งานประชุมวิชาการ Storm Surge : Unforeseen Natural Catastrophe

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Kongp, 19 มกราคม 2009.

  1. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    ลองมาให้ดูครับ เผื่อสนใจ

    <TABLE class=secondPageTable id=Table2 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD><TABLE id=Table3 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ม.รังสิต จัดงานประชุมวิชาการ ประจำปี 2552</TD></TR></TBODY></TABLE>มกราคม 16, 2552 6:20 AM </TD></TR><TR><TD>[​IMG] สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยรังสิต จัดงานประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2552 ในวันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน 2552 เวลา 08.00
     
  2. ตุ๊กตาแก้ว

    ตุ๊กตาแก้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    557
    ค่าพลัง:
    +3,265
    กำหนดการ


    08.00 - 08.45 . ลงทะเบียน


    08.45 - 09.00 . พิธีเปิด



    09.00 - 10.30 . การเสวนาพิเศษ




    หัวข้อ


    Storm Surge: Unforeseen Natural Catastrophe (Storm Surge: หายนะที่คาดไม่ถึง) และ กฏหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเตือนภัย


    โดย ดร
    .สมิทธ ธรรมสโรช ประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติและ ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต




    ผู้ดำเนินรายการ รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี ศุภราทิตย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยภัยธรรมชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต


    10.30 - 10.45 . พักรับประทานอาหารว่าง



    10.45 - 12.00 . การนำเสนอผลงานวิจัย จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา



    12.00 - 13.00 . พักเที่ยง



    13.00 - 15.00 . การนำเสนอผลงานวิจัย จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา


    15.00 - 15.30 . พิธีมอบประกาศนียบัตร/รางวัล แก่ผู้นำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น


     
  3. Forever In LoVE

    Forever In LoVE เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    1,348
    ค่าพลัง:
    +3,864
    ขอบคุณสำหรับข้อมูลที่มีประโยชน์จากทั้งสองท่าน
    เป็นกิจกรรมที่ควรมาร์คลงปฏิทินนัดหมายเอาไว้ล่วงหน้าเป็นอย่างยิ่งค่ะ
     
  4. นาคา

    นาคา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    2,378
    ค่าพลัง:
    +12,917
    มีท่านใดใด้เข้าร่วมฟังในงานนี้ไหมครับ


    ติดตามข่าว

    <TABLE class=A14 cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>"สมิทธ"เตือนไทยอาจถูก"คลื่นยักษ์สึนามิ"ถล่มอีกระลอก

    ชี้ปี 52 ไทยร้อนจัดอุณหภูมิทะลุ 42 องศา เหตุแกนโลกสวิงเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์ ทำน้ำแข็งขั้วโลกละลายเร็ว กระทบเกษตรจำนวนผลผลิตลดลง อาจส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจากภาวะคลื่นความร้อนมากขึ้น ขณะที่ฤดูฝนปีนี้มาเร็วผิดปกติ เจอแน่ทั้งพายุ มรสุมเพียบ ซ้ำเกิดภาวะน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก

    ที่โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ เมื่อวันที่ 29 ม.ค. นายสมิทธ ธรรมสโรช อดีตประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ

    เปิดเผยถึงแนวโน้มการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติในปี 52 ว่า ขณะนี้ทางกรมอุตุนิยมวิทยากำลังจับตาดูอยู่ เพราะอากาศที่ปกคลุมประเทศไทยปีนี้มีความผิดปกติพอสมควร โดยเฉพาะฤดูหนาวที่มีลมมรสุมจากตะวันออกเฉียงเหนือมีกำลังพัดแรงที่มาพร้อมกับอากาศเย็นจากประเทศจีนส่งผลถึงไทย ทำให้ช่วงฤดูหนาวไทยมีความเย็นผิดปกติ และต่อเนื่องระยะยาว และยังทำให้เกิดคลื่นลมในทะเลอ่าวไทยที่เรียกว่า สตอมเซอจขนาดเล็ก ทำให้บ้านเรือนริมชายฝั่งได้รับผลกระทบตั้งแต่ จ.เพชรบุรี ถึง จ.สตูล ซึ่งจะเป็นเหตุการณ์ที่ผิดปกติจากปีก่อน ๆ และมีความรุนแรงมากกว่า

