พุทธวจน..ไม่มีคำว่า ขนิกสมาธิ อุปจารสมาธิ..

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย เราโตมาคนละแบบ, 23 มกราคม 2017.

  1. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    แต่ในพระไตรปิฏกมี แต่งขึ้นมาใหม่..เอาไงดีล่ะครับ จะเชื่อใครดี ชวนสนทนาธรรมครับ
     
  2. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    หลงฝึกกันแทบตาย..ตำราผิดอีกเห็นไหมครับ
     
  3. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ถ้าไม่มี แล้วทำไม ใครพากันมี..เมื่อมีแล้ว ก็มีไปสิ...อิอิ
    ความจริง มันแค่ ขั้น การแยกลำดับขั้น..ไง...สุดท้าย เมื่อถึงนิพพานเดียวกัน มันก็เลิกเถียงกันเองแหล่ะครับ

    อย่างความจริง พระธรรมที่พระพุทธเจ้า สอนก็มีไม่มาก ....แต่มันมากเพราะ ที่พากันอ่านเรียนมาจาก ลัทธิอื่นๆ มันมีสอนมาก่อนไง...ก็ต้องคุยทำความเข้าใจ ในลัทธิอื่นว่า แต่ละ สภาวะ เขาบัญญัติคำขึ้นมาเรียก ว่าอย่างไร...ไง...
    อย่าง จะมาแยกสภาวะ ของสมาธิ ฌาณ ญาณ...หรือขั้นตอนการทำภาวนากรรมฐาน..มันก็เรียกได้ แยกได้ โดย เพื่อ อ้างอิงกับสิ่งที่เชื่อเดิม เพื่ออะไร เพื่อ เข้าใจให้ได้ เพื่อผ่านให้ได้ เพื่อทิ้ง ปล่อยไป ให้ได้....จะได้เข้าใจมากขึ้น จะได้วางลงได้เยอะขึ้น...จะได้เข้าใจความจริงมากขึ้น...จะได้ละวางสิ่งที่เข้าใจผิดได้เยอะขึ้น

    ทุกขั้นตอน เมื่อ ถึงสุดท้าย ก็ทิ้งหมดเหมือนกัน...ทุกลำเรือ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2017
  4. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,055
    ค่าพลัง:
    +3,471
    มันแล้วแต่ จะ ฉลาดในสมาธิ อะฮับ

    ถ้าเป็นกรณีของ ปู่ฉับฉล ปู่เคยปรารภ อารมณ์สุขตัวนึง ที่ ปู่เคยสัมผัส
    แล้วติดใจ จนกระทั่ง อาสัย ประเด็นความติดใจนั้น เที่ยวแสวงหาทาง
    ทำ เพื่อให้ได้สภาวะ อย่างนั้นอีก ...

    พอไปฟังเทศนา .....คำสอนพระ กรณี สาโทร้านไหน ตรงนั้น ทำให้ปู่สับสน
    เล็งเห็นได้ว่า ขัดใจความอยากได้สภาวะอย่างนั้น จึงจัดเต็มไปพักใหญ่

    เดชะบุญ ปู่ยังพอมี ลาภทางธรรมะ จึงได้ปลิ้นจนไปถึง กลุ่มพุทธวจน จึง
    อาศัย รำงับความอยากได้สภาวะตัวนั้นลงได้ ( เพราะ เป็นอาการ เผลอเพลิน
    ใน ธรรมารมณ์ในอดีต )

    ทีนี้ ถ้า ปู่ฉับฉน ภาวนาก็ดี ฟังธรรมก็ดี สั่งสมสุตะ ก็ดี แล้วเกิด ปิติ
    พึ๊บๆ พั๊บๆ

    พึงทราบ อรรถกถาจารย์ ที่กล่าวอนุเคราะห์ แก่ สัตว์ที่อยากได้สภาวะอัปปนา

    จึงได้อธิบายว่า การจะได้อัปปนา ก็อยู่ที่กำหนดรู้ ผรณาปิติ อันเกิดจาก
    การภาวนาก็ดี ฟังธรรมก็ดี สั่งสมสุตะ ก็ดี ให้กำหนดรู้ ผรณปิติ ที่เกิด
    นั้น แต่วิเวกอยู่( ไม่เกิดอาการ พุ่งไป ทยานอยาก หรือ อาลัยอาวรณ์
    อยากได้อัปปนา)

