พระวังหน้า ที่หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรเสก ถ้าต้องการที่จะได้.....

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย sithiphong, 23 ธันวาคม 2005.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พี่น้องนู๋เลยไม่ต้องเลือก ไม่ต้องลำบากใจ
     
  2. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    นำของอาถรรพ์มาให้ชม และทายกันว่าคืออะไร? ไม่อยู่ในวงการอาจจะไม่ทราบก็ได้ ...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010866.JPG
      P1010866.JPG
      ขนาดไฟล์:
      264.6 KB
      เปิดดู:
      72
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอทำ side head lock ก่อนจะหลุดครับ หุ..หุ..มันก็น่าเสียดาย แต่เลือกแล้วก็แล้วกัน เลือกใหม่ได้เปล่าครับพี่น้องนู๋
     
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    อยากให้คุณ new ได้ทายวัตถุอาถรรพ์ชิ้นนี้จัง..
     
  5. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ....ด ครับ หุ หุ
     
  6. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    [​IMG]
    ไม่ทราบว่าอารายจริงๆครับ ทราบแต่ไม่ชอบครับ น่าจะมีมวลสารของผู้ล่วงลับไปแล้วนะครับ หุ หุ
     
  7. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    แว่บมาว่าอาจจะเป็นดิน.จากป่าเร็ว ก็ได้ครับ หุ หุ
     
  8. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    ตั้งใจไว้แค่นั้นครับ

    .
     
  9. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
  10. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    .

    <CENTER>หมูหินแนะนำ สถานที่ ท่องเที่ยวหนีน้ำท่วม กว่า 100 แห่ง น่าไปทั้งนั้นเลย</CENTER>

    <CENTER>www.MooHin.com > 108 เส้นทางท่องเที่ยวทำบุญอิ่มบุญ > วัดไตรภูมิ เพชรบูรณ์ </CENTER>​




    <STYLE><!-- p.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin-bottom:.0001pt; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman"; margin-left:0cm; margin-right:0cm; margin-top:0cm}--></STYLE>108 เส้นทางออมบุญ
    ออมบุญเพื่อแคล้วคลาดชนะอุปสรรคทั้งหลาย (ภาคเหนือ)
    วัดไตรภูมิ เพชรบูรณ์
    โดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย


    วัดไตรภูมิ เพชรบูรณ์

    วัดไตรภูมิเป็นวัดเก่าแก่ที่มีความเป็นมาหลายร้อยปี วัดแห่งนี้คงความสำคัญในฐานะเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธมหาธรรมราชา พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์ พระพุทธมหาธรรมราชานั้นเป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ มีพระพักตร์รูปเหลี่ยม ทรงเทริดหรือชฏา มีสร้อยพระศอ ข้อพระกร และข้อพระบาทดูงามยิ่ง โดยสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริย์แห่งนครธม ได้พระราชทานพระพุทธมหาธรรมราชาแก่พ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราด (อ.หล่มสักในปัจจุบัน) ในครั้งที่อภิเษกสมรสกับพระนางสิขรมหาเทวี พระธิดาของพระองค์ เพื่อประดิษฐานเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง อันเป็นที่เคารพนับถือของชาวเมืองเพชรบูรณ์ทั่วไป

    ครั้งเมื่อพ่อขุนผาเมืองและพ่อขุนบางกลางท่าวเจ้าเมืองบางยางได้ร่วมกันกอบกู้อิสรภาพให้แก่คนไทยนั้นได้สร้างความแค้นเคืองให้กับพระนางสิงขรมหาเทวีมาก นางจึงเผาเมืองราดจนย่อยยับอับปางลง บรรดาเสนาอำมาตย์จึงอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาหลบหนีไฟ โดยล่องแพมาตามแม่น้ำป่าสัก แต่เนื่องจากความคดเคี้ยวของแม่น้ำและกระแสน้ำที่ไหลเชี่ยวทำให้แพนั้นแตกลง องค์พระพุทธมหาธรรมราชาจึงจมหายไปในแม่น้ำจนกระทั่งชาวประมงมาพบเข้าอีกครั้งในแม่น้ำป่าสัก จึงได้อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิแห่งนี้

    ต่อมาพระพุทธมหาธรรมราชานี้ได้หายไป และมีผู้พบอยู่ในแม่น้ำตรงบริเวณที่พบครั้งแรก อันเป็นที่อัศจรรย์ใจของชาวเพชรบูรณ์อย่างมากจึงได้มีการอัญเชิญกลับไปไว้ที่วัดไตรภูมิอีกครั้ง จึงเป็นที่มาของประเพณีอุ้มพระดำน้ำของจังหวัดเพชรบูรณ์สืบมา

    วันและเวลาเปิด- ปิด

    ศาลาพระพุทธมหาธรรมราชาเปิดทุกวัน เวลา 08.30 17.00 น.

