เสียงธรรม ทดลองอ่านพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๙

ในห้อง 'พระไตรปิฎกและคัมภีร์' ตั้งกระทู้โดย Kob, 27 พฤษภาคม 2009.

  1. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เรียน คุณพี่กบค่ะ
    มาส่งงานค่ะ อ่านและปรับขนาดตามกำหนดแล้ว แต่เมื่อฟังเอง เหมือนมีเป็นเสียงซ่าส์ -สะดุด เกิดจากใช้ไมค์ใกล้ไปหรือเปล่า ? ยังไรก็ ยินดีที่จะปรับปรุงนะคะ ขอบพระคุณค่ะ
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    พระไตรปิฏกบันทึกเสียง ลำดับที่ 17-160 ถึง 17-169

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    ๒. ราธสังยุต
    ปฐมวรรคที่ ๑<O:p</O:p


    รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ<O:p</O:p
    ๑. มารสูตร <O:p</O:p
    ๒. สัตตสูตร <O:p</O:p
    ๓. ภวเนตติสูตร <O:p</O:p
    ๔. ปริญเญยยสูตร <O:p</O:p
    ๕. สมณพราหมณสูตรที่ ๑ <O:p</O:p
    ๖. สมณพราหมณสูตรที่ ๒<O:p</O:p
    ๗. โสตาปันนสูตร<O:p</O:p
    ๘. อรหันตสูตร<O:p</O:p
    ๙. ฉันทราคสูตรที่ ๑<O:p</O:p
    ๑๐. ฉันทราคสูตรที่ ๒<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    http://www.84000.org/tipitaka/pitaka2/sutta09.php
    <O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กรกฎาคม 2009
  2. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พร้อมนี้ ได้พบที่มาแห่งพระสูตร จากประวัติท่านพระราธะเถระ
    ขออนุญาตอัญเชิญมาเพื่อศรัทธาธรรม นะคะ