    ซึ่ง ถามว่า อรรถกาจารย์ ถือวิสาสะ บัญญัติ อัปปนา ขึ้นลอยๆไหม

    อันนี้ ต้องไปอ่าน อรรกถาจารย์จริงๆ ในตำรา อ่านอย่างเป็นกลาง
    จะเห็นว่า อรรกถกาจารย์ จะพยายามบอกว่า ท่านกร่อนธรรมลง
    มาจาก บทว่าด้วยเรื่องอะไร

    เหตุนั้น ในกรณีนี้ อรรกกถาจารย์ก็ ชี้เอาไว้แล้ว ว่า กร่อนมาจาก
    บทธรรมว่าด้วย วิเวก ว่าด้วย พุทธวัจนะ ที่ขึ้นต้นบทด้วย สวิตก สวิจาร
    ( ซึ่งเป็นเรื่อง การพิจารณาแสงสว่าง และ การเห็นรูป และ การเข้าไป
    ในสมาธิ และการเข้าไปเสวนา พร้อมทั้งกำหนดรู้ ........ )

    จะเห็นว่า อรรกกถาจารย์ ท่านไม่ได้ ทำบทใหม่ขึ้นมาลอยๆ ท่านก็
    อิงบท พุทธวัจนะ ของดั้งเดิมเอาไว้ แต่ วิธีการเขียน เชิงอรรถ
    สมัยโบราณ ท่านไม่ได้บอกเป็น หัวข้อ เลขหน้า

    ท่านเป็น มุขปาถะ คือ จดจำด้วย บทบาลี ทั้งดุ้น จึงทำเชิงอรรถไว้
    ด้วย วลีว่า "ก็ว่าด้วย บท ที่ขึ้นต้นด้วย ....... "

    แต่ในแง่นักปฏิบัติ

    เราก็ เอามาสิ ผรณาปิติ เห็นความเกิดดับ ไม่ติดใจ อาลัยอาลัย อาวรณ์
    ไปให้ค่า เป็น เจ้ากรรมนายเวร ฮา อะไรหรือเปล่า

    ถ้าไม่ให้ค่า ผรณปิติ เกิดแต่ วิเวกอยู่ ก็ น้อมเสพให้มากๆ เดี๋ยวจะเห็น
    เอง จิตที่ผลิกเข้า อัปปนา ว๊าบบบบบบบบบ ทั่วจักรวาล แล้วก็ดับ

    ถ้าค้างเติ่งเห็นโน้น เห็นนี้ เห็นพระพุท..... เข้าไปเสวนาด้วย
    แล้ว ฮานาก้า อยู่ใกล้ๆจะประเคนหน้าแข้งให้กระโหลกแตก


    ปล.ลิง ถ้า ปู่ฉับฉน ค้นคำว่า อัปปนา แล้วเจอ พจนาจุกร ฉบับ ประมวลแธม
    กับ ฉบับ อรรกถาจารย์ ....แล้ว พิจารณา คำที่อนุเคราะห์เพื่อการ ปฏิบัติ
    จะเห็นเหมือนผมว่า ภาษาอรรกถาจารย์ มีนัยยะสื่อ การปฏิบัติ มากกว่า
    ฉบับ ประมวลแธม หลงเข้ามา อย่าง มหาศาล
     
  5. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    พุทธะศาสนาสอนให้ ชำระ สะสาง เอา สิ่งที่รู้ผิด(อวิชชา)..ออกให้หมด

    ใครมีเท่าไหร่ เอาออกหมด...ใครจะมีอะไร ก็ช่างเชาเถอะน่า

    แต่เมื่อมาศึกษาพระธรรม มันล้วนเพื่อ เอาออก ให้หมดไงครับ...
     