    เทศกาล งานประเพณี

    งานประเพณีอุ้มพระดำน้ำ จะจำขึ้นในช่วงเทศกาลวันสารทไทย หรือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 (เดือนกันยายน) ของทุกปี

    สถานที่ตั้ง

    พ.เพชรเจริญ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์

    ความเชื่อและวิธีการบูชา

    พระพุทธมหาธรรมราชาเป็นที่เคารพบูชาของชาวเพชรบูรณ์ และพากันมาขอพรเพื่อรักษาโรคภัย และขอให้พืชพันธุ์ธัญญาหารสมบูรณ์ รวมทั้งความร่มเย็นเป็นสุข แคล้วคลาดจากอุปสรรคทั้งปวง ในประเพณีของการอุ้มพระดำน้ำ มีความเชื่อกันว่าหากได้อัญเชิญองค์พระพุทธมหาธรรมราชาไปกระทำพิธีอุ้มพระดำน้ำแล้ว บ้านเมืองจะมีความอุดมสมบูรณ์ ประชาชนชาวเมืองจะมีแต่ความผาสุกสืบไป แต่ถ้าปีใดไม่ได้ทำพิธีก็จะเกิดความแห้งแล้ง ข้าวยากหมากแพง โรคภัยไข้เจ็บ และพระพุทธรูปองค์นี้จะหายไป ดังนั้นผู้ว่าราชการจังหวัดจะเป็นตัวแทนชาวเพชรบูรณ์ ในการประกอบพิธีอุ้มพระดำน้ำ และในพิธีดังกล่าวนั้นชาวบ้านจะโปรยดอกไม้และเครื่องหอมลงในแม่น้ำป่าสักเพื่อเป็นเครื่องสักการะ และจะพากันตักน้ำในแม่น้ำที่ไหลผ่านองค์พระ มาตักอาบชำระร่างกาย ลูบไล้ศีรษะเนื้อตัว และนำไปประพรมบ้านเรือนเพื่อเป็นสิริมงคลอีกด้วย

    คาถาบูชาพระพุทธมหาธรรมราชา

    (ท่องนะโม 3 จบ) พุทธมะหาธัมมะราชา วะชิระปูระณะมะหิทธิกา สัพเพ เต อะนุรักขันตุ อะโรคะเยนะ สุเขนะจะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทาฯ


    -http://www.moohin.com/108tripsboon/108trips028c004.shtml-

    .
     
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    .

    พระพุทธมหาธรรมราชา

    [​IMG]



    <TABLE width="90%" border=0><TBODY><TR><TD width="100%" bgColor=#ffcc66>สถานที่ประดิษฐาน วัดไตรภูมิ ตำบลในเมือง
    อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
    </TD></TR><TR><TD width="100%" bgColor=#ffcc66>พุทธลักษณะ ศิลปะสมัยลพบุรี ทรงเทริด
    ปางสมาธิ ขัดสมาธิราบ
    ขนาด หน้าตัก ๑๓ นิ้ว สูง ๑๘ นิ้ว
    วัสดุ โลหะลงรักปิดทอง
    </TD></TR><TR><TD width="100%">
    [​IMG]


    พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์องค์นี้ มีประวัติความเป็นมาที่อยู่ข้างจะแปลก และยังเป็นที่มาของประเพณีปฏิบัติที่ผิดแปลกไม่ซ้ำใครของจังหวัดเพชรบูรณ์อีกด้วย
    พระพุทธมหาธรรมราชาเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองเพชรบูรณ์มาเก่าแก่เล่ากันต่อ ๆ มาถึงความเป็นมาว่าเมื่อพระพุทธรูปจะปรากฏขึ้นนั้น มีชาวเมืองไปทอดแหในลำน้ำแควประสัก ตรงวังมะขามแฟบทางทิศเหนือของเมือง แล้วพบพระพุทธรูปองค์นี้ "สรงน้ำ" อยู่ในวังน้ำ จึงอัญเชิญมาไว้ที่วัดไตรภูมิ ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ใจกลางเมืองขณะนั้น ครั้นอยู่มาเมื่อถึงวันสารทไทย คือ แรม ๑๕ ค่ำเดือน ๑๐ ปรากฏว่าพระพุทธรูปได้หายไปจากวัด เมื่อติดตามค้นหาจนทั่วก็ไปพบกำลัง "สรงน้ำ" ที่วังน้ำเดิมที่มีผู้พบในคราวแรกนั้นเอง
    ต่อมาเมื่อถึงวันสารทไทย เจ้าเมืองเพชรบูรณ์พร้อมทั้งข้าราชการพ่อค้าประชาชนจะพร้อมกัน อัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาไปทำพิธีสรงน้ำที่วังน้ำมะขามแฟบ เป็นประจำทุกปีสืบมาจนกลายเป็นประเพณีสำคัญของจังหวัดเรียกกันว่าอุ้มพระสรงน้ำบ้าง อุ้มพระดำน้ำบ้าง
    ในการอัญเชิญสรงน้ำ เจ้าเมืองหรือปัจจุบันคือผู้ว่าราชการจังหวัดจะเป็นผู้ประคองพระพุทธรูปลงไปในน้ำ แล้วนำองค์พระดำน้ำลงโดยหันพระพักตร์ขึ้นเหนือน้ำ ๓ ครั้ง หันพระพักตร์ลงใต้น้ำ ๓ ครั้ง และอธิษฐานขอพรไปด้วยถือกันว่าหากได้กระทำถูกต้องครบถ้วนแล้วชาวเมืองจะอยู่เย็นเป็นสุข ฝนฟ้าจะตกต้องตามฤดูกาลในเทศกาลสงกรานต์แต่ละปี จะมีการอัญเชิญพระพุทธมหาธรรมราชาออกจากวัดแห่ไปรอบเมืองก่อนจะอัญเชิญไปประดิษฐาน ณ ปะรำพิธีให้ประชาชนได้มาสักการะและสรงน้ำ
    </TD></TR></TBODY></TABLE>



    -http://reocities.com/Athens/atrium/8325/81.html-

    .
     
  12. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    .

    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    มีคำถามมาถามอีกแล้ว

    ยังไม่รู้เลยว่า จะมีท่านใดมาตอบบ้าง



    [​IMG]
    12.1 KB, ดาวน์โหลด 15 ครั้ง




    1.เป็นพระวังหน้าแท้หรือไม่แท้

    2.หากไม่เป็นพระวังหน้า เป็นพระวังหลวง ใช่หรือไม่

    3.หากไม่เป็นพระวังหน้า หรือ พระวังหลวง แสดงว่า เป็นพระเก๊ ใช่หรือไม่



    หากท่านใดตอบองค์ผู้อธิษฐานจิตได้ด้วย เชิญตอบได้ครับ

    .

    สิ้นสุดรับคำตอบ ในวันพุธที่ 14 ธันวาคม 2554 เวลา 18.00 น.ครับ

    .

    [​IMG]
    12.0 KB, ดาวน์โหลด 16 ครั้ง


    1.เป็นพระวังหน้าแท้หรือไม่แท้

    2.หากไม่เป็นพระวังหน้า เป็นพระวังหลวง ใช่หรือไม่

    3.หากไม่เป็นพระวังหน้า หรือ พระวังหลวง แสดงว่า เป็นพระเก๊ ใช่หรือไม่



    หากท่านใดตอบองค์ผู้อธิษฐานจิตได้ด้วย เชิญตอบได้ครับ

    .

    สิ้นสุดรับคำตอบ ในวันพุธที่ 14 ธันวาคม 2554 เวลา 18.00 น.ครับ

    .

    [​IMG]
    11.7 KB, ดาวน์โหลด 16 ครั้ง



    1.เป็นพระวังหน้าแท้หรือไม่แท้

    2.หากไม่เป็นพระวังหน้า เป็นพระวังหลวง ใช่หรือไม่

    3.หากไม่เป็นพระวังหน้า หรือ พระวังหลวง แสดงว่า เป็นพระเก๊ ใช่หรือไม่



    หากท่านใดตอบองค์ผู้อธิษฐานจิตได้ด้วย เชิญตอบได้ครับ

    .

