ประวัติพระราชสิทธิมงคล ( หลวงพ่อสวัสดิ์ ) วัดศาลาปูน และวัตถุมงคล

ในห้อง 'กระทู้เก่า' ตั้งกระทู้โดย guawn, 30 ธันวาคม 2006.

  1. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,107
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ff9900>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ประวัติพระราชสิทธิมงคล ( หลวงพ่อสวัสดิ์ )[/FONT]

    </TD></TR><TR><TD height=352>

    <TABLE borderColor=#ff6600 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ชาติภูมิ ท่านเจ้าคุณพระราชสิทธิมงคล ( สวัสดิ์ จิตตะทส ) เกิดวันศุกร์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือนสิบสอง ปีมะเส็ง ตรงกับ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]วันที่ 28 เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช 2460 ณ บ้านเลขที่ 15 หมู่ 2 ตำบลราชคราม อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรี[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]อยุธยา บิดาชื่อ นายอยู่ จิตตะทส มารดาชื่อ นางไหม จิตตะทส ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 3 คน เป็นหญิง 2 คน ชื่อจัน[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]และอิน ท่านเป็นบุตรคนสุดท้อง[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]บรรพชา ครั้งที่1 เมื่ออายุ 12 ปี ได้บรรพชาในงานฌาปนกิจศพของมารดา คลองเพศสามเณรอยู่ 3 ปี ครั้งที่ 2[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]หลวงพ่อเจ้าอาวาสวัดบ้านสร้าง ได้จัดบรรพชาให้อีกครั้งหนึ่ง จนอายุครบบวชท่านจึงทำการอุปสมบทให้[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]อุปสมบท เมื่อวันอังคาร ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 7 ปีชวด ตรงกับวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2480 ณ วัดทองจันทริการาม[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พระอุปัชฌาย์ พระครูนิเทศธรรมกถา เจ้าอาวาสวัดบ้านสร้าง พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการกรีสัมมานัย เจ้าอาวาสวัด[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ทองจันทริการาม พระนุสาวนาจารย์ พระครูนิเทศธรรมโกศล เจ้าอาวาสวัดพะยอม ปัจจุบันท่านเจ้าคุณพระราชสิทธิมงคล[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]มีตำแหน่งเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเจ้าอาวาสวัดศาลาปูนวรวิหาร อำเภอพระนครศรีอยุธยา[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อายุ 89 ปี พรรษา 69 ปี ท่านเป็นที่เคารพรักศรัทธา เป็นที่เลื่อมใสของพุทธศาสนิกชน ไม่ว่าจะ[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เป็นพ่อค้า ประชาชน ครูบาอาจารย์ ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดใกล้เคียง แม้บุคคล[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ต่างศาสนา ต่างชาติ เช่น ชาวสิงคโปร์ก็เดินทางมาปฏิบัติธรรมและพักค้างคืนที่วัดศาลาปูนอยู่เป็นประจำจนท่านได้เปิด[/FONT]
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]สาขาวัดไทยในประเทศสิงคโปร์มีพระภิกษุไทยไปประจำเป็นสาขาของวัดศาลาปูน ชื่อ " วัดพุทธสันติธรรม "[/FONT]


    </TD></TR><TR><TD><TABLE borderColor=#ff6600 height=266 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="36%" border=6><TBODY><TR><TD height=26>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="40%" border=4><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รูปหล่อหลวงพ่อสวัสดิ์[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD>

    <TABLE borderColor=#ff6600 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD height=26>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="40%" border=4><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญหลวงพ่อสวัสดิ์ ( ด้านหน้า ) [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD height=24>

    <TABLE borderColor=#ff6600 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD height=26>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD height=24><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="40%" border=4><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญหลวงพ่อสวัสดิ์ ( ด้านหลัง )[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD height=24>

    <TABLE borderColor=#ff6600 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD height=26>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD height=24><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="42%" border=4><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญพระสังกัจจายนะ ( ด้านหน้า )[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD height=24>

