนในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจโลก และดูจะเป็นเทคโนโลยีที่ผู้มีส่\u003cWBR\u003eวนเกี่ยวสข้องของสหภาพยุโรปตั้\u003cWBR\u003eงแต่ระดับ ตัดสินใจ นักวิจัย อุตสาหกรรม ผู้ประกอบการและองค์กรต่างๆ จะขานรับ ด้วยความโดดเด่นในการเป็\u003cWBR\u003eนเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่\u003cWBR\u003eงแวดล้อม รวมทั้งสามารถลดปริมาณก๊าซเรื\u003cWBR\u003eอนกระจกอันเป็นมลพิษที่ปลดปล่\u003cWBR\u003eอยจากการเผาผลาญ พลังงานจากซากพืชซากสัตว์ได้อี\u003cWBR\u003eกทางหนึ่งด้วย แม้ว่ายังจะต้องสร้างสรรค์องค์\u003cWBR\u003eความรู้ในสหวิทยาการที่เกี่ยวข้\u003cWBR\u003eองอีกคณานับ ต่อการนำมาใช้เป็นพลั\u003cWBR\u003eงานทดแทนอย่างยั่งยืน แต่ก็เป็นเทคโนโลยีแห่งความหวั\u003cWBR\u003eงที่จะชลอความเร็วและลดความรุ",1]);//--></SCRIPT> <WBR>การนำไปใช้กับพาหนะบนท้อง ถนนในยุโรป ของเสียที่เกิดขึ้<WBR>นจากการเผาผลาญพลังงานคือน้ำเพี<WBR>ยงอย่างเดียว เนื่องจากไฮโดรเจนเป็นก๊าซที่ติ<WBR>ดไฟง่าย และเมื่อผสมอยู่กับออกซิ<WBR>เจนจะระเบิดได้หากเกิดการจุดติ<WBR>ดไฟ กรรมาธิการสหภาพยุโรปก็ตระหนั<WBR>กถึงความปลอดภัยและความเสี่<WBR>ยงเชิงสิ่งแวดล้อม จึงเสนอให้โรงงานอุ<WBR>ตสาหกรรมการผลิตพาหนะที่จะใช้<WBR>เซลล์พลังงานไฮโดรเจนสร้าง เครื่องยนต์ที่มีความเหมาะสมเชิ<WBR>งระบบการเก็บไฮโดรเจนที่ปลอดภัย รวมทั้งการจัดเตรียมสถานีเติ<WBR>มเชื้อเพลิง ในการดำเนินงานให้เกิดผลสัมฤทธิ<WBR>์จำเป็นต้องเตรียมโครงสร้างพื้<WBR>นฐานที่เกี่ยว ข้อง รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่จะดู<WBR>แลและบำรุงรักษาระบบให้มีความรู<WBR>้ความสามารถอย่าง เพียงพอด้วย

    การพัฒนาเทคโนโลยีเซลล์พลังงาน "ไฮโดรเจน"
    ในบางกรณีก็จะบูรณาการร่วมกั<WBR>บเทคโนโลยีพลังงานอื่นๆ อาทิ
    โครงการวิจัยเทคนิคการผลิ<WBR>ตไฮโดรเจน โดยการใช้น้ำและพลังงานแสงอาทิ<WBR>ตย์ซึ่งได้รับรางวัลประจำปี "Descartes Prize"
    เมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2007 ของสหภาพยุโรป
    หรือการพัฒนาระบบไฮโดรเจนร่วมกั<WBR>บไอน้ำ
    โดยไฮโดรเจนจะทำหน้าที่สำหรั<WBR>บการเก็บพลังงานสำรอง ซึ่งเป็นโครงการที่ดำเนิ<WBR>นการในสหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่<WBR>ยวข้อง อาทิ การพัฒนาเครื่อตรวจสอบการรั่<WBR>วไหลของไฮโดรเจนในยานพาหนะรวมถึ<WBR>งเครื่องบินด้วย