    สิ้นสุดรับคำตอบ ในวันพุธที่ 14 ธันวาคม 2554 เวลา 18.00 น.ครับ

    .
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    ไม่มีท่านใดตอบ

    มาตอบเองอีกก็ได้

    ไม่ใช่พระวังหน้า

    ที่ตอบว่าไม่ใช่พระวังหน้า หมายความว่า เป็นพระที่สร้างที่เพชรบูรณ์ มีการอัญเชิญมาถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวาระที่พระองค์ท่านขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ.2411

    ในการสร้างที่เพชรบูรณ์นั้น มีการนำเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่พระอุโบสถวัดไตรภูมิก่อน

    หลังจากนั้นเมื่ออัญเชิญมาถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในวาระการขึ้นครองราชย์แล้ว ก็มีการนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวงที่พระอุโบสถวัดบวรสถานสุทธาวาส(วังหน้า) ก่อนหน้าที่จะนำเข้าพระราชพิธีพุทธาภิเษกหลวง ได้มีการนำแผ่นทองคำ / แผ่นเงิน / แผ่นนาค บุที่องค์พระด้วยครับ

    มาเฉลยให้ทราบกันแล้วครับ

    ขอบคุณข้อมูลจาก <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->กูรู ครับ

    สำหรับท่านใดที่มี ผมได้ลงบทสวดขององค์พระพุทธมหาธรรมราชาให้แล้วนะครับ

    แนะนำให้สวดบทบูชาคณะหลวงปู่บรมครูพระเทพโลกอุดรก่อนครับ

    .
     
  13. nongnooo

    nongnooo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤศจิกายน 2006
    โพสต์:
    4,139
    ค่าพลัง:
    +9,446
    อ้าว ตาลุงอีกแล้วหรือไม่เห็นรู้เรื่องเลยครับ ไม่เห็นแจ้งเรื่องมวลสารคือ....ที่เหลือจากหล่อองค์พระที่.............เลยครับ หุ หุ
     
  14. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    .

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>นิทานเซน :วิถีการกินและนอน </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD height=40><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>14 ธันวาคม 2554 08:38 น.</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    《持一颗平常心》

    มีอุบาสกผู้หนึ่งเอ่ยถามอาจารย์เซนฮุ่ยไห่ ว่า "ท่านอาจารย์ ท่านมีเคล็ดลับในการปฏิบัติที่แตกต่างจากผู้อื่นหรือไม่?"

    อาจารย์เซนตอบว่า "มี"

    อุบาสกถามต่อไปว่า "อย่างไร?"

    อาจารย์เซนฮุ่ยไห่ ตอบว่า "เมื่อเรารู้สึกหิวก็จะกิน รู้สึกเหนื่อยล้าก็จะนอนหลับ"

    "แบบนั้นจะเรียกว่าแตกต่างได้อย่างไร ใครๆ ก็ทำเช่นนั้นเหมือนกัน" อุบาสกกล่าวแย้ง

    อาจารย์เซนฮุ่ยไห่จึงบอกว่า "ย่อมไม่เหมือนกัน"

    อุบาสกถามว่า "มีอันใดไม่เหมือน?"

    อาจารย์เซนฮุ่ยไห่ตอบว่า "ผู้อื่นขณะกินข้าวยังนึกถึงเรื่องอื่นมากมาย ไม่กำหนดใจไว้ที่การกินข้าว เวลานอนก็ปล่อยใจฝันเพ้อจึงไม่สามารถนอนหลับอย่างสงบ ต่างจากเรา ยามที่เรากินข้าวก็มีเพียงกินข้าวไม่คิดถึงสิ่งอื่นใด ยามที่เรานอนหลับก็ไม่ปล่อยใจฟุ้งซ่าน นี่คือสิ่งที่แตกต่างจากคนทั่วไป"

