เรื่องเด่น มรรค 8 ทางดำเนินชีวิตอันประเสริฐ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย alfed, 15 ตุลาคม 2017.

  1. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    คราวนี้ งูๆปลาๆจะขอตอบคำถามท่าน มจด นะครับว่าธรรมที่ท่านมจดถามนั้นหมายถึงสิ่งใด
    งูๆปลาๆหมายถึงพระธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครับ มี 84000 พระธรรมขันธ์ และชี้แจงว่าในแต่ละธรรมนั้นใช้แตกต่างกันครับ
     
  2. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494

    ดังนั้นเวลาที่งูๆปลาๆจะแสดงธรรมที่ยกมาจากพระสูตรใดๆเป็นเหตุเป็นผลเป็นข้อกล่าวอ้างงูๆปลาๆจะยกเอาพระสูตรนั้นๆที่ท่านได้แสดงไว้ว่าตรัสแก่ใครตรัสอย่างไร มาไห้ได้พิจารณาประกอปไปด้วยครับจะไม่ยกมาเพียงหัวข้อธรรมอย่างเดียว แต่ก้ต้องตามสมควรด้วยนะครับ ส่วนผู้อ่านนั้นจะสามารถเข้าใจในบทความที่งูๆปลาๆสื่อหรือไม่นั้นก้คงแล้วแต่บุคคลไปนะครับว่าตีความได้อย่างไร

    ชัดนะครับ ว่าไปลอกตำรามาลง แล้วให้ตีความกันเอาเอง เวลาถูกถามก็ :D นี่คือธรรม พระธรรมเกิดจากการตีความ
     
  3. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    อ้อ มันเป็นยังงี้นี่เอง เล่นมาทั้ง 84000 หัวข้อเรย
     
  4. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    โอเคร พระธรรม ธรรม

    แล้วที่งูๆปลาๆคิดวาดหวัง ยกมาสิครับ สั้นๆชัดๆ
     
  5. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    คือไม่ต้องการจะสรุปด้วยตนเองไห้นะครับ แต่อยากให้ได้รับรู้สาระในทุกๆส่วนแล้วพิจารณาครับ ส่วนการตีความนั้นเป็นไปตามนั้นจริงที่ว่ามีการตีความที่แตกต่างกันแน่นอน แต่เพราะงูๆปลาๆเข้าใจในตรงนี้ดีครับว่าเมื่อผู้พร้อมรับธรรมได้เห็นธรรมผู้นั้นจะตีความได้ตรงธรรมแน่ๆครับส่วนผู้ยังไม่ใช่โอกาสไม่ใช่วาระเค้าก้จะตีความไปด้วยฐานะแห่งตนเองครับ
     
  6. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    ท่าธรรมสั้นๆที่งูๆปลาๆคิดว่า สมควรยกไห้พิจารณาและทุกอย่างล้วนต้องพิจารณาในสิ่งเดียวกันนี้งูๆปลาๆก้จะขอยกพระธรรมบทนี้แล้วกันนะครับ อนิจจัง ทุขขัง และอนัตตา ครับ เพราะว่า อวิชาเป็นปัจจัยแห่งสังขาร และสิ่งเหล่านั้นที่เกิดด้วยอวิชาจึงต้องตกอยู่ใต้กดของไตรลักษณ์ครับ และสามารถรู้เห็นได้เข้าใจได้โดยง่ายครับ
     
  7. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    ส่วนผู้อ่านนั้น จะสามารถเข้าใจในบทความ ที่งูๆปลาๆสื่อหรือไม่นั้น ก้คงแล้วแต่บุคคลไปนะครับว่าตีความได้อย่างไร

    ตรงนี้ชัดแล้วครับ คือ พูดๆไปบ้าง ลงบทความยาวๆจากพระสูตรมาบ้าง แล้วก็ให้ผู้อ่านตีความกัน ตีความได้ยังไง นั่นแหละธรรม พระธรรม

    ก็เหมือนกับคุณนพ พูดๆไป จิตบ้าง ตัวจิตบ้าง ฯลฯ ให้ผู้อ่านตีความกันเอง ตีได้ยังไง นั่นแหละธรรม พระธรรม :):D
     
