ขอเชิญร่วมทำบุญสร้างอุโบสถล้านนา หลังแรกในรอบ ๗๐๐ ปี-รับบริจาควัตถุมงคลต่างๆบรรจุใต้ฐานพระฯ

ในห้อง 'พระพุทธรูป - วิหารทาน - สิ่งก่อสร้าง' ตั้งกระทู้โดย Phra Kroo Palat Thana Thorn, 5 กันยายน 2016.

  1. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    วัดโบราณ อายุ700กว่าปี ยังไม่มี อุโบสถ เชิญร่วมทำบุญ สร้างอุโบสถหลังแรก *รับบริจาค พระพุทธรูปเก่าใหม่ วัตถุมงคลต่างๆ รูปหล่อเกจิ เหรียญเกจิ เครื่องรางของขลัง ต่างๆ บรรจุใต้ฐานโบสถ ฐานพระประธาน ฐานลูกนิมิต ทั้ง9ลูก* เปิดรับบริจาคอย่างต่อเนื่อง ไปจนกว่าจะสร้างอุโบสถเสร็จจนถึงตัดลูกนิมิตฯ ‍♂️(ขาดปัจจัยก่อสร้างอยู่อีกจำนวนมาก)‍♂️

    กระทู้รับบริจาค อิฐ หิน ดิน ทราย ปูน เหล็ก สร้างอุโบสถ ล้านนา กดครับ!

    http://palungjit.org/threads/บุญชำระหนี้สงฆ์-รับบริจาค-อิฐ-หิน-ปูน-ทราย-เหล็กฯ-สร้าง-อุโบสถล้านนา.637384/



    ***บุญสร้างโบสถ์ หาทำยาก บุญหนักศักดิ์ใหญ่ ที่วัดนี้ไม่เคยมีอุโบสถมาก่อนเลย ถึง 700 กว่าปี***(เปิดรับบริจาควัตถุต่างๆบรรจุใต้ฐานโบสถ ฐานพระประธานอุโบสถ หลุมลูกนิมิต ทั้ง 9 ลูก รับบริจาค วัตถุมงคลต่างๆ ของโบราณ ของมีค่า พระพุทธรูป เก่า ใหม่ เหรียญเกจิอาจารย์ พระผง พระเนื้อดิน ผงว่าน เครื่องประดับโลหะต่างๆเงินทองนาถ ที่ชำรุด ไม่ได้ใช้ วัตถุมงคลทุกชนิด แก้ว แหวน เงิน ทอง เครื่องสังคะโลก เครื่องใช้โบราณ อาทิ วัตถุโลหะต่างๆ ที่ทำมาจาก เงิน ทอง นาถ ทองเหลือง ของโบราณ ตกทอด วัตถุของใช้ต่างๆ ที่เป็นโลหะ ทุกชนิด ของทนสิทธิ์ต่างๆ หิน แก้ว โปร่งขาม หรือหินพระธาตุ อันเป็นวัตถุควรค่าแก่แผ่นดินธรรม ยั้งรากฐานประกาศพระศาสนาไว้กับพื้นแผ่นดิน ใต้ดินใต้บาดาล)