    จากนั้นจึงกล่าวต่อไปว่า "โลกิยชนยากที่จะดำรงสติอยู่ตลอดเวลา เพราะมักปล่อยใจว่ายวนอยู่ในห้วงกิเลส เมื่อไม่ได้ก็อยากได้ เมื่อได้แล้วก็หลงใหล เกิดความคิดฟุ้งซ่านตลอดเวลา อารมณ์ทางโลกเหล่านี้เป็นอุปสรรคสำคัญที่ขัดขวางไม่ให้พวกเขาหลุดพ้นจากแดนทุกข์"

    ปัญญาเซน : วิถีเซน เน้นการรักษาจิตปกติ การดำรงสติ สำนึกรู้อยู่ทุกขณะเวลาในชีวิตประจำวันถือเป็นการปฏิบัติธรรม เพราะเมื่อมีสติแล้ว ย่อมไม่ปล่อยใจไปกับกิเลสทั้งปวง

    ที่มา : หนังสือ 《生死皆是禅》, 孙郡锴 เรียบเรียง, สำนักพิมพ์ 民主与建设出版社, 2010.9, ISBN 978-7-5139-0007-2




    -http://www.manager.co.th/China/ViewNews.aspx?NewsID=9540000158458-



    .
     
  15. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
  16. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
  17. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948

    ซ้ำร้ายไปกว่านั้น เล่นนำไปทำปลอมขึ้น ใส่สีในจีวร แล้วขาย

    หนักกว่าอีก

    :'( :'( :'( :'( :'(


    .
     
  18. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    .


    ธนบัตร "นำโชค"
    ธนบัตรที่ หลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน (จ.สิงห์บุรี)
    และ หลวงปู่เยี่ยม วัดประดู่ทรงธรรม (จ.อยุธยา)
    อธิษฐานจิต เมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม 2553

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    .


    ธนบัตร "โภคทรัพย์"
    ธนบัตรที่หลวงปู่สุภา กันตสีโล (จ.ภูเก็ต)
    อธิษฐานจิตเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2554

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    .

    ++++++++++++++++++++++++++++++++++++



    นำมาให้ชมกันครับ



    .
     
  19. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ของอาถรรพ์นี้ ชื่อว่า "ดินหน้าตะโพน"

    [​IMG]

    ตะโพน เป็นเครื่องดนตรีที่ขึงด้วยหนัง ตัวตะโพนทำด้วยไม้สักหรือไม้ขนุน เรียกว่า หุ่น ขุดแต่งให้เป็นโพรงภายใน ขึ้นหนัง 2 หน้า ดึงด้วยสายหนังโยงเร่งเสียงเรียกว่า หนังเรียด หน้าใหญ่มีความกว้างประมาณ 25 ซม เรียกว่า หน้าเท่ง ติดหน้าด้วยข้าวสุกบดผสมกับขี้เถ้าเพื่อถ่วงเสียง อีกหน้าหนึ่งเล็กกว่ามีขนาดประมาณ 22 ซม เรียกว่า หน้ามัด ตัวกลองยาวประมาณ 48 ซม รอบ ๆ ขอบหนังที่ขึ้นหน้า ถักด้วยหนังที่ตีเกลียวเป็นเส้นเล็กๆ เรียกว่า ไส้ละมาน แล้วจึงเอาหนังเรียดร้อยในช่วงของไส้ละมานทั้งสองข้าง โยงเรียงไปโดยรอบจนมองไม่เห็นไม้หุ่น มีหนังพันตรงกลางเรียกว่า รัดอก ข้างบนรัดอกทำเป็นหูหิ้วและมีเท้ารองให้ ตัวตะโพนวางนอนอยู่บนเท้า ใช้ฝ่ามือซ้ายขวาตีได้ทั้งสองหน้า ใช้สำหรับบรรเลงผสมอยู่ในวงปี่พาทย์ ทำหน้าที่กำกับจังหวะหน้าทับต่าง ๆ