    <TABLE borderColor=#ff6600 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD height=26>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD height=24><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="42%" border=4><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญพระสังกัจจายนะ ( ด้านหลัง ) [/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR><TR><TD height=24>

    <TABLE borderColor=#ff6600 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD height=26>
    [​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD height=24><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="45%" border=4><TBODY><TR><TD bgColor=#ffcc66>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญพระสังกัจจายนะ "เรียกทรัพย์ "[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD bgColor=#dd8500 height=24>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รายการวัตถุมงคล[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ff9900 height=24>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]หลวงพ่อสวัสดิ์ วัดศาลาปูน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD height=24><TABLE borderColor=#ff9900 cellSpacing=1 cellPadding=1 width="100%" border=3><TBODY><TR bgColor=#ffcc00><TD width="18%">[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ลำดับที่[/FONT]
    </TD><TD width="58%">[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รายการวัตถุมงคล[/FONT]
    </TD><TD width="24%">[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]บูชาองค์ละ[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พระสังกัจจายนะมหาลาภ ขนาด ๙ นิ้ว ปิดทอง[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙,๙๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๒[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พระสังกัจจายนะมหาลาภ ขนาด ๙ นิ้ว ขัดเงา[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๕,๙๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๓[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พระสังกัจจายนะมหาลาภ ขนาด ๕ นิ้ว ปิดทอง[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๓,๙๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๔[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]พระสังกัจจายนะมหาลาภ ขนาด ๕ นิ้ว ขัดเงา[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑,๙๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๕[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รูปหล่อหลวงพ่อสวัสดิ์ ขนาด ๕ นิ้ว ปิดทอง[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑,๙๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๖[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รูปหล่อหลวงพ่อสวัสดิ์ ขนาด ๕ นิ้ว รมมันปู [/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑,๑๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๗[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รูปหล่อหลวงพ่อสวัสดิ์ ขนาด ๓ นิ้ว ปิดทอง[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๘[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]รูปหล่อหลวงพ่อสวัสดิ์ ขนาด ๓ นิ้ว รมมันปู [/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๕๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD height=25>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญพระสังกัจจายนะ[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙.๑ เนื้อเงิน[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๔๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙.๒ เนื้อนวะโลหะ[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๒๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙.๓ กะไหล่ทองขัดเงา[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙.๔ รมมันปู[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๓๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑๐[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]เหรียญรูปไข่หลวงพ่อสวัสดิ์[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑๐.๑ เนื้อเงิน[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๔๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑๐.๒ เนื้อนวะโลหะ[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๒๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑๐.๓ กะไหล่ทองขัดเงา[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๙๙[/FONT]
    </TD></TR><TR bgColor=#ffff99><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif].[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๑๐.๔ รมมันปู[/FONT]
    </TD><TD>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]๓๙[/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=24>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ติดต่อบูชาได้ที่ พระครูอนุกูลศาสนกิจ วัดศาลาปูน ๓๘ หมู่ ๔ [/FONT]
    </TD></TR><TR><TD height=24>[FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. ๐-๓๕๒๔-๒๑๖๕[/FONT]



    ที่มาhttp://www.ayutthayacity.go.th/data2/E20ajz/salapoon_main.htm
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. guawn

    guawn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    10,642
    ค่าพลัง:
    +42,107
    <TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#dd8500 height=20>
    [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif]ประวัติวัดศาลาปูนวรวิหาร[/FONT]
    </TD></TR><TR><TD bgColor=#ffcc66>