    เซลล์พลังงาน "ไฮโดรเจน"
    เสมือนเป็นเทคโนโลยีพลั<WBR>งงานทางเลือกที่มีศักยภาพสู<WBR>งในการนำมาใช้เป็นพลังงาน ทดแทนร่วมกับแหล่งพลังงานอื่น เพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่<WBR>มขึนในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจโลก และดูจะเป็นเทคโนโลยีที่ผู้มีส่<WBR>วนเกี่ยวสข้องของสหภาพยุโรปตั้<WBR>งแต่ระดับ ตัดสินใจ นักวิจัย อุตสาหกรรม ผู้ประกอบการและองค์กรต่างๆ จะขานรับ
    ด้วยความโดดเด่นในการเป็<WBR>นเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่<WBR>งแวดล้อม
    รวมทั้งสามารถลดปริมาณก๊าซเรื<WBR>อนกระจกอันเป็นมลพิษที่ปลดปล่<WBR>อยจากการเผาผลาญ พลังงานจากซากพืชซากสัตว์ได้อี<WBR>กทางหนึ่งด้วย
    แม้ว่ายังจะต้องสร้างสรรค์องค์<WBR>ความรู้ในสหวิทยาการที่เกี่ยวข้<WBR>องอีกคณานับ
    ต่อการนำมาใช้เป็นพลั<WBR>งานทดแทนอย่างยั่งยืน
    แต่ก็เป็นเทคโนโลยีแห่งความหวั<WBR>งที่จะชลอความเร็วและลดความรุ<SCRIPT><!--D(["mb","\u003cWBR\u003eนแรงของการเกิด ภาวะโลกร้อน ที่กำลังประสบอยู่ในปัจจุบันอย่\u003cWBR\u003eางไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ นักพัฒนาเทคโนโลยีพลั\u003cWBR\u003eงงานของประเทศไทยน่าจะสร้\u003cWBR\u003eางความร่วมมือในการัยและพัฒนา กับประเทศต่างๆ ในสหภาพยุโรปที่มีความก้าวหน้\u003cWBR\u003eาในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ก้าวทันกระแสการเปลี่\u003cWBR\u003eยนแปลงเทคโนโลยีโลก รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่\u003cWBR\u003eจะปรับใช้เป็นแหล่งพลั\u003cWBR\u003eงงานทางเลือกสำหรับการ สร้างความมั่นคงและปลอดภัยทางด้\u003cWBR\u003eายพลังงานของประเทศในระยะยาว\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eเอกสารอ้างอิง\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eEuropean Commission (205) Assessing the International Position of EU\u0026#39;s Research and \u003cbr\u003eTechnological Development and Demonstration (RTD\u0026amp;D) on Hydrogen and Fuel Cells\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eEuropean Commission (2003) Hydrogen Energy and Fuel Cells: A Vision of Our Future\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eEuropean Commission (2007) Third Status Report European Technology Platforms\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eEuropean Hydrogen \u0026amp; Fuel Cell Technology Platform (2007) Implementation Plan-Status \u003cbr\u003e2006\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Breakthrough in hydrogen production among projects honoured\u0026quot; Europolitics \u003cbr\u003eInformation Society No 301 April 2007\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Combined tidal stream/reversible hydrogen system\u0026quot; CORDIS RTD Result Supplement \u003cbr\u003eNo 56 September 2006\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Commission appears split on Joint Technology Initiatives\u0026quot; EUROPOLITICS information \u003cbr\u003esociety No 297, December 2006\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Commission launches public consultation on hydrogen-powered motor vehicles\u0026quot; \u003cbr\u003eCORDIS focus Newsletter No 269 August 2006\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Hydrogen detector\u0026quot; CORDIS RTD Result Supplement No 60 January 2007\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Hydrogen industry contributes to EU strategic planning\u0026quot; EUROPOLITICS \u003cbr\u003eENVIRONMENT No 722 April 2007\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;Potocnik outline role for hydrogen in European research\u0026quot; CORDIS focus Newsletter No \u003cbr\u003e268 July 2006",1]);//--></SCRIPT><WBR>นแรงของการเกิด ภาวะโลกร้อน
    ที่กำลังประสบอยู่ในปัจจุบันอย่<WBR>างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
    นักพัฒนาเทคโนโลยีพลั<WBR>งงานของประเทศไทยน่าจะสร้<WBR>างความร่วมมือในการัยและพัฒนา กับประเทศต่างๆ ในสหภาพยุโรปที่มีความก้าวหน้<WBR>าในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ก้าวทันกระแสการเปลี่<WBR>ยนแปลงเทคโนโลยีโลก รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่<WBR>จะปรับใช้เป็นแหล่งพลั<WBR>งงานทางเลือกสำหรับการ สร้างความมั่นคงและปลอดภัยทางด้<WBR>ายพลังงานของประเทศในระยะยาว
    [SIZE=+0][/SIZE]
    เอกสารอ้างอิง
    European Commission (205) Assessing the International Position of EU's Research and
    Technological Development and Demonstration (RTD&D) on Hydrogen and Fuel Cells