    ตะโพนนี้ ถือเป็นบรมครูทางดุริยางคศิลป์ นับว่าพระประโคนธรรพ เป็นครูตะโพน เมื่อจะเริ่มการบรรเลง จะต้องนำดอกไม้ธูปเทียน บูชาตะโพนก่อนทุกครั้ง และถือเป็นประเพณีสืบต่อกันมา เหตุที่ต้องกราบใหว้บูชาก็เพราะ ตะโพนเป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงร่วมกับ สังข์ บัณเฑาะว์ และ มโหระทึก ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีประจำองค์ของเทพเจ้า และสมมุติเทพ ดังนี้คือ สังข์ประจำพระองค์พระนารายณ์ และพระอินทร์ บัณเฑาะว์ ประจำองค์พระอิศวร มโหระทึก เป็นเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบพระอิศริยยศองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งถือเป็นสมมุติเทพส่วนตะโพนนั้นเป็นกลองที่พระคเณศได้เป็นผู้ตีเป็นคนแรก ดังนั้น ตะโพนเมื่อนำมาร่วมบรรเลงในวงปี่พาทย์ จึงถือเป็นบรมครู และทำหน้าที่กำกับหน้าทับต่างๆทั้งหมด

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <CENTER>[​IMG]</CENTER><DD>ตะโพน เป็นเครื่องดนตรีประเภทกลอง ตัวตะโพนเรียกว่า "หุ่น" ทำด้วยไม้เนื้อแข็ง ขุดแต่งให้เป็นโพรงภายใน ขึ้นหนังสองหน้า ตรงกลางป่องและสอบไปทางหน้าทั้งสอง หน้าหนึ่งใหญ่เรียกว่า "หน้าเทิ่ง" หรือ "หน้าเท่ง" ปกติอยู่ด้านขวามือ อีกหน้าหนึ่งเล็ก เรียกว่า "หน้ามัด" ใช้สายหนังเรียกว่า "หนังเรียด" โยงเร่งเสียงระหว่างหน้าทั้งสอง ตรงรอบ ขอบหนังขึ้นหน้าทั้งสองข้าง ถักด้วยหนังตีเกลียวเป็นเส้นเล็ก ๆ เรียกว่า "ไส้ละมาน" สำหรับใช้ร้อยหนังเรียด โยงไปโดยรอบจนหุ้มไม้หุ่นไว้หมด ตอนกลางหุ่นใช้หนังเรียดพันโดยรอบเรียกว่า "รัดอก" หัวตะโพนวางนอนอยู่บนเท้าที่ทำด้วยไม้ ใช้ฝ่ามือซ้าย-ขวา ตี ทั้ง ๒ หน้า <DD>ตะโพนใช้บรรเลงผสมอยู่ในวงปีพาทย์ ทำหน้าที่กำกับจังหวะหน้าทับต่าง ๆ ผู้ที่นับถือพระประคนธรรพ ว่าเป็นครูใหญ่ทางดนตรี ได้ถือเอาตะโพนเป็นเครื่องแทนพระประคนธรรพในพิธีไหว้ครู และถือว่าตะโพนเป็นเครื่องควบคุมจังหวะที่สำคัญที่สุด</DD>

    http://www.bs.ac.th/musicthai/s2.html

    "ดินหน้าตะโพน" คือดินที่ปิดหน้ากลองตะโพน โดยที่หนังกลองทั้งสองข้างนิยมเอาดินละเอียดกับข้าวสุกมาคลุกให้เข้าด้วยกันแล้วปิดเอาไว้ ซึ่งจะทำให้เมื่อตีแล้วมีเสียงทุ้มไพเราะน่าฟัง

    ดินที่นำมาผสมกับข้าวสุกเพื่อปิดหนังหน้ากลองตะโพนนั้น นิยมเอาไปให้อาจารย์ที่มีความรู้ทางวิชาอาคม ผสมของดีทางเมตตามหานิยม และปลุกเสกให้โดยเชื่อกันว่า เมื่อเอาดินผสมข้าวสุกและของดีและปลุกเสกแล้วมาปิดที่หนังหน้ากลองตะโพน เวลาตีจะทำให้มีเสียงไพเราะทำให้คนได้ยินได้ฟังเกิดความหลงใหล และอยากจะดูการละเล่นนั้นๆ เล่ากันว่า สมัยก่อนเมื่อมีการละเล่นจะต้องมีการบรรเลงเครื่องดนตรีเป็นการโหมโรงก่อน เสียงจากการโหมโรงซึ่งมีเสียงกลองตะโพนประกอบอยู่ด้วยนั้น เมื่อใครได้ยินแล้วจะร้อนรุ่มอยู่บ้านไม่ได้ต้องมาดูการละเล่นนั้นๆ