    <TABLE borderColor=#ff6600 height=216 cellSpacing=2 cellPadding=2 width="24%" border=6><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD height=744> [FONT=MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif] วัดศาลาปูนวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ 4 ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอ
    พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นวัดโบราณตั้งอยู่ริมคลองเมือง พระนครศรีอยุธยา ( แม่น้ำลพบุรีเดิม )
    ฝั่งตรงกันข้ามกับเกาะเมืองห่างจากปากคลองหัวแหลมประมาณ 10 เส้น มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 28 ไร่ อาณาเขตติดต่อ
    ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ คลองมหานาค ทิศใต้ ติดต่อ คลองเมือง ทิศตะวันออก ติดต่อ ที่ดินราษฏร ทิศตะวันตก ติดต่อ
    วัดพรหมนิวาสวรวิหาร ( วัดขุนยวน ) วัดศาลาปูนเป็นที่สถิตของ พระราชาคณะตำแหน่งพระธรรมราชา สืบต่อกันมา
    ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 6 ในสมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 วัดศาลาปูนเป็นที่สถิตของพระราชาคณะชั้นสมเด็จ
    คือสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( พุก ) ซึ่งเป็นสมเด็จพระราชาคณะเพียงรูปเดียวที่ได้รับพระราชทานตั้งขึ้นในเขตหัวเมืองชั้นนอก

    พระราชาคณะผู้ใหญ่และพระเถระ ผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศาลาปูน

    1. พระธรรมราชา ( อู๋ ) ในรัชกาลที่ 1
    2. พระธรรมราชา ( คุ้ม ) ในรัชกาลที่ 2 พ.ศ.2539 - 2387
    3. พระธรรมราชา ( เรือง) ในรัชกาลที่ 3 พ.ศ.2389
    4. พระธรรมราชา ( อิน) ในรัชกาลที่ 3 พ.ศ.2394
    5. สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( พุก ) ป.ธ.3 ในรัชกาลที่ 4 พ.ศ.2394 - 2427
    6. พระธรรมราชานุวัตร ( อาจ ) ในรัชกาลที่ 5 พ.ศ.2428 - 2463
    7. พระครูจันทรรัศมี ( อยู่ ) ป.ธ.3 ในรัชกาลที่ 6 พ.ศ.2465 - 2492
    8. พระสุนทรธรรมโกศล ( เกตุ ธมมทินโน ) ป.ธ.6 ในรัชกาลปัจจุบัน พ.ศ. 2465 - 2492
    9. พระครูสาธุกิจโกศล ( ไวยท์ มุตตถาโม ) ป.ธ.5 สมศักดิ์ปัจจุบันคือ พระธรรมญาณมุรี เป็นที่ปรึกษา
    เจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถิต ณ วัดพนัญเชิงวรวิหาร
    10. พระราชสิทธิมงคล ( สวัสดิ์ จิตตะทศ ) พ.ศ.2524 จนถึงปัจจุบัน

    เมื่อมีการประกาศใช้ พ.ร.บ. คณะสงฆ์ พุทธศักราช 2445 พระธรรมราชานุวัตร ( อาจ ) ได้รับแต่งตั้งให้เป็น
    เจ้าคณะมณฑลกรุงเก่า ซึ่งรวมเอา 7 หัวเมือง คือ กรุงเก่า อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี อินทร์บุรี สิงห์บุรี เข้าเป็นมณฆล
    ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑล คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นมรุพงษ์ศิริพัฒน์ ทรงเป็นพระเจ้าน้องยาเธอในรัชกาลที่ 5
    พระธรรมราชานุวัตร ( อาจ ) เป็นผู้อำนวยการจัดการศาสนา การศึกษา การโรงเรียนหนังสือไทยตามวัด ในมณฑลกรุงเก่า
    โดยมีธรรมการมณฑลทำหน้าที่ช่วยเจ้าคณะมณฑล ในปี พ.ศ. 2446 ทั่วทั้งมณฑลกรุงเก่า มีโรงเรียนสอนหนังสือไทย
    ตามวัด 45 โรงเรียน มีนักเรียน 2,421 คน ใน พ.ศ.2429 โรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นในวัดมีอยู่ 5 แห่ง คือ วัดกษัตราธิราช
    วัดนิเวศธรรมะประวัติ วัดรวก วัดเสนาสนาราม และวัดศาลาปูน จึงกล่าวได้ว่าสมัยนั้น วัดศาลาปูนเป็นศูนย์รวมอำนาจ
    การปกครองคณะสงฆ์ ทั้งมณฑลมีชื่อเสียงในการศึกษาอบรม การบำรุงรักษาวัด ตลอดจนการให้ความสะดวกในการ
    บำเพ็ญกุศลแก่ทางราชการ และพ่อค้าประชาชนทั่วไป