  6. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    ยังมีอีกเยอะนะ ไม่ใช่แค่สองตัวนี้ ไม่รู้บอร์ดเขาจะให้โพสต์รึปล่าว เรื่องอื้อฉาวระดับ ประเทศ ทำไมไม่มีใครศึกษาเปรียบเทียบแปลก..เอาแต่กีดกัน มันจะทำให้เราเอง เวบเรา เสื่อม เสื่อมลงในวันข้างหน้านะครับ หากมาปิดๆบังๆ
     
  7. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ปล. ภาษไทยวันละคำ..วันนี้ เสนอคำว่า....กร่อนทำ

    กร่อนธรรม..แปลว่า เมื่อผู้เรียนเข้าใจในขั้นตอนทั้งหมดมาแล้ว มาระดับนึง ผู้สอนจะลดทอน หรือข้ามบางขั้นตอนลง เพื่อความสะดวกในการ พูด..สั้นลง เพราะเข้าใจมาแล้ว...ดังนั้นกร่อนธรรม จึงไม่ได้แปลว่า ลดความเข้าใจลง แต่อย่างใด

    เข้าใจตรงกันด้วยนะฮะ
     
  8. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    พระยังมี วัดป่า วัดบ้าน
    สำนักอาจารย์ยังมี แนวใครแนวมัน...พระแนว..ไม่ไช่เด็กแนวนะ...ก็ใครพาอ้างเรื่อง จริตใครจริตมันกันเล่า....พระเลยอ้างด้วยนะอาตมา..(พะนะ)

    ทำไงได้....ไปเรียกร้องที่ไหนดีล่ะ...โน่น คุณก็ฝึกมโนมานึกคิด ไปทูลถวายดีกา ต่อพระพุทธเจ้าที่แดนนิพพานสิครับ....
     
  9. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ปล. พระธรรมความจริง ก็ทำหน้าที่ กร่อนกิเลสตัณหา อวิชชาในจิตคน...นั่นเอง

    ทุกกรรมฐานล้วนเพื่อ...กร่อนธรรม กร่อนอวิชชา กร่อนกิเลสตัณหา..กร่อนจนเหลือเพียง..นิพพาน...จนเหลือเพียง..พุทธะ..

    อิอิ
    ทุกท่านจงพยายาม ก่รอนอวิชชาในตัวเอง ต่อไปนะ..
     
  10. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    เอ... กระทู้นี้จะหาเรื่อง ว่า นิวรณ์...อย่างไรดี..น้า

    อ้อ..รู้แล้ว...ว่านิวรณ์ตรงนี้ดีกว่า...คือ การที่มีอะไร เพิ่มเติมมาในพระไตร...นิวรณ์มันรู้เพราะมันอ่านมาหมดแล้ว(มัน นี่คือ หัวพืชกินได้ชนิดนึง)..นิวรณ์ก็รู้ ว่า มันไม่ถูกต้อง แต่ไม่กล้า ติเตียนหรือตำหนิพระ ตำหนิเจ้า เพราะมองว่า ส่วนดีมีมากกว่าส่วนเสีย(คนทั้งหลายก็มองกันแบบนี้)..ก็เลยวางอุเบกขา ว่าคนดีต้องไม่ตีใคร(กัดใคร)....กลัวมีเรื่องวุ่นวายไส่ตัวเหมือนพระ..เกษมในอดีต..ที่เคยทำ

    ดังนั้นการวางเฉยต่อ การแสดงความคิดเห็นผิดบ้างของพระ นิวรณ์เลย อดทนกล้ำกลืนฝืนทน..มาตลอดระยะเวลาอันยาวนาน ด้วย..เพราะ ตนเองก็หลงเหมือนกัน
    ก็เลย ต้องมีการปล่อยปะละเลย ทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้....เหมือนข่าวทั่วไปของพระระดับตำบลอำเภอ..ที่ทำผิดแต่ ระดับจังหวัด ปล่อยผ่านไง....นิวรณ์มันพาทำแบบนี้แหล่ะ

    กรรมของนิวรณ์มัน....อิอิ
     
  11. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,480
    ค่าพลัง:
    +1,880
    ผมว่า อย่างนี้ครับ....คือ ในเมื่ิอ ผู้ ที่แยก พระพุทธวจนะ กับ คำสาวก ออกจากกันได้ อย่างไม่ยากนัก แสดง ว่า อาจารย์สมัยโบราณ ท่าน ก็ ทำนัย ให้เห็นกัน ฃัดเจน อยู่แล้ว..(ไม่อย่างนั้น ผู้มาแยกทีหลัง จะแยกได้ รึ) ......แสดงว่าอะไร....ก็ แสดงว่า มี ืให้ศึกษา ใน แบบกว้างขวาง ไม่ คับแคบ เพราะ....พระท่านก็ว่า ไว้ ว่า คำสอนที่ โน้มเอียงลาดไปทาง คำสอนที่ว่า ด้วย สุญตา เป็นสิ่งที่ ดี.....แสดงว่า กว้างชวางและ ครอบคลุม ให้ ผู้ศึกษาได้ น้อมนำ มนสิการ ด้วย ตนเอง เท่านั้น:)
     