    ตัวอย่างเช่น หลวงพ่อแช่มท่านก็มีคนมาขอให้ท่านปลุกเสกดินที่จะนำไปติดที่หน้ากลองตะโพนอยู่เสมอๆ แม้แต่กลองตะโพนใบใหญ่ของวัดตาก้อง หลวงพ่อแช่มท่านก็เอาดินชนิดนี้ไปปิดที่หน้ากลองด้วย ซึ่งกลองใบนี้ทางวัดจะใช้ตีเวลาทางวัดมีงานหรือตรงกับวันพระ พอตีแล้วเสียงกลองนี้จะได้ยินไปไกล ชาวบ้านพอได้ยินเสียงกลองก็จะพากันมาทำบุญที่วัดกันหลายๆ คน แต่ดินที่ใช้ปิดหน้ากลองตะโพนนี้ เมื่อผ่านไปหลายๆ วันก็จะแห้งและแตกหลุดออกมาจะต้องทำใหม่ปิดอยู่เรื่อยๆ ซึ่งหลวงพ่อแช่มท่านก็รู้ถึงเคล็ดลับทางเมตตามหานิยมของดินหน้าตะโพนชนิดนี้ดี ครั้นเมื่อดินหน้าตะโพนแห้งต้องทำใหม่ ท่านก็จะเก็บของเก่าสะสมเอาไว้เรื่อยๆ จนมีจำนวนมากเพียงพอแล้ว จึงนำเอาดินหน้าตะโพนนั้นมาสร้างเป็นพระเครื่องพิมพ์ขุนแผนโดยหวังผลทางเมตตามหานิยมเป็นหลัก

    แต่ดินหน้าตะโพนชิ้นนี้ เป็นการนำขี้เถ้าหัวโตนด(ยอดสูง) ดินจากพระราชวัง กล้วยนาคจากพระอาจารย์ศิริพงษ์(หนู) วัดสุทธาราม ที่เวลาไปทำพิธีในพระราชวัง ชันโรง ดอกบานไม่รู้โรย และดอกไม้ที่ใช้ในพิธีไหว้ครู คนโบราณถือว่า หากในพิธีไหว้ครูมีดินหน้าตะโพนอยู่ อุปสรรคต่างๆมักไม่เกิด การงานต่างๆจะสำเร็จลุล่วงไปได้ดี ดินติดหน้าตะโพนก็เมตตามหานิยม ดึงดูดผู้คนไดดี...
     
  20. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,443
    ค่าพลัง:
    +141,948
    มีท่านนึง pm มาถามผม


    -------------------------------

    <center>เรื่อง สงวนลิิขสิทธิ์ ครับ

    </center>
    <hr style="color:#FFFFFF; background-color:#FFFFFF" size="1"> เรียน คุณหนุ่ม
    ขอสอบถามเรื่อง "สงวนลิิขสิทธิ์" ยันต์ครอบจักรวาล ครับ
    ยันต์บางส่วน เช่น ยันต์เกราะเพชร เป็น "ลิิขสิทธิ์"
    ของคุณหนุ่มด้วยหรือไม่? ครับ
    ขอบคุณ ครับ

    [​IMG]


    ----------------------------------------------

    ผมตอบไปว่า


    ยันต์เกราะเพชร ผมไม่ได้สงวนลิขสิทธิ์

    แต่ที่ต้องลงคำว่า สงวนลิขสิทธิ์ กันคนนำไปทำลอกเลียนแบบยันต์หลวงปู่สุภาครับ

    .


    อยากตอบเพิ่มเติมครับว่า จริงๆแล้วยันต์เกราะเพชร มีผู้ที่ทำขึ้นมากมาย ที่สำคัญ ผมไม่ได้คิดยันต์เกราะเพชรขึ้น และ ไม่ถูกต้องในการสงวนลิขสิทธิ์ในรูปยันต์เกราะเพชร

    แต่ส่วนยันต์หลวงปู่สุภา พระอาจารย์นิลท่านได้รับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษจากหลวงปู่สุภา ที่หลวงปู่สุภาท่านอนุญาตให้นำยันต์ที่ออกมาสร้างนอกวัด โดยปกติต้องสร้างในวัด

    ผมเองก็เกรงว่า จะมีคนที่นำไปทำ่ลอกเลียนแบบยันต์หลวงปู่สุภา จึงต้องพิมพ์คำว่า สงวนลิขสิทธิ์ไว้ครับ




    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...