    ศิลปกรรมและโบราณวัดถุที่สำคัญ พระพุทธรูปโบราณศักดิ์สิทธิ์ ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อแขนลาย
    เป็นศิลปสมัยก่อนอยุธยา เป็นพระพุทธรูปนั่งขนาดหน้าตักกว้าง ประมาณ 29 นิ้ว ลักษณะคล้ายพระอัครสาวกของสมเด็จ
    พระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ พระโมคคัลลา พระสารีบุตร เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ สามารถบันดาลโชคลาภความสำเร็จ
    ปัดเป่าให้หายจากทุกข์ภัยไข้เจ็บ เคยถูกโจรกรรมหลายครั้งแต่ไม่ประสบผล พระอุโบสถ จิตกรรมฝาผนังคล้ายคลึงกึบ
    วัดหน้าพระเมรุ พระอุโบสถวัดศาลาปูนนี้เคยเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อพระประธานในอุโบสถวัดไร่ขิงมาก่อน เนื่องจาก
    สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( พุก ) ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดศาลาปูน และเป็นชาวเมืองนครชัยศรี ได้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้ ณ
    วัดไร่ขิง หอไตรปิฎก มีความงดงามเป็นเอกมีคุณค่าทางศิลปกรรมสมัยอยุธยา หน้าบันประดับปูนปั้นรูปนารายณ์ทรงครุฑ
    เหยียบนาค เป็นอาคารที่เก็บพระไตรปิฎก พระคัมภีร์และใบลาน ซึ่งเป็นหนังสือสำคัญของพระพุทธศาสนาคือ หอสมุด
    ของพระภิกษุสงฆ์นั่นเอง ธรรมาสน์ เป็นศิลปกรรมเครื่องไม้จำหลักในสมัยอยุธยาตอนต้น รูปทรงงดงาม จำลองมาจาก
    พระแท่นประทับของพระมหากษัตริย์ มีช่อฟ้า ใบระกา บราสี หางหงส์ ซุ้มรังไก่ ยอดเหมปราสาทเช่นเดียวกับปราสาท
    จริงๆ สังเค็ด เป็นธรรมาสน์สำหรับพระสงฆ์ขึ้นไปเทศน์พร้อมๆ กันหลายองค์ แต่ไม่เกิน 4 องค์ ซึ่งเรียกการเทศน์แบบนี้ว่า
    ปุจฉาวิสัชนา ธรรมาสน์จึงต้องขยายยาวออกไป ส่วนหลังคานิยมทำเป็นหลังคาปราสาทซ้อนขึ้นไปเป็นชั้นๆ คล้ายหลังคา
    โบสถ์ สังเค็ดของวุดศาลาปูนเก่าแก่ที่สุด และงดงามที่สุด แต่อยู่ในสภาพชำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา
    [/FONT]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. suwata

    suwata Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มกราคม 2010
    โพสต์:
    279
    ค่าพลัง:
    +47
    เสียความรู้สึก...ที่วัดศาลาปูน

    สวัสดีครับ..ทุกท่าน

    เรื่องมีอยู่ว่า.....ผมเป็นคนชอบพาครอบครัวไปกราบพระเกจิเพื่อความเป็นศิริมงคล และเช่าบูชาวัตถุมงคลมาบูชาเก็บสะสมไว้ วางแผนว่าเสาร์นี้จะไปกราบหลวงพ่อสวัสดิ์ วัดศาลาปูน (กว่าจะหาเจอ >< หลงครับ) ศิษย์รูปสุดท้ายของหลวงปู่เทียน