    พระราธเถระ<O:p</O:p

    <O:p</O:p
    ชาติภูมิ<O:p</O:p
    ท่านพระราธะ เกิดในสกุลพราหมณ์ ในนครราชคฤห์ เดิมก็ชื่อ ราธะ สกุลของท่านเป็นสกุลที่มั่งคั่งสกุลหนึ่ง เมื่อราธพราหมณ์แก่เฒ่าชรา บุตรภรรยาไม่เลี้ยงดู เป็นคนยากจนเข็ญใจ จึงไปอาศัยเลี้ยงชีพอยู่กับพระภิกษุในพระเวฬุวันวิหาร ต่อมา ราธพราหมณ์มีความประสงค์อยากจะบวช แต่ไม่มีใครบวชให้ เมื่อไม่ได้บวชสมประสงค์ จึงมีร่างกายซูบผอม มีผิวพรรณหม่นหมองไม่ผ่องใส พระบรมศาสดาทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์จึงตรัสถาม ทราบความแล้ว รับสั่งถามภิกษุทั้งหลายว่า ใครระลึกถึงอุปการคุณของพราหมณ์นี้ได้บ้าง พระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้าระลึกได้ อยู่ในวันหนึ่ง ข้าพระพุทธเจ้าเที่ยวไปบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์ พราหมณ์ได้ถวายอาหารแก่ข้าพระพุทธเจ้าทัพพีหนึ่ง พระบรมศาสดาตรัสว่า ดีละ ๆ สารีบุตร สัตบุรุษ เป็นคนกตัญญูกตเวที ถ้าอย่างนั้น สารีบุตรให้พราหมณ์นั้นบวชเถิด
    <O:p</O:p
    ครั้นทรงอนุญาตให้พระสารีบุตรบวชราธพราหมณ์อย่างนี้แล้ว จึงตรัสสั่งให้เลิกการอุปสมบทด้วยวิธีรับไตรสรณคมน์ ที่ได้ทรงอนุญาตไว้แล้วแต่เดิม ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นว่า ทรงอนุญาตให้สงฆ์อุปสมบทกุลบุตร ด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา ท่านพระราธะเป็นองค์แรก ในการอุปสมบทด้วยวิธีนี้
    <O:p</O:p
    เมื่ออุปสมบทแล้ววันหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระบรมศาสดา กราบทูลว่า ขอพระองค์จงแสดงธรรมแก่ข้าพระพุทธเจ้าโดยย่อ ๆ ที่ข้าพระพุทธเจ้าได้ฟังแล้ว จักหลีกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว เป็นคนไม่ประมาท มีความเพียร ส่งจิตไปในภาวนา
    <O:p</O:p
    พระบรมศาสดาตรัสสอนว่า “ราธะ สิ่งใดเป็นมาร ท่านจงละความกำหนัดพอใจในสิ่งนั้นเสีย อะไรเล่าชื่อว่ามาร รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตน มีความสิ้นไปเสื่อมไป เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป เป็นธรรมดา ชื่อว่ามาร ท่านจงละความกำหนัดพอใจในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นั้นเสีย”
    <O:p</O:p
    พระราธะรับโอวาทที่พระบรมศาสดาตรัสสอนอย่างนี้ แล้วเที่ยวจาริกไปกับพระสารีบุตร ไม่นานก็ได้สำเร็จพระอรหัตต์ ครั้นพระราธะได้บรรลุพระอรหัตต์แล้ว ท่านพระสารีบุตรมาเฝ้าพระบรมศาสดา ๆ ทรงปราศรัยตรัสถามว่า สัทธิวิหาริกของท่านนี้เป็นอย่างไร พระสารีบุตรกราบทูลว่า เป็นเป็นคนว่านอนสอนง่าย เมื่อแนะนำสั่งสอนว่า สิ่งนี้ควรทำสิ่งนั้นไม่ควรทำ ท่านจงทำอย่างนี้ อย่าทำอย่างนั้น ดังนี้ ไม่เคยโกรธเลยฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    เอตทัคคะ<O:p</O:p
    พระบรมศาสดาตรัสสอนให้ภิกษุทั้งหลายถือเอาพระราธะเป็นตัวอย่างว่า ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ว่าง่ายอย่างราธะเถิด เมื่ออาจารย์ชี้โทษสั่งสอน อย่าถือโกรธ ควรคบแต่บัณฑิต ที่ตนเห็นว่าเป็นคนแสดงโทษกล่าวชม ให้เป็นดุจคนชี้บอกขุมทรัพย์ให้ เพราะคบบัณฑิตเช่นนั้นมีคุณประเสริฐ ไม่มีโทษเลยฯ
    <O:p</O:p
    และทรงยกย่องสรรเสริญพระราธะว่า เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายด้วยปฏิภาณ คือ ญาณแจ่มแจ้งในพระธรรมเทศนาฯ ท่านพระราธะดำรงชนมายุสังขารโดยสมควรแก่กาลแล้ว ก็ดับขันธปรินิพพานฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    http://www.geocities.com/piyainta/ab34.htm<O:p</O:p
     
  3. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกบันทึกเสียง <O:p</O:p
    ลำดับที่ 17-170 ถึง 17-181

    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    ๒. ราธสังยุต
    ทุติยวรรคที่ ๒<O:p</O:p



    รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ<O:p</O:p
    ๑. มารสูตร <O:p</O:p
    ๒. มารธัมมสูตร <O:p</O:p
    ๓. อนิจจสูตร <O:p</O:p
    ๔. อนิจธัมมสูตร <O:p</O:p
    ๕. ทุกขสูตร <O:p</O:p
    ๖. ทุกขธัมมสูตร <O:p</O:p
    ๗. อนัตตาสูตร<O:p</O:p
    ๘. อนัตตธัมมสูตร<O:p</O:p
    ๙. ขยธัมมสูตร<O:p</O:p
    ๑๐. วยธัมมสูตร<O:p</O:p
    ๑๑. สมุทยธัมสูตร<O:p</O:p
    ๑๒. นิโรธธัมสูตร
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p
    ��úѭ ����ص�ѹ��Ԯ� ���� � �ѧ�ص��ԡ�� �ѹ������ä<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กรกฎาคม 2009
  4. hongsanart

    hongsanart เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,332
    ค่าพลัง:
    +10,468
    โมทนาสาธุค่ะ
     