    ***(ประชาสัมพันธ์ งานบุญ งานมหากุศล สร้างอุโบสถล้านนา ที่มีอานิสงส์มาก สูงส่งด้วยอำนาจ วาสนา มหาบารมี มีบุญล้นฟ้า ถึงผู้มีบุญ บุญบารมี มีกำลังทรัพย์ มีแรงศรัทธา อันยิ่งใหญ่ เป็นเจ้าภาพ สร้างอุโบสถล้านนา ถวายไว้ในพระพุทธศาสนา เป็นหลังแรก ของวัด วัดมีโบราณสถาน วิหารไม้ ที่เก่าแก่ อายุถึง 700 กว่าปี ปัจจุบันนี้ วัดไม่มีอุโบสถ และขาดเจ้าภาพหัวเรือใหญ่ ที่จะเริ่มขึ้นงานลงวางแผนผังขึ้นโครงสร้างหลักๆฐานอุโบสถ)***
    ขอเรียนเชิญผู้มีจิตศรัทธาหน้าบุญทุกท่าน ร่วมมหาบุญ มหาบารมีที่ยิ่งใหญ่ ขอเชิญท่านเศรษฐีใจบุญ นายทุนใจดี คหบดี ผู้มีบุญบารมีทั้งหลาย และเจ้าของกิจการ ห้างร้าน บริษัท พนักงาน ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ ญาติธรรมทั้งหลาย ร่วมทำบุญ มหากุศล ร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา และรับบริจาควัตถุมงคลต่างๆอาทิ พระพุทธรูป เหรียญเกจิอาจารย์ พระผง พระเนื้อดิน ผงว่าน เครื่องประดับโลหะต่างๆเงินทองนาถ ที่ชำรุดเสียหาย ของวัตถุมงคลทุกชนิด แก้ว แหวน เงิน ทอง เครื่องสังคะโลก เครื่องใช้โบราณ อาทิ วัตถุโลหะต่างๆ ที่ทำมาจาก เงิน ทอง นาถ ทองเหลือง ของโบราณ ตกทอด วัตถุของใช้ต่างๆ ที่เป็นโลหะ ทุกชนิด เชิญร่วมบริจาคถวายบรรจุใต้ฐานพระประธานใหญ่อุโบสถล้านนา ถวายไว้กับแม่ธรณี แผ่นดินไทย เมืองพุทธ มีองค์พญานาคปกปักรักษาไว้ ซึ่งจะทำการว่างศิลาฤกษ์เป็นมหามงคล ในวันเสาร์ ที่ 22 เดือนตุลาคม พ.ศ.2559 เปิดรับบริจาคไปเรื่อยๆจนกว่าจะปิดฐานพระประธานอุโบสถ โดยจะเริ่มบรรจุไปเรื่อยๆ จนกว่าจะสร้างฐานชุกชี แท่นแก้ว ประดิษฐาน พระประธานเสร็จ หากท่านใดมีจิตศรัทธา จะร่วมทำบุญ จัดส่งวัตถุมงคลๆ มาร่วมบรรจุฯก็สามารถจัดส่ง ขึ้นมา ตามที่อยู่นี้ วัดทุ่งอ้อหลวง เลขที่ 30 ม.3 ต.หารแก้ว อ.หารแก้ว จ.เชียงใหม่ 50230 หรือโทร.094-496-3333 , 053-023260 หรือร่วมทำบุญ สร้างพระ อุโบสถ ได้ที่ ธนาคารธนชาติ เลขที่ 461-2-01217-0 สาขาหางดง ชื่อบัญชี วัดทุ่งอ้อหลวง (สร้างอุโบสถ) และ ธนาคารไทยพาณิชย์ เลขที่ 408 - 489071- 4 สาขาหางดง ชื่อบัญชี วัดทุ่งอ้อ เพื่อสร้างอุโบสถ เป็นโบราณสถาน มีพระวิหารไม้โบราณ มีอายุถึง 700 กว่าปี มีโบราณสถานและวัตถุโบราณที่เก่าแก่ ปัจจุบันนี้ ยังไม่มี พระอุโบสถไว้สร้างพระภิกษุ ที่ต้องการมาบวช เพื่อศึกษาพระธรรม ที่สำคัญสุด ไว้เป็นสถานที่ที่พระสงฆ์ไปชุมนุมกันเพื่อทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ ปาราชิก ๔ สังฆาฑิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัค<wbr>คียปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕ รวม ๒๒๗ ข้อ จึงเชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพ ว่างแผ่นศิลาฤกษ์มหามงคล กองบุญละ 4,999 บาท ประกอบด้วย แผ่นศิลาฤกษ์ ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ก้อนอิฐเงิน-ทอง ตะกรุดมหาอุด แผ่นดวงโภคทรัพย์ วัตถุมงคล พลอยสี เจ้าภาพสำคัญภายในวัดเนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำ สังฆกรรมซึ่งแต่เดิมในการทำสังฆกรรมของ พระภิกษุสงฆ์จะ ใช้เพียงพื้นที่โล่ง ๆ ที่กำหนดขอบเขตพื้นที่สังฆกรรมโดยการกำหนดตำแหน่ง“สีมา” เท่านั้น แต่ในปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากขึ้น อีกทั้งภายใน พระอุโบสถมักประดิษฐานพระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์สำคัญ ๆ ทำให้มีผู้มาสักการบูชาและร่วมทำบุญเป็นจำนวนมาก พระอุโบสถจึงถูกสร้าง ขึ้นเป็นอาคารถาวรและมักมี การประดับตกแต่งอย่างสวยงาม และยังมีอีกมีหลายความหมาย คือ หมายถึง

    • สถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมทำสังฆกรรมตามพระวินัย เรียกตามคำวัดว่า อุโบสถาคาร บ้าง อุโบสถัคคะ บ้าง แต่เรียกโดยทั่วไปว่า โบสถ์
    • การเข้าจำ คือการรักษาศีล ๘ ของอุบาสก อุบาสิกา ในวันขึ้นและแรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ เรียกว่า รักษาอุโบสถ และรักษาอุโบสถศีล
    • วันพระหรือวันฟังธรรมของคฤหัส วันขึ้นและแรม ๘ ค่ำ ๑๕ ค่ำ ซึ่งเป็นวันที่คฤหัสถ์รักษาอุโบสถกัน เรียกว่า วันอุโบสถ
    • วันที่พระสงค์ลงฟังพระปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือน เรียกว่าวันอุโบสถ
    • การสวดพระปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือนหรือทุกวันอุโบสถของพระสงฆ์ เรียกว่า การทำอุโบสถ

    ก่อนที่จะมาเป็นโบสถ์ที่ถูกต้องตามพระวินัยจะต้องมีสังฆกรรมที่เรียกว่า ผูกสีมา หรือ ผูกพัทธสีมาก่อน อนึ่ง คำว่าอุโบสถ มีรากศัพท์มาจากภาษาบาลีคือ "อุปะ" แปลว่า การเข้าถึง สนธิกับ "โอสถ" ซึ่งแปลว่า ยาแก้โรค ดังนั้น จึงมีความหมายถึง การเข้าถึงยาแก้โรค อันแสดงให้เห็นว่าการมาอุโบสถก็คือการได้เข้าถึงธรรมะอันเป็นยาแก้โรคกิเลส นั่นเอง


    วัดที่ไม่มีอุโบสถ์เป็นวัดที่สมบูรณ์หรือไม่?