    นายสมิทธ กล่าวต่อว่า นักวิทยาศาสตร์ ทั่วโลกกำลังดูอยู่ว่า ทำไมปีนี้อากาศเย็นจากขั้วโลกเหนือจึงเย็นลงมาจนถึงพื้นที่เส้นศูนย์สูตร

    ซ้ำยังหนาวเย็นเป็นระยะยาวต่อเนื่องมากผิดปกติ ไม่เฉพาะแต่ประเทศไทยเท่านั้น แต่รวมถึงประเทศในแถบยุโรป และอเมริกา ซึ่งพบว่าบางแห่งเกิดปรากฏการณ์พายุหิมะตกผิดปกติ อย่างไรก็ตามคาดการณ์ว่า ภาวะดังกล่าวเกิดจากแกนโลกหมุนเอียงออกจากดวงอาทิตย์มากกว่าปกติหรือไม่ โดยอยู่ที่ประมาณ 23.5 องศา ส่งผลให้ประเทศที่อยู่ซีกโลกเหนือจะมีความหนาวเย็นมากผิดปกติ ซึ่งหากเป็นเช่นนั้นจริง แกนโลก จะสวิงกลับ โลกจะเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์มาก กว่าปกติเช่นกัน ส่งผลให้หน้าร้อนที่กำลังมาถึงร้อนมากขึ้น

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>อดีตประธานกรรมการอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติฯ กล่าวอีกว่า ภาวะดังกล่าวจะทำให้น้ำแข็งขั้วโลกละลายเร็วขึ้น

    ส่งผลให้ปริมาณน้ำทะเลเพิ่มมากขึ้น ขณะที่ประเทศในกลุ่มเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงประเทศไทยจะมีอากาศร้อนมากกว่าปกติ กระทบต่อภาคการเกษตร จำนวนผลผลิตลดลง ตั้งแต่ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และพืชการเกษตรส่งออกทั้งหมด ขณะเดียวกันศัตรูพืชก็จะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งโรคภัยไข้เจ็บ นอกจากนี้ยังอาจส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจากภาวะคลื่นความร้อนมากขึ้น ซึ่งที่อินเดียมีคนเสียชีวิตทุกปี และประเทศไทยอาจมีผู้เสียชีวิตได้ในพื้นที่ร้อนจัด เช่นที่ จ.ตาก และอุตรดิตถ์ แต่ทั้งนี้ฤดูร้อนอาจมีระยะเวลาที่สั้นกว่าปีที่ผ่าน ๆ มา ต่อจากนั้นจะเข้าสู่ฤดูฝน ซึ่งมีมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย และทะเลอันดามัน จะทำให้มีพายุมากขึ้น ซ้ำยังรุนแรงมากกว่าปกติ ซึ่งในช่วงนี้ประเทศ ไทยจะประสบภัยพิบัติจากพายุ ทั้งจากฝนตกหนัก น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก ทำให้บ้านเรือนเสียหายอย่างมาก
     
  5. นาคา

    นาคา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    2,378
    ค่าพลัง:
    +12,917
    ปรากฏการณ์ลานีญาจะพัฒนากลับมาอีกครั้งจนถึงกลางปี ​
    [FONT=Cordia New,Cordia New]2552