  5. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกบันทึกเสียง
    ลำดับที่ 17-182 ถึง17-193



    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค

    <O:p</O:p
    อายาจนวรรคที่ ๓
    รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ

    <O:p</O:p

    ๑. มารสูตร<O:p</O:p
    ๒. มารธัมมสูตร <O:p</O:p
    ๓. อนิจจสูตร <O:p</O:p
    ๔. อนิจจธัมมสูตร <O:p</O:p
    ๕. ทุกขสูตร <O:p</O:p
    ๖. ทุกขธัมมสูตร
    ๗. อนัตตาสูตร
    ๘. อนัตตธัมมสูตร
    ๙. ขยธัมมสูตร
    ๑๐. วยธัมมสูตร
    ๑๑. สมุทยธัมสูตร
    ๑๒. นิโรธธัมสูตร

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2009
  6. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกบันทึกเสียง
    ลำดับที่ 17-194 ถึง17-205

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค

    อุปนิสินนวรรคที่ ๔

    รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ

    ๑. มารสูตร
    ๒. มารธัมมสูตร
    ๓. อนิจจสูตร
    ๔. อนิจจธัมมสูตร
    ๕. ทุกขสูตร
    ๖. ทุกขธัมมสูตร
    ๗. อนัตตาสูตร
    ๘. อนัตตธัมมสูตร
    ๙. ขยธัมมสูตร
    ๑๐. วยธัมมสูตร
    ๑๑. สมุทยธัมสูตร
    ๑๒. นิโรธธัมสูตร.
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2009
  7. ผ่อนคลาย

    ผ่อนคลาย Super Moderator ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    5,774
    ค่าพลัง:
    +12,932
    ขออนุโมทนาคุณบุญญสิกขาครับ

    อยากขอให้คุณบุญฯใช้เวลาว่างๆ ช่วยปรับเปลี่ยนไฟล์ใส่ชื่อเรื่องทุกไฟล์ด้วยครับ ทั้งนี้มีผลในเวลาทำเป็นแผ่น MP3 คนเปิดฟังจะได้ทราบว่าฟังเรื่องอะไร หรือหากมีคนค้นคว้าไปเทียบค้นในพระไตรปิฎกจะได้ทราบว่าชื่อเรื่องอะไรจะทำให้ง่ายขึ้นครับ ฯลฯ

    อีกทั้งจะได้เป็นแนวเหมือนๆกันตามที่กำหนดน่ะครับ

    ต้องขออภัยคุณบุญฯครับ ที่ทักท้วงอาจต้องเสียเวลาในการปรับเปลี่ยนแล้วลบของเดิมออกและอัพไฟล์ที่ปรับเปลี่ยนชื่อแล้วมาใหม่น่ะครับ แต่หากเราคิดซะว่าเป็นการทำกุศลทำบ่อยๆ แม้เป็นเรื่องแก้ไขก็ทำให้ยิ่งได้กุศลอีกครับ

    ขอเอาใจช่วยและขอบุญรักษาคุณบุญญสิกขาและครอบครัวให้มีแต่ความสุขมากๆครับ

    ขออนุโมทนาครับ
     
  8. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ปรับแล้วค่ะ เพราะลืมตั้งชื่อไฟล์น่ะเอง สาธุค่ะ
     
  9. Bacary

    Bacary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    1,212
    ค่าพลัง:
    +23,196
    อนุโมทนาครับ
     
  10. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกบันทึกเสียง
    17-206 ถึง 17-233<O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค

    โสตาปัตติวรรค


    รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
    17-206_๐๑ นวาตสูตร
    17-207_๐๒ เอตังมมสูตร
    17-208_๐๓ โสอัตตาสูตร
    17-209_๐๔ โนจเมสิยาสูตร
    17-210_๐๕ นัตถิทินนสูตร
    17-211_๐๖ กโรโตสูตร
    17-212_๐๗ เหตุสูตร
    17-213_๐๘ มหาทิฏฐิสูตร
    17-214_๐๙ สัสสตทิฏฐิสูตร
    17-215_๑๐ อสัสสตทิฏฐิสูตร
    17-216_๑๑ อันตวาสูตร
    17-217_๑๒ อนันตวาสูตร
    17-218_๑๓ ตังชีวังตังสรีรังสูตร
    17-219_๑๔ อัญญังชีวังอัญญังสรีรังสูตร
    17-220_๑๕ โหติตถาคตสูตร
    17-221_๑๖ นโหติตถาคตสูตร
    17-222_๑๗ โหติจนโหติตถาคตสูตร
    17-223_๑๘ เนวโหตินนโหติตถาคตสูตร

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2009
  11. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกบันทึกเสียง
    17-224 ถึง 17-233<O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค



    ทุติยเปยยาล


    17-224_๐๑ นวาตสูตร
    17-225_๑๘ เนวโหตินนโหติตถาคตสูตร
    17-226_๑๙ รูปีอัตตาสูตร
    17-227_๒๐ อรูปีอัตตาสูตร
    17-228_๒๑ รูปีจอรูปีจอัตตาสูตร

    17-229_๒๒ เนวรูปีนารูปีอัตตาสูตร
    17-230_๒๓ เอกันตสุขีอัตตาสูตร
    17-231_๒๔ เอกันตทุกขีอัตตาสูตร

    17-232_๒๕ สุขทุกขีอัตตาสูตร
    17-233_๒๖ อทุกขมสุขีอัตตาสูตร
    (สูตรที่ ๒ ถึงสูตรที่ ๑๗ เหมือนในโสตาปัตติวรรค)

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2009
  12. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกเสียงอ่าน<O:p</O:p
    17-234 ถึง 17-237
    <O:p</O:p
    ตติยเปยยาลที่ ๓
    พระสูตรในวรรคนี้ ประกอบด้วย

    ๑. นวาตสูตร
    ๒๖. อทุกขมสุขีอัตตาสูตร
    (สูตรที่ ๒-๒๕ มีความพิสดารเหมือนนัยแห่งสูตรที่ ๑)

    (rose)(rose)(rose)​


    จตุตถเปยยาลที่ ๔
    พระสูตรในวรรคนี้ ประกอบด้วย


    ๑. นวาตสูตร
    ๒๖. อทุกขมสุขีอัตตาสูตร
    (สูตรที่ ๒-๒๕ มีความพิสดารเหมือนนัยแห่งสูตรที่ ๑)

    ��úѭ ����ص�ѹ��Ԯ� ���� � �ѧ�ص��ԡ�� �ѹ������ä
    ��úѭ ����ص�ѹ��Ԯ� ���� � �ѧ�ص��ԡ�� �ѹ������ä

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2009
  13. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกเสียงอ่าน<O:p</O:p
    17-238 ถึง 17-247


    รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้ คือ
    17-238_๐. จักขุสูตร
    17-239_๐๒. รูปสูตร
    17-240_๐๓. วิญญาณสูตร
    17-241_๐๔. ผัสสสูตร
    17-242_๐๕. เวทนาสูตร
    17-243_๐๖. สัญญาสูตร
    17-244_๐๗. เจตนาสูตร
    17-245_๐๘. ตัณหาสูตร
    17-246_๐๙. ธาตุสูตร

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2009
  14. Mrs.Kim

    Mrs.Kim เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    1,086
    ค่าพลัง:
    +2,306
    แอบมาให้กำลังใจคุณพี่สาวค่ะ และขออนุโมทนาสาธุกับมหากุศลของคุณพี่สาว และทีมงานพระไตรปิฎกทุกๆท่านด้วยค่ะ
     