    ผมไปถึงวัดสังเกตุสภาพรอบๆ วัดใกล้ศาลา และกุฏิหลวงพ่อ สกปรก....อาจเนื่องมาจากมีสุนัขมาอาศัย พักพิง พึ่งบารมีหลวงปู่อยู่ 10-20 ตัว

    จากนั้นผมก็พาครอบครัวเดินเข้าไปเพื่อที่จะ..กราบหลวงปู่ เข้าไปถึงก็เห็นหลวงปู่นั่งอยู่บนโต๊ะกำลัง บ้วนปากหลังฉันเพล..อยู่กับผู้ชายคนนึงแต่งชุดขาวมีประคำเต็มคอ...ดูอายุก็ไม่น่าเกิน ..30 ....พอหลวงปู่เห็นลูกชายผม อายุ 5 ขวบกำลังน่ารัก >< ก็กวักมือเรียกให้เข้าไปหา..

    ผมก็พาลูกชายกับแฟน..ไปนั่งกราบหลวงปู่ใกล้ๆ .....ก็ได้ยินหลวงปู่ถามแต่ไม่ชัดนัก..เนื่องจากหลวงปู่อายุเยอะแล้ว 96-97 ได้มั้ง ผมก็พูดบอกหลวงปู่ไปว่า ..."มาจากกรุงเทพฯ ครับ พาครอบครัวมากราบหลวงปู่" หลวงปู่ตอบกลับมาว่า ...จะกลับเมื่อไร...ผมก็ตอบกลับไปว่า "กราบหลวงปู่เสร็จก็จะกลับครับ"

    จากนั้น...หลวงปู่ก็เอื้อมมือจะไปหยิบย่าม..ซึ่งอยู่ข้างๆถัดไป .เหมือนจะหยิบอะไรบางอย่างในย่ามให้ลูกชายผม..ผมเห็นหลวงปู่เอื้อมหยิบ....แต่ไม่ค่อยสะดวก.....ผมเลยจะลุกขึ้นช่วยหยิบให้..

    อาการเสียความรู้สึกเริ่มจากตรงนี้....ขณะที่ผมกำลังจะช่วยหยิบย่าม(มือยังไม่ทันถึงย่าม) ก็มีเสียงตะโกนมาว่า...."ไม่ต้อง..ไม่ต้องหยิบ..กราบอย่างเดียว..ไม่มีอะไร." ผมกับครอบก็หันไปยังที่มาของเสียง.เห็นคนที่แต่งชุดขาว..มีประคำ..เป็นเจ้าของเสียงเดินเข้ามา..พร้อมกับดึงย่ามออกจากมือหลวงปู่โยน..กลับไปที่เดิม...ผมเห็นหลวงปู่พยายามจะเยื่อม..มือไปหยิบอีก...
    คนดูแลชุดขาวคนนั้นก็ไม่สนใจ..

    "ณ.นาทีนั้นผมสังเกตุแววตาของหลวงปู่..เหมือนเสียความรู้สึก.เสียความตั้งใจ"

    ผมกับแฟน..มองหน้ากัน..เพราะงงกับการกระทำที่เกิดขึ้น..พอได้สติผมก็พูดออกมาว่า.."กราบลาหลวงปู่กันเถอะลูก" ...ขณะกราบ..หลวงปู่ก็เอื้อมมือมาทางลูกชายผมและครอบครัวพร้อมกับพูดว่า "โตขึ้นเป็นเด็กดีนะ..ให้เป็นเจ้าคนนายคน..จากนั้นผมก็เดินออกมาจากห้องหลวงปู่..ในใจโมโหมาก..พร้อมกับพูดกับแฟนผมว่า..ทำอย่างนี้ไม่ดีเลย..แย่มากๆ น่าจะเกรงใจหลวงปู่มั่ง (ผมพูดค่อนข้างดังแบบไม่เกรงใจ แฟนผมก็พยายามห้ามไม่ให้พูดเสียงดัง)