  12. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ในทัศนะของผมนะ
    ผมไม่เคยอ่าน สูญตา มาหรอกนะครับ...ผมว่า คำว่าสูญตา มันอาจจะมีอยู่ก่อนแล้ว ในการเรียกชื่อของสภาวะจิต ที่ เหล่า ฤาษี พราหมณ์ เขาฝึกกันอยู่ เขาทำกันอยู่...ทีนี้ เมื่อมีคนจำพวกนี้ เปลี่ยนใจมาเป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ท่านก็ย่อมต้องพูดถึง สภาวะสูญตานี้ ด้วย..ผมคิดอย่างนี้นะ

    และในการที่ เขามีการบันทึก ...คำสาวก เพิ่มเติมลง อาจด้วยเพราะ จะได้มีการเปรียบเทียบ ให้คนที่เข้ามาศึกษา ได้เห็นในมุมมองที่แตกต่างระหว่าง คำของสาวก กับของพระศาสดา ว่ามันมีความแตกต่างของ...ระดับปัญญา ระดับพลังงาน การชำระกิเลส ...ให้เห็น เท่านั้นมั้งครับ
     
  13. บุรุษไร้เงา

    บุรุษไร้เงา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มกราคม 2007
    โพสต์:
    8,428
    ค่าพลัง:
    +35,035
    ส่วนตัวมองว่า อยู่ที่ลักษณะวิสัยทางจิต
    ของผู้ที่เขียนครับ และเชื่อว่าเอาต้นฉบับ
    เลยจริงๆคงไม่ใช่แบบที่เรารับรู้กันทุกวันนี้แน่นอนครับ
    และแม้ว่าแต่ละท่านที่เขียนท่านจะมีวิสัยทางจิตอย่างไรก็ตาม
    ท้ายสุดมันก็ยึดไม่ได้เหมือนเดิมนั่นหละครับ
    ดังนั้น อย่าพยายามไปยึดมั่นถือมั่นตัวอักษรบนตำราให้มาก
    แต่ให้เราลองปฏิบัติดูหากเราเห็นว่าที่เราอ่านมามัน
    น่าจะเป็นเส้นทางที่ทำให้เราหลุดพ้นได้
    พอเราปฎิบัติได้เข้าถึงจริงๆแล้ว เราก็มาดูว่า
    เกิดผลกับตัวเรามากน้อยแค่ไหนเท่านั้นก็พอครับ
    หลักสังเกตุ ถ้าปฏิบัติ เราเห็นกิเลสได้มากขึ้นไหม
    เราปล่อยวางเรื่องต่างๆได้ดีขึ้นไหม
    เราคลายความยึดมั่นถือมั่นในเรื่องต่างๆได้ดีขึ้นไหม
    สภาพจิตใจเราดีขึ้นไหม
    ความเข้าใจทางนามธรรมเราดีขึ้นไหม
    เรายอมรับฟังความเห็นที่แตกต่างๆดีขึ้นไหม
    ถ้าเรามีสัมผัสเราก็ดูว่า สัมผัสเราพัฒนาขึ้นเรื่อยๆไหมฯลฯ
    ยกตัวอย่างให้ดูหลักในการสังเกตุครับ
    อย่ามัวเสียเวลาไป วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ ตัวอักษร
    อยู่เลยครับ ส่วนตัวมองว่า เราก็ยังมีการใส่ความเห็น
    ตามโปรแกรมของจิตเราที่ได้รับรู้มาลงไปในตัวอักษร
    อยู่เช่นเดิม ไม่ว่าจะเป็นตำราเล่มไหนๆครับ
    เสียเวลาในการปฏิบัติโดยใช่เหตุครับ
     