  15. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471

    ค่ะ คุณน้องสาว
    ขอมหากุศลนี้ หนุนส่งดลบันดาลคุณน้องสาว และครอบครัวได้ พร้อมรองรับ ต้อนรับ โอบอุ้ม "สิ่งสุดพิเศษ" สมปรารถนาจ้ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กันยายน 2009
  16. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกเสียงอ่าน <O:p</O:p
    ลำดับที่ 17-248 -17-257<O:p</O:p

    ๕. อุปปาทสังยุต

    รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้ คือ
    17-248_๐๑จักขุสูตร
    17-249_๐๒รูปสูตร
    17-250_๐๓วิญญาณสูตร
    17-251_๐๔ผัสสสูตร
    17-252_๐๕เวทนาสูตร
    17-253_๐๖สัญญาสูตร
    17-254_๐๗เจตนาสูตร
    17-255_๐๘ตัณหาสูตร
    17-256_๐๙ธาตุสูตร
    17-257_๑๐ขันธสูตร

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2009
  17. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เสียงอ่านพระไตรปิฏก<O:p</O:p
    17-258 – 17-267
    <O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙


    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค

    รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้ คือ
    17-258_๐๑ จักขุสูตร
    17-259_๐๒. รูปสูตร
    17-260_๐๓. วิญญาณสูตร
    17-261_๐๔. ผัสสสูตร
    17-262_๐๕. เวทนาสูตร <O:p</O:p
    17-263_๐๖. สัญญาสูตร<O:p</O:p
    17-264_๐๗. เจตนาสูตร<O:p</O:p
    17-265_๐๘. ตัณหาสูตร
    17-266_๐๙. ธาตุสูตร
    17-267_๑๐. ขันธสูตร<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2009
  18. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เสียงอ่านพระไตรปิฏก <O:p</O:p
    17-268 -17-277
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค

    สารีปุตตสังยุตต์
    รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้ คือ
    17-268_๐๑ วิเวกสูตร
    17-269_๐๒ อวิตักกสูตร
    17-270_๐๓ ปีติสูตร
    17-271_๐๔ อุเปกขาสูตร
    17-272_๐๕ อากาสสูตร
    17-273_๐๖ วิญญาณสูตร
    17-274_๐๗ อากิญจัญญายตนสูตร
    17-275_๐๘ เนวสัญญานาสัญญายตนสูตร
    17-276_๐๙ นิโรธสูตร
    17-277_๑๐ สูจิมุขีสูตร
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กันยายน 2009
  19. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกเสียงอ่าน<O:p</O:p
    17-278 - 17-289<O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    ๘ นาคสังยุตต์<O:p</O:p
    รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้ คือ
    17-278_๐๑ สุทธกสูตร17-279_๐๒ ปณีตตรสูตร
    17-280_๐๓ อุโปสถสูตรที่
    17-281_๐๔ อุโปสถสูตรที่
    17-282_๐๕ อุโปสถสูตรที่
    17-283_๐๖ อุโปสถสูตรที่
    17-284_๐๗ สุตสูตรที่
    17-285_๐๘ สุตสูตรที่
    17-286_๐๙ สุตสูตรที่
    17-287_๑๐ สุตสูตรที่
    17-288_๐๑ อัณฑชทานูปการสูตรที่-๑๐
    17-289_๐๒ ชลาพุชาทิทานูปการสูตรที่-๓๐<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กันยายน 2009
  20. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระไตรปิฏกเสียงอ่าน<O:p</O:p
    17-290 - 17-295<O:p</O:p

    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
    สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
    ๙. สุปัณณสังยุต<O:p</O:p
    รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้ คือ
    17-290_๐๑ สุทธกสูตร
    17-291_๐๒ หรติสูตร
    17-292_๐๓ ทวยการีสูตร ที่
    17-293_๐๔ ทวยการีสูตร ที่ -
    17-294_๐๕ อัณฑชทานูปการสูตร ที่ -๑๐
    17-295_๐๖ ชลาพุชาทิทานูปการสูตร ที่ -๓๐<O:p</O:p
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กันยายน 2009

แชร์หน้านี้

Loading...