  8. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    อ๋อใช่แน่นอนครับ แต่อย่าลืมนะครับว่าการชี้ให้นั้น ไม่ใช่การบอกผลสรุปให้แต่ชี้ให้เพื่อให้ผู้รับเห็นเองเกิดธรรมวิจะยะเอง และเกิดปัญญาเอง หากกระบวนการต่างๆตรงนี้ไม่เกิด ไม่ทราบเหมือนกันครับว่าจะบอกไปทำไมเพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเองก้บอกไว้ชัดอยุ่แล้ว แต่สิ่งที่ไม่ได้เห็นเองนั้นก้เพราะขาดการไตร่ตรองและพิจารณาตามไปครับ ดังนั้นตรงนี้งูๆปลาๆตั้งใจไห้เกิดกระบวนการตรงนี้จริงครับแต่ไม่ใช่เพราะแค่อยากจะเอาพระธรรมบังหน้าเป็นโล่ป้องกันว่าถุกต้องหรอกนะครับเพราะถูกผิดจะเกิดจากการไตร่ตรองของผู้ฟังเอง
     
  9. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    ได้ข้อสรุป ธรรม พระธรรม จาก งูๆปลาๆแล้ว ว่าเกิดจากการตีความ ถ้าคนมีบุญแต่ปางก่อนแล้วก็ตีความธรรมได้ แต่ไม่มีบุญแต่ปางก่อนส่งมาเกิด ก็ตีไม่ตรงความ ตรงธรรม
     
  10. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    คงจะไม่ใช่อย่างนั้นซะทีเดียวนะครับทั้งกรรมในอดีตและกรรมในปัจจุบันล้วนเป็นส่วนประกอป แต่เหตุปัจจัยวาระ ที่ว่างูๆปลาๆจะเป็นผู้ตอบคำถามในใจนั้นจะใช่งูๆปลาๆหรือเค้าต้องรอเหตุปัจจัยอื่นนั้นงูๆปลาๆไม่อาจทราบได้จึงรู้ไว้อยู่แล้วว่า บุยวาสนาเราอาจไม่ได้ตรงกันเพื่อมาแก้ไขสิ่งใดๆให้กันก้เป็นได้ครับ แล้วเรามาสนทนาธรรมกันก้ด้วยยกข้อธรรมมาคุยกัน เห็นเหมือนกันหรือต่างกันก้เป็นด้วยแต่ละบุคคลจะพิจารณาครับ จึงไม่ได้สำคัญว่าจะต้องเห็นตามๆกันไป
     
  11. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    เอาแระเริ่มไม่มั่นใจความคิดตนเองแระ
     
  12. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    คงจะไม่ใช่ในแบบที่ ท่าน มจด ตีความแน่ๆครับ ยังไงวันนี้เราก้ได้สนธนากันแล้วชี้แจงไปหมดแล้วดังนั้นเรื่องนี้ก้จบเท่านี้ครับส่วนท่าน มจดเห็นอย่างไรก้เป็นไปตามการไตร่ตรองด้วยปัญญาของท่านมจดเองงุๆปลาๆไปบังคับอาไรท่านไม่ได้หรอกครับ ขอให้เจริญในธรรมครับ ขออภัยที่พิมไม่ค่อยถูกด้วยครับ
     
  13. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    งูๆปลาๆว่าธรรม พระธรรม เกิดจากการตีความจากบทความเต็มๆสูตรของผู้อ่านเอง ตกลงคุณจะเปลี่ยนใจไปจากเดิมไหมขอรับ มจด.ให้เปลี่ยนได้ จิตเกิดดับๆ อิอิ
     
  14. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    อ.นพ ก็ธรรมะ พระธรรมตีความเอา แต่นี่ตีความจาก คคห.ที่ตนพล่ามไปตามอารมณ์ แถมมีขู่เล็กๆ จากผู้คัดค้าน คิกๆๆ มจด.กัวจนท้องผูกเรย
     
  15. งูๆปลาๆ

    งูๆปลาๆ นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2017
    โพสต์:
    563
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +412
    พระธรรมคือพระธรรมตรัสไว้ดีแล้ว การตีความเองของผู้อ่าน เกิดด้วยตัวฐานะของผู้อ่านเองไม่อาจไปเปลี่ยนความหมายของพระธรรม แต่ตัวผู้อ่านเองแต่ละบุคคลอยู่ในฐานะที่แตกต่างกันที่จะเข้าใจพระธรรม ไม่ได้แปลอย่างที่ท่าน มจดเข้าใจ งูๆปลาๆได้อทิบายไปทุกประการแล้วส่วนท่าน มจด หากจะยกเอาการตีความของท่านอย่างไรให้รู้ชัดๆไว้ด้วยว่าเป็นธรรมวิจยะของท่านไม่ใช่ความหมายใดๆที่งูๆปลาๆสื่อ ของมาจากจิตของท่านเอง
     