    ตาแฉล่มกับตาฉลวยคู่กัดประจำหมู่บ้านอีโละโคะกำลังเถียงกันหน้าดำหน้าแดง เรื่องโบสถ์กับอุโบสถว่าเหมือนกันหรือต่างกัน ตาแฉล่มแกยืนกรานว่า “เขาเรียกโบสถ์กันมาตั้งแต่ปู ย่า ตา ทวดแล้ว ข้ายังไม่เห็นใครเขาเรียกว่า อุโบสถเลย” (สงสัยแกจะเป็นคนรุ่นเก่าจริง ๆ) ส่วนตาฉลวยกล่าวว่า “เขาเรียกกันว่าอุโบสถ แต่ถ้าจะให้ถูกต้องเรียกว่า พระอุโบสถ เพราะเป็นที่อยู่ของพระพุทธเจ้า (พระพุทธรูป) แก ไม่เคยเห็นกราดงานบวชหรือไง เขาพิมพ์ว่าโบสถ์หรืออุโบสถ เขาพิมพ์แต่อุโบสถทั้งนั้น มีแกคนเดียวที่เรียกว่าโบสถ์ เรียกว่าโบสถ์ก็ไม่ผิด แต่มันเป็นคำเรียกย่อ ๆ แต่ที่ถูกต้องมันต้องเรียกว่า อุโบสถ” เป็นอันว่าผู้อาวุโส ๒ คน ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมกัน ก็ปล่อยให้แกเถียงกันไปก็แล้วกัน เดี๋ยวแกเหนื่อยแกก็หยุดเองแหละ
    คำว่า “โบสถ์” เป็นคำที่ชาวบ้านส่วนใหญ่เรียก แต่ชื่อเต็ม ๆ เรียกว่า “อุโบสถ” หมายถึง สถานที่ที่พระสงฆ์ไปชุมนุมกันเพื่อทำสังฆกรรม ซึ่งมีเรื่องที่ต้องพูดถึงเช่นกัน ขอให้ดูเรื่องที่จะนำเสนอต่อไปนี้
    ๑. อุโบสถกับพระอุโบสถต่างกันอย่างไร ผู้ อ่านคงได้อ่านขอถกเถียงระหว่างตาแฉล่มกับตาฉลวยไปแล้วนะครับ โดยความหมายแล้วอุโบสถกับพระอุโบสถไม่ต่างกัน เพราะหมายถึง สถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมกันทำสังฆกรรมเหมือนกัน แต่ใช้แตกต่างกัน อุโบสถ ใช้กับวัดราษฎร์ หมายถึง วัดที่ประชาชนทั่วไปสร้างไว้ ส่วนพระอุโบสถ ใช้กับวัดหลวง หมายถึง วัดที่พระเจ้าแผ่นดินหรือเชื้อพระวงศ์ทรงสร้างขึ้น หรือวัดที่มีความสำคัญในด้านต่าง ๆ เช่น มีเจดีย์สำคัญ เป็นต้น แล้วยกขึ้นเป็นวัดหลวง
    ๒. วัดที่ไม่มีโบสถ์หรืออุโบสถจะเป็นวัดที่สมบูรณ์หรือไม่ ความ จริงเรื่องมีหรือไม่มีโบสถ์ไม่ใช่เป็นเรื่องสำคัญอะไรสำหรับวัด เพราะวัดเป็นสถานที่ฝึกหัด อบรม กาย วาจาใจของคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์แบบ ดูตัวอย่างของวัดป่า (อรัญญวาสี) บาง วัดก็ไม่มีโบสถ์ แต่การมีโบสถ์เป็นเรื่องของความจำเป็นทางด้านพระวินัยของพระสงฆ์ เนื่องจากสังฆกรรมหรือกิจของพระสงฆ์ตามพระธรรมวินัยบางอย่าง เช่น การบรรพชาอุปสมบท เป็นต้น ต้องทำในโบสถ์ ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีเขตแดน (สีมา) บ่งชัดว่า บริเวณนี้เป็นสถานที่ที่พระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้แก่พระสงฆ์ (พระราชทานวิสุงคามสีมา) แต่ ถ้าวัดใดไม่มีก็ไม่ถือว่าเป็นเรื่องไม่สมบูรณ์ แต่ถ้ามุ่งเอาค่านิยมในสังคมไทยก็จะได้ข้อสรุปว่าวัดที่มีโบสถ์หรืออุโบสถ ที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาและผ่านการฝังลูกนิมิตเรียบร้อยแล้วเป็นวัด ที่สมบูรณ์
    เรื่องความสมบูรณ์ของวัดถ้าไม่ได้มุ่งไปที่หลักของพระวินัย (สังฆกรรม) แล้ว ความสมบูรณ์ของวัดน่าจะอยู่ตรงที่ว่าเหมาะสมกับการเป็นที่อยู่อาศัยของพระสงฆ์หรือไม่ (อาวาสสัปปายะ) และ ที่เอื้อประโยชน์ต่อการปฏิบัติธรรมได้มากน้อยแค่ไหน ถ้ามุ่งไปที่วัดกับสังคมก็จะได้ข้อสรุปว่าวัดสามารถให้ประโยชน์ต่อปัจเจกชน และชุมชนมากน้อยขนาดไหน ดังนั้น ความสมบูรณ์ของวัดตามทัศนคติของผู้เขียนจึงอยู่ที่ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น มากกว่าความสมบูรณ์ของวัตถุ