    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ภาวะปกติที่เกิดขึ้นหลังจากปรากฏการณ์ลานีญาสลายไปเมื่อประมาณเดือนมิถุนายน[/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]-[/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กรกฎาคม [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2551 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ที่ผ่านมา จากการเฝ้าติดตามสถานการณ์ปรากฏการณ์เอลนีโญ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]/ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ลานีญา ปรากฏว่า อุณหภูมิน้ำทะเลบริเวณตอนกลางและด้าน ตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกต่ำกว่าปกติตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนต่อเนื่องมาปัจจุบัน โดยในระหว่างเดือนธันวาคม [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2551 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ถึงกลางเดือนมกราคม [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2552 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]อุณหภูมิผิวน้ำทะเลบริเวณตอนกลางและด้านตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเขตศูนย์สูตรต่ำ กว่าปกติ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]0.5 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]องศาเซลเซียส และบางบริเวณอุณหภูมิต่างจากปกติมากกว่า [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]1 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]องศาเซลเซียส [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]รูปที่ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]1 ) [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ในขณะที่ลึกลงไปใน มหาสมุทรถึงชั้น [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]thermocline [/FONT]* [FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ที่ระดับความลึก [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]300 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]เมตร[/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]) [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ในบริเวณเดียวกัน อุณหภูมิต่ำกว่าปกติมาก [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]รูปที่ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2) [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]รวมทั้ง ลมตะวันออกกำลังแรงพัดปกคลุมในระดับต่ำ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New](850 hPa ) [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]และลมในระดับบน [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New](200 hPa ) [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]เป็นลมตะวันตกกำลังแรง สัญญาณ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในมหาสมุทรและในชั้นบรรยากาศโดยรวมแล้ว แสดงให้เห็นว่าปรากฏการณ์ลานีญากำลังจะพัฒนาขึ้น อีกครั้ง [/FONT]

    [FONT=Cordia New,Cordia New]จากการศึกษาวิเคราะห์พบว่าปริมาณฝนและอุณหภูมิประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับความผันแปรของอุณหภูมิน้ำทะเลในบาง ช่วง โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง คือฤดูหนาวและฤดูร้อนกับอุณหภูมิน้ำทะเลที่ต่ำกว่าปกติ
    ความผิดปกติทางธรรมชาติของการหมุนวียนกระแสลมในบรรยากาศและกระแสน้ำในมหาสมุทรที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็น เหตุผลหนึ่งในหลายๆเหตุผลที่ทำให้ลักษณะอากาศของประเทศไทยในช่วงฤดูหนาว [FONT=Cordia New,Cordia New]2551-2552 [/FONT]มีอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ [FONT=Cordia New,Cordia New]([/FONT]เดือนมกราคม[FONT=Cordia New,Cordia New]) [/FONT]และปริมาณฝนของภาคใต้ตอนล่างมากกว่าค่าปกติด้วย
    [FONT=Cordia New,Cordia New]การคาดการณ์ [/FONT]หากสถานการณ์ความผิดปกติทางธรรมชาติยังคงเป็นเช่นนี้ และปรากฏการณ์ลานีญายังคงปรากฏต่อเนื่อง อาจส่งผลกระทบต่อลักษณะอากาศของประเทศไทย โดยคาดว่าในช่วงฤดูร้อนที่จะถึงนี้ อากาศจะไม่ร้อนมากนัก ส่วนปริมาณ ฝนโดยเฉลี่ยจะสูงกว่าค่าปกติ
    [FONT=Cordia New,Cordia New]หมายเหตุ [/FONT]กรมอุตุนิยมวิทยาจะเฝ้าติดตามสถานการณ์ปรากฏการณ์เอลนีโญ [FONT=Cordia New,Cordia New]/ [/FONT]ลานีญา อย่างใกล้ชิด และจะเผยแพร่ ข่าวความคืบหน้าให้ประชาชนได้ทราบเป็นระยะๆ จึงขอให้ติดตามข่าวจากกรมอุตุนิยมวิทยาต่อไปด้วย
    ที่มา [FONT=Cordia New,Cordia New]: NOAA ; National Oceanic and Atmospheric Administration
    [/FONT]
    กลุ่มวิชาการภูมิอากาศ ​
    [FONT=Cordia New,Cordia New]20 [/FONT]มกราคม [FONT=Cordia New,Cordia New]2552
    [/FONT][/FONT]
    [FONT=Cordia New,Cordia New]
    [/FONT]
     

แชร์หน้านี้

Loading...