  16. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    สติปัฏฐานสี่ คือ เป็นทางสายเอกทำให้มรรค บริบูรณ์

    สติสัมปชัญญะ เป็นธรรมที่มีอุปการะมาก

    การอยู่กับรู้ อยู่ด้วยสติสัมปชัญญะ ทำให้เราเห็นความจริง เข้าใจความจริงเกี่ยวกับกาย ใจ หรือ รูปนาม

    อุบายผู้ที่ฝึกสติปัฏฐานสี่ เพื่อให้เกิดฉันทะ ความพอใจ เกิดความยินดีในธรรมฐานของสติทั้ง ๔ ฐาน. เกิดความศรัทธา. เมื่อมีความพอใจเกิดขึ้นแก่คนแล้ว ย่อมยังประโยชน์ให้เกิดความพากเพียร. ก่อเป็นอุปนิสัย วาสนาบารมีตลอดไป.

    สติปัฏฐานสี่จะเป็นธรรมคอยเกื้อหนุนให้รู้รูปนาม รู้อารมณ์ รู้กาย รู้เวทนา รู้จิตเข้าใจจิต รู้ธรรมเห็นธรรม

    อุบายสำหรับฝึกเบื้องต้น(ผู้ฝึกใหม่)

    ๑.กาย. คือ. อยู่กับการรู้ตัว หรือ รู้สึกตัว รู้การเคลื่อนไหวทุกอริยาบถ รู้การเคลื่อนร่างขณะไหวกาย รู้ลักษณะท่าทางของร่างกายว่าอยู่ในลักษณะใด ลองนั่งสมาธิแล้วหลับตา เราจะเห็นรูปร่าง อวัยวะอยู่ในลักษณะใด เป็นการรู้ด้วยตาใน หรือ รู้ด้วยความรู้สึก เห็นตลอดทั้งร่าง สามารถกำหนดท่าทางลักษณะของร่างกายว่าจะให้มีลักษณะเป็นเช่นไร เช่น หลังตรง กำหนดลักษณะการเดิน ยืน นั่ง การพูด การยิ้ม การคุยได้ รู้ตลอด

    เมื่อทำอย่างนี้บ่อยๆ จนเคยชิน แสดงว่าเรามีสติสัมปชัญญะอยู่กับฐานกาย หากทำเป็นนิสัยได้เรื่อย ๆ ตลอด ก็เป็นวาสนาบารมี เกิดชาติใหม่ผู้ที่จะเป็นผู้ที่พร้อมด้วยสติสัมปชัญญะ เมื่อถึงพร้อมด้วยสติการเคลื่อนร่างกาย ย่อมเคลื่อนไหวด้วยอาการเนิบนิ่ง สง่างามทุกการเคลื่อนไหว จะเป็นแรงประทับใจต่อผู้พบเห็น เพราะการมีสติระลึกรู้ตัว ย่อมทำให้ตัวตนมีลักษณะเด่นชัดในสายตายของคนอื่น ใครเห็นก็จำได้ เพราะความที่สติคมชัดย่อมเป็นแรงดึงดูดใจ มากกว่าการที่สติเลื่อนลอย ฟุ้งซ่าน พาให้ไม่มีแรงประทับ และสามารถพิสูจน์ได้ในชาตินี้ทีเดียว

    ๒.เวทนา. สติที่เวทนา. เวทนา คือ การรู้สึกสุข ทุกข์ ที่เกิดขึ้นในจิตใจ หรือ ตัว อารมณ์ดี อารมณ์ร้าย สองสิ่งนี้จะทำให้กายภายในเป็นไปตามอารมณ์ เวทนาภายในนี้อแหละที่เป็นตัวสร้าง หน้าตาของเราให้ดูดีน่ามอง หรือ ไม่น่ามอง บุคคลที่มีจิตใตงดงาม. ยิ้มแย้มแจ่มใส น่ามองน่าชมมากกว่าคนที่หน้าบึ้ง ล้วนมาจากเวทนา เราสามารถฝึกกำหนดระลึกรู้เวทนาให้มีความสุขปิติได้ด้วยตนเอง ระลึกเห็นเวทนาและอารมณ์ตนเองบ่อย. ๆ ผู้ที่มีใจปิติเบิกบานอยู่เสมอ สั่งสมจนเป็นนิสัยวาสนา เกิดใหม่ย่อมมีหน้าตางดงาม เหมือนดั่งใจตนที่สั่งสมไว้