    สารบัญ บทสวดพระปาฏิโมกข์

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="682"><tbody><tr><td colspan="2" height="59">
    </td></tr><tr> <td align="center" height="43"> 1.gif บทสวด บุพพกรณ์และบุพพกิจ </td> <td align="center"> 1.gif บทสวด ปาจิตตีย์ ๙๒ </td> </tr> <tr> <td align="center" height="40" width="352"> 1.gif บทสวดนำ พระภิกขุปาฏิโมกข์</td> <td align="center" width="330"> 1.gif บทสวด ปาฏิเทสนีย์ ๔ </td> </tr> <tr> <td align="center" height="37"> 1.gif บทสวด ปาราชิก ๔ </td> <td align="center"> 1.gif บทสวด เสขิยวัตร ๗๕ </td> </tr> <tr> <td align="center" height="43"> 1.gif บทสวด สังฆาทิเสส ๑๓ </td> <td align="center"> 1.gif บทสวด อธิกรณสมถะ ๗ </td> </tr> <tr> <td align="center" height="40"> 1.gif บทสวด อนิยต ๒ </td> <td align="center"> 1.gif การนับพระภิกษุ </td> </tr> <tr> <td align="center" height="40"> 1.gif บทสวด นิสสัคคียปาจิตตีย์ ๓๐ </td> <td align="center"> 1.gif คำขอโอกาสแสดงพระภิกขุปาฏิโมกข์</td> </tr> </tbody></table>

    aaaaa.gif

    FWmail.gif อุโบสถขันธกะ (หมวดว่าด้วยอุโบสถ)
    พระเจ้าพิมพิสารจอมทัพแคว้นมคธ เห็นนักบวชลัทธิอื่นประชุมกันกล่าวธรรม ในวัน ๑๔ ค่ำ, ๑๕ ค่ำ, และ ๘ ค่ำ แห่งปักษ์
    มีคนไปฟังธรรม มีความรัก ความเลื่อมใส ทำให้นักบวชเหล่านั้นมีผู้เข้าเป็นฝักฝ่าย
    ทรงปรารภจะให้ภิกษุในพระพุทธศาสนาทำอย่างนั้นบ้าง จึงเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค กราบทูลพระราชดำรินั้น
    พระผู้มีพระภาคก็ทรงอนุมัติ ประทานพระพุทธานุญาตให้ภิกษุทั้งหลายประชุมกันในวัน ๑๔ ค่ำ, ๑๕ ค่ำ และ ๘ ค่ำ แห่งปักษ์.
    ครั้งแรกภิกษุทั้งหลายประชุมกัน แต่นั่งนิ่ง ๆ ชาวบ้านจะฟังธรรมก็ไม่ได้ฟัง จึงติเตียน
    พระผู้มีพระภาคจึงทรงอนุญาตให้ประชุมกันเพื่อกล่าวธรรม.
    FWmail.gif การสวดปาฏิโมกข์เป็นอุโบสถกรรม
    พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริว่า สิกขาบทที่ทรงบัญญัติแก่ภิกษุทั้งหลาย
    ควรอนุญาตให้สวดเป็นปาฏิโมกข์นั้นจักเป็นอุโบสถกรรม คือการทำอุโบสถของภิกษุเหล่านั้น.
    จึงทรงบัญญัติตามที่ทรงพระดำรินั้น และทรงแสดงวิธีสวดปาฏิโมกข์ เริ่มต้องแต่กิจเบื้องต้น.
    FWmail.gif ข้อกำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับปาฏิโมกข์
    ๑. ภิกษุทั้งหลายสวดปาฏิโมกข์ทุกวัน ตรัสห้ามและปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ทำเช่นนั้น. ทรงอนุญาตให้สวดเฉพาะวันอุโบสถ

    ๒. ภิกษุทั้งหลายสวดปาฏิโมกข์ ๓ ครั้ง ต่อ ๑ ปักษ์ (กึ่งเดือน) คือในวัน ๑๔ ค่ำ, ๑๕ ค่ำ, และ ๘ ค่ำ,
    ตรัสห้ามและปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ทำเช่นนั้น. ทรงอนุญาตให้สวดปาฏิโมกข์เพียงครั้งเดียวต่อ ๑ ปักษ์ คือในวัน ๑๔ ค่ำ
    หรือ ๑๕ ค่ำ