  14. ไม่มีเพศ

    ไม่มีเพศ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2016
    โพสต์:
    134
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +66
    มันเป็นชื่อบัญญัติเรียกความละเอียดของจิตในสมาธิแต่ละขั้นรึป่าวคับผม คือถ้าไม่เรียกก็ได้ เน้นว่าสงบปราศจากนิวรณ์ ปัจจุบันผมปฏิบัติแบบทิ้งตำรา ไม่เน้นสะสมสุตตะแบบจขกท.อันนี้แลกเปลี่ยนกันเฉยๆคับผม เช่นผมจะฟังพระอาจารย์พ. ผมเลือกเอาคลิปเดียวที่สำคัญครอบคลุม แล้วฟังซำ้ๆเพื่อจับประเด็น แล้วปฏิบัติตาม เมื่อก่อนผมศรัทธาท่านป.(ยกตัวอย่างนะคับ) ผมก็ติดตามทุกอย่างครับ เก็บรายละเอียด แต่พอปฏิบัติใจความจะมีอยู่นิดเดียว อันนี้แล้วแต่จริตคับ ผมยิ่งรู้มากก็ฟุ้งมากสงสัยมาก
     
  15. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    ปัญหาคือ มันยากกว่าของแท้เขาซิครับ..ของแท้เขาแค่ทิ้งอกุศล ก็เข้าปฐมฌานแล้ว ทิ้งวิตก ก้เข้าตติยฌาน ทิ้งวิจารณ์..ฯล
    :mad:แผนที่มันผิด ทำให้เข้าถึงสมาธิได้ยาก เนิ่นช้า พุทธวจน..ไม่มีบัญญัติคำว่า ขนิกสมาธิ อุปจารสมาธิ ไว้เลย ที่น่าแปลกอย่างยิ่งอีกครั้งคือ ไม่ปรากฏตัวผู้แต่งไว้ด้วย ใครเป็นคนกำหนดคำนี้ ไม่มีบอกไว้อีก มันมั่วมาก พระไตรปิฏกระดับชาติ ของคนทั้งชาตินำมาปฏิบัติ เปรียญ 1-9 ประโยคทั่วประเทศนะครับ
    :oops:แต่หาคนแปล-แต่ง-คำนี้ไม่เจอ..ขนิกสมาธิ-อุปจารสมาธิ เอ้อ..เลยเป็นของพวกแต่งใหม่ ปลอมปน แปลเอง เอาเข้ามาแทรกนี่ไงครับ
     
  16. บุรุษไร้เงา

    บุรุษไร้เงา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มกราคม 2007
    โพสต์:
    8,428
    ค่าพลัง:
    +35,035
    ผมว่าถ้าจะชัวจริงๆ ต้องไปดูต้นฉบับ
    ที่มี ๙ เล่มที่ค้นพบที่ลังกาครับ
    ต้นฉบับแน่ๆ เขื่อว่าผู้บันทึก
    ความสามารถถึงแน่ๆครับ

    กว่าจะถึงปัจจุบันได้
    คิดดูเองแล้วกันครับ
    ส่วนตัวถึงว่ามันยึดอะไรไม่ได้
    เอาว่าถ้าส่วนไหนเราปฎิบัติแล้ว
    มันเกิดผลดีกับเราๆก็ปฎิบัติไปครับ
     
  17. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    ของเรามีครบครับ ไล่ไปถึงพระเจ้าอโศกที่ ร.1-ร.5 ท่านตั้งคณะสงฆ์มาแปลเป็น ฉบับภาษาบาลีสยามรัฐ ไงครับ
     
  18. บุรุษไร้เงา

    บุรุษไร้เงา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มกราคม 2007
    โพสต์:
    8,428
    ค่าพลัง:
    +35,035
    ถามเล่นๆว่าพอรู้ไหมว่า
    ช่วงปลายอยุธยา
    ตำรามีการเพิ่มเติมเรื่องอะไร
    เข้าไปบ้าง ครับ
     
  19. Tboon

    Tboon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    2,094
    ค่าพลัง:
    +3,424
    ถ้าจำไม่ผิด สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ จะมีเรื่องไตรภูมิพระร่วงเข้ามานะครับ
     
  20. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    ถ้าเข้ามาตอนอยุทธยา ก็เป็นคำแต่งใหม่หมดละครับ ไม่ใช่คำ พจ. อภิธรรม 12 บท ยังไม่ใช่คำ พจ.เลยครับ แต่งใหม่หมด ท่านพุทธทาสจึงกล่าวว่าเหลวไหล ท่านไม่สนใจเรียนเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...