    ออกมาถึงบริเวณ..ที่เช่าวัตถุมงคล...มีลูกศิษยื 2-3 คนกำลังดูวัตถุมงคลอยู่
    และมีคนขายล็อตเตอรี่ผู้หญิงอีก 2 คน ผมก็เล่าให้เค้าฟังแบบดังๆ ไม่เกรงใจ
    ว่าแสดงกิริยาอย่างนั้นกับหลวงปู่ไม่ดีเลย

    ผู้หญิงที่ดูแลให้เช่าวัตถุมงคลก็พูดบอกมาว่า...."ไม่ใช่หรอกหลวงปู่แกแก่แล้วแกหลง"...ผมก็แย้งกลับไปว่าหลวงปู่ก็คุยรู้เรื่องนิ...ยังให้พรได้.ถามมาจากไหน..กลับเมื่อไหร่..ผู้หญิงคนนั้นก็เงียบไป....

    ผมก็พาครอบครัว..เดินกลับไปที่รถ...และขับออกมาพร้อมกลับความรู้สึกที่แย่มากๆ..กับเหตุการณ์ที่เจอ

    ทำไม...?
    1.บริเวณวัด..เหมือนดูแลไม่ค่อยทั่วถึง--->(เนื่องจากหลวงปู่ชราภาพเลยไม่มีใครคอยกำกับดูแลหรืออย่างไร
    2.ผมพาครอบครัวไปกราบหลวงปู่..เพื่อความเป็นศิริมงคล..ไม่ได้หวังว่าหลวงปู่จะให้อะไร (ตั้งใจจะออกไปเช่าเหรียญรุ่นปลอดภัยข้างนอกอยู่แล้ว
    2.1 ฝากบอกคนชุดขาวที่ดูแลหลวงปู่ด้วยว่า..ควรจะถามหลวงปู่ว่า "หลวงปู่จะหยิบอะไรในย่ามหรอครับ?..จะให้หลานชายคนนี้ใช่รึเปล่า?
    แทนที่จะดึงย่ามออกมาจากมือหลวงปู่..แล้วโยนไปไว้ที่เดิม ผมถามหน่อย
    2.2 ของในย่ามเป็นของคุณหรอครับ ? ถึงคุณจะเป็นลูกหลานก็เถอะ
    2.3 อย่ามาอ้างว่าหลวงปู่อายุเยอะแล้ว..หลงแล้ว..ถึงหลวงปู่หยิบของในย่ามผิดถูก..อย่างไร? คุณก็ทักท้วงได้ แต่การกระทำอย่างนั้นมันทำให้เสียความตั้งใจของหลวงปู่..อย่างมาก

    สุดท้าย...หลวงปู่อายุเยอะแล้ว...จะสิ้นบุญเมื่อไหร่ก็ไม่รู้..อย่าทำให้ท่านเสียความรู้สึก...เสียความตั้งใจ..ที่มีต่อลูกศิษย์และญาติโยมเลย..มันจะบาปติดตัวไป....เมื่อสิ้นบุญหลวงปู่ไม่รู้ว่า..วัดศาลาปูนที่เราๆท่านๆ..เคารพศรัธา..จะเป็นเช่นไร..

    ขอบารมีสิ่งศักสิทธิ์..ปกป้องคุ้มครองให้หลวงปู่สุขภาพร่างกายแข็งแรง ให้ลูกศิษย์ได้กราบไหว้..อีกนานๆ

    สาธุ

    จากศิษย์หลวงปู่
    Remark : ถ้าหากผมเข้าใจผิดหรือผิดพลาดประการใด..ผมขออภัย ณ.ที่นี้ด้วยนะครับ ...ผมแค่เขียนไปตามจริงที่ประสบ...มา
     

แชร์หน้านี้

Loading...