    European Commission (2003) Hydrogen Energy and Fuel Cells: A Vision of Our Future
    European Commission (2007) Third Status Report European Technology Platforms
    European Hydrogen & Fuel Cell Technology Platform (2007) Implementation Plan-Status
    2006

    "Breakthrough in hydrogen production among projects honoured" Europolitics
    Information Society No 301 April 2007

    "Combined tidal stream/reversible hydrogen system" CORDIS RTD Result Supplement
    No 56 September 2006

    "Commission appears split on Joint Technology Initiatives" EUROPOLITICS information
    society No 297, December 2006

    "Commission launches public consultation on hydrogen-powered motor vehicles"
    CORDIS focus Newsletter No 269 August 2006

    "Hydrogen detector" CORDIS RTD Result Supplement No 60 January 2007
    "Hydrogen industry contributes to EU strategic planning" EUROPOLITICS
    ENVIRONMENT No 722 April 2007

    "Potocnik outline role for hydrogen in European research" CORDIS focus Newsletter No
    268 July 2006<SCRIPT><!--D(["mb","\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\n\u003cp\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003e\u0026quot;The future of hydrogen vehicles\u0026quot; CORDIS focus Newsletter No 267 June 2006\u003cbr\u003e\u003c/font\u003e\u003c/p\u003e\u003cfont size\u003d\"+0\"\u003eโดย ดร.จันทร์เพ็ญ เมฆาอภิรักษ์\u003cbr\u003eอัครราชฑูตที่ปรึกษา (ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)\u003cbr\u003e\nสำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์\u003cWBR\u003eและเทคโนโลยี\u003cbr\u003eสถานเอกอัครราชฑูต ณ กรุงบรัสเซลส์\u003cbr\u003ee-mail: \u003ca href\u003d\"mailto:junpen@most.go.th\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003ejunpen@most.go.th\u003c/a\u003e\u003c/font\u003e\u003cbr\u003e\n\u003cbr\u003e-- \u003cbr\u003eคิดถึงก็ตอบ ไม่ชอบก็delete ยังมีอีกเดี๋ยวส่งใหม่ จนกว่าจะคิดถึง....\u003cbr\u003e\u003cbr\u003e\u003cbr\u003e\u003ca href\u003d\"http://alabama-thai.myminicity.com/com\" target\u003d\"_blank\" onclick\u003d\"return top.js.OpenExtLink(window,event,this)\"\u003ehttp://alabama-thai.\u003cWBR\u003emyminicity.com/com\u003c/a\u003e\u003cbr\u003eกำลังต้องการด่วน \u003cbr\u003e\n--~--~---------~--~----~------\u003cWBR\u003e------~-------~--~----~\u003cbr\u003e\n****
     

แชร์หน้านี้

Loading...