    ๓. จิต ในส่วนของการปรุงแต่งความรู้สึกนึกคิด ความคิดที่ดีและไม่ดี ย่อมก่อเกิดเป็นนิสัยที่สร้างความสุข และ ความทุกข์ให้แก่ตน ตนจะรับสุขหรือทุกข์ ก็อยู่ที่นิสัยแห่งการคิด เมื่อหมั่นดูแลจิต ดูความคิดของตนแต่ในทางที่ดีแล้ว เกิดใหม่ย่อมเป็นคนนิสัยดี สรัางอุปนิสัยที่ดีใหัแก่ตน. ใครๆก็อยากอยู่ใกล้ชิด อยู่ด้วยรู้สึกอุ่นใจเพราะใครต่อใครเขาก็รู้ว่า เราจะไม่ทำให้เขาร้อนใจอย่างแน่นอน หมั่นระลึกรูัและเห็นความคิดในจิตใจ หมั่นดูแลและลดละนิสัย ก็จะเป็นวาสนาบารมีในการรู้จิตความคิดตน. การระลึกรู้นี้คือฐานจิต สามารถกำหนดนิสัยให้ตนเองได้

    ๔.ธรรม. ฐานนี้อยู่ที่กำลังสมาธิ และ กำลังปัญญาที่รู้เห็นกายใจตามเป็นจริง และสามารถนำไปใช้ ลดละปล่อยวางได้ เป็นคุณต่อตนเองทั้งทางโลกและทางธรรม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ตุลาคม 2017
  17. สาสนี

    สาสนี Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2015
    โพสต์:
    197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    3
    ค่าพลัง:
    +210
    เมื่อเราฝึกจนเป็นวาสนาบารมีแล้ว จะติดตามเราไปทุกภพชาติ ทำให้เรารู้รูป. รู้นาม เมื่อรู้เห็นรูปนามเข้าใจตามความเป็นจริงก็จะเกิดสติปัญญาแห่งมรรค

    การระลึกรู้ฐานทั้งสี่ ย่อมยังประโยชน์ต่อกรรมทั้งสาม

    ๑.รู้กาย คือ การสั่งสมสติสัมปชัญญะแก่ตน ผู้มีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ. ย่อมยังประโยชน์ต่อตนเองทั้งทางโลกและทางธรรม

    ๒.รูัเวทนา คือ รู้ทั้งเวทนานอก และ เวทนาใน

    เวทนานอก คือ ผัสสะที่กระทบกับบุคคลอื่นแล้วเราสามารถควบคุมอารมณ์ได้

    เวทนาใน คือ เวทนาที่เกิดภายในตนเอง ไม่มีคู่กรณีผัสสะจากบุคคบอื่นมากระทบ ทำให้เรารู้ความจริงที่อยู่ภายในตนเองว่ามันเกิดขึ้นได้เอง ทำสามารถนำมาพิจารณาให้เกิดปัญญาได้ ว่ามันไม่ใช่ตัวตนของเรามันเกิดขึ้นตามเหตุ และทำให้เรารู้ว่ามันเกิดขึ้นมาเองได้อย่างไร เพราะอะไรเป็นปัญญาธรรมทำให้เรารู้กายใจนี้

    ๓.รู้จิต จิตภายนอก จิตภายใน ที่ปรุงแต่งเป็นทั้งกุศล และ อกุศล

    กุศลที่เกิดจากเจตนา

    อกุศลที่เกิดทั้งเจตนา และ ไม่เจตนา

    เจตนาเราก็หมั่นระลึกรู้...เพราะเหตุใด? เพราะมีปัจจัยแห่งผัสสะกระทบหรือไม่?

    แล้วถ้าไม่เจตนาล่ะ ส่วนใหญ่เกิดจากอะไร? ทั้งๆ ที่เราไม่อยากให้มันเกิดมันทำไมถึงเกิดได้เอง. โดยที่เราควบคุมให้มันเป็นอย่างที่เราต้องการไม่ได้ มันล้วนมีเหตุเกิด

    อกุศลที่เกิดจากไม่เจตนาส่วนใหญ่แล้วล้วนมาจากมาร ถ้าเราพิจารณาดูแล้วก็คือ อภิสังขารมาร . ขันธมาร กิเลสมาร เทวบุตมาร นี้เอง สิ่งนี้เมื่อนำมาพิจารณาจนรู้ทำให้เราเข้าใจตามจริง นี้เป็นปัญญา

    ๔.รู้ธรรม ผู้ใดมีสติที่ฐานจิตนิ่ง จิตมัฌชิมาได้ ผู้นั้นย่อมเห็นธรรมตามจริง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ตุลาคม 2017
  18. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    ฮูๆปลาๆ ตามตีความ # 56-57 คิกๆๆ
     
  19. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    ฮูๆปลาๆ เสียเวลาเปล่าครับ คือคุณคิดเกินสติเกินกำลังปัญญาตนเอง มจด.ขอแนะนำให้กลับไปเริ่มต้นทำบุญพื้นๆเอา เช่น ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า (ถ้าเป็นประธานไม่ไหว ก็เป็นกรรมการเอา :D) ปิดทองฝังลูกนิมิต ถวายสังฆทาน ตักบาตรพระ-เณรตอนเช้าๆ ปล่อยสัตว์น้ำสัตว์บก แค่นี้ก็ได้บุญแล้วครับ อย่างอื่นๆก็ทำหน้าที่เลี้ยงดูบุคคลภายในครอบครัวไป อย่าเพิ่งไปอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาเลย คิดไปฟุ้งซ่านเปล่าๆ :)
     
  20. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    ดูหลักที่พูดถึงกันบ้อยบ่อยหน่อย แต่ยังไม่ใช่แค่นี้ ยังต้องไปลงมือฝึกหัดพัฒนาอีก ไปทำภาวนามัยอีกต่อหนึ่ง

    สติ ความระลึกได้, นึกได้, ความไม่เผลอ, การคุมใจไว้กับกิจหรือกุมจิตไว้กับสิ่งที่เกี่ยวข้อง, จำการที่ทำและคำที่พูดแล้วแม้นานได้


    สติปัฏฐาน ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ, ข้อปฏิบัติมีสติเป็นประธาน, การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง, การมีสติกำกับดูสิ่งต่างๆ และความเป็นไปทั้งหลายโดยรู้เท่าทันตามสภาวะของมัน ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้าย ที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี ๔ อย่าง
    คือ
    ๑. กายานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณากาย, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันกายและเรื่องทางกาย

    ๒. เวทนานุปัสสนา สติปัฏฐาน
    การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนา

    ๓. จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันจิตหรือสภาพและอาการของจิต

    ๔. ธัมมานุปัสสนา สติปัฏฐาน
    การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรม, การมีสติกำกับดูรู้เท่าทันธรรม (ธัมมารมณ์)

    เรียกสั้นๆว่า กาย เวทนา จิต ธรรม



    ธรรมารมณ์ อารมณ์คือธรรม, สิ่งที่ถูกรับรู้ทางใจ, สิ่งที่รู้ด้วยใจ, สิ่งที่ใจรู้สึกนึกคิด


    อารมณ์ เครื่องยึดหน่วงของจิต,สิ่งที่จิตยึดหน่วง, สิ่งที่ถูกรู้หรือถูกรับรู้ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์


    อานาปานสติ/อานาปานัสสติ สติกำหนดลมหายใจเข้ากับลมหายใจออก


    ธัมมุทธัจจะ/ธรรมุธัจจ์ ความฟุ้งซ่านด้วยสำคัญผิดในธรรม คือ ความฟุ้งซ่านเนื่องจากเกิดวิปัสสนูปกิเลสอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นแล้วสำคัญผิดว่าตนบรรลุธรรมคือมรรคผลนิพพาน เป็นต้น จิตก็เลยคลาดเขวออกไป เพราะความฟุ้งซ่านนั้น ไม่เกิดปัญญาที่จะเห็นไตรลักษณ์ได้จริง
     

แชร์หน้านี้

Loading...