    ๓. ภิกษุฉัพพัคคีย์สวดปาฏิโมกข์เฉพาะในพวกของตน. ตรัสห้ามและปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ทำเช่นนั้น.
    ทรงอนุญาตให้ทำอุโบสถโดยพร้อมเพรียงกัน

    ๔. ภิกษุทั้งหลายสงสัยว่า จะกำหนดเขตพร้อมเพรียงกันในอาวาสหนึ่งหรือถือเขตแผ่นดินทั้งผืน
    ตรัสให้ใช้อาวาสเดียวกันเป็นเขตสามัคคี

    ๕. พระมหากัปปินะ (ผู้เป็นพระอรหันต์) คิดว่าท่านบริสุทธิ์อยู่แล้ว จะควรได้ทำอุโบสถสังฆกรรมหรือไม่
    พระผู้มีพระภาคทรงทราบ จึงตรัสตอบว่า ถ้าเธอไม่สักการะ เคารพ นับถือ บูชาอุโบสถแล้ว ใครเล่าจะทำเช่นนั้น.
    และตรัสสั่งให้ไปทำอุโบสถสังฆกรรม

    ๖. ภิกษุทั้งหลายสงสัยว่า อาวาสเดียวกันนั้น กำหนดอย่างไร จึงทรงอนุญาตให้สมมติ คือประกาศสีมา (เขตแดน) โดยกำหนดภูเขา,
    ก้อนหิน, ป่าไม้, ต้นไม้, หนทาง, จอมปลวก, แม่น้ำหรือแอ่งน้ำ เป็นเครื่องหมาย (นิมิต)
    แล้วทรงแสดงวิธีสวดสมมติสีมาด้วยเครื่องหมายเหล่านั้น

    ๗. ภิกษุฉัพพัคคีย์สมมติสีมา (ประกาศเขตแดน) ใหญ่เกินไป ๔ โยชน์บ้าง ๕ โยชน์บ้าง ๖ โยชน์บ้าง.
    ภิกษุทั้งหลายมาพอดีสวดปาฏิโมกข์ก็มี สวดจบแล้วก็มี กำลังสวดอยู่ก็มี จึงทรงห้ามสมมติสีมาใหญ่เกินไป
    ทรงปรับอาบัติทุกกฏแก่ผู้ฝ่าฝืน แล้วทรงอนุญาตให้สมมติสีมาอย่างใหญ่เพียง ๓ โยชน์

    ๘. ภิกษุฉัพพัคคีย์สมมติสีมาริมฝั่งแม่น้ำ ภิกษุที่มาทำอุโบสถถูกน้ำพัด บาตรจีวรถูกน้ำพัด
    จึงตรัสห้ามสมมติสีมาเช่นนั้น ทรงอนุญาตใหทำได้ต่อเมื่อมีเรือจอดอยู่เป็นประจำ หรือมีสะพานทอดอยู่เป็นประจำ

    ๙. ภิกษุทั้งหลายสวดปาฏิโมกข์ตามบริเวณ ไม่มีที่สังเกต. ภิกษุที่เป็นอาคันตุกะ (ผู้มาจากที่อื่น)
    ไม่รู้ว่าทำอุโบสถกันที่ไหน จึงทรงอนุญาตให้สมมติโรงอุโบสถทำอุโบสถ จะเป็นวิหาร (กุฎีที่อยู่อาศัย) หรือ เพิง
    หรือปราสาท (เรือนเป็นชั้น หรือเรือนโล้น (หลังคาตัด) หรือถ้ำ ก็ได้

    ๑๐. ภิกษุทั้งหลายสมมติโรงอุโบสถ ๒ แห่งในอาวาสเดียวกัน. ตรัสห้ามและตรัสแนะให้สวดถอนโรงอุโบสถเสียหลัง ๑
    คงให้ใช้เพียงหลังเดียว

    ๑๑. ภิกษุทั้งหลายสมมติโรงอุโบสถเล็กเกินไป มีพระมาประชุมมาก บางรูปต้องนั่งนอกเขต. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    เป็นอันทำอุโบสถ และได้ตรัสแนะให้กำหนดเครื่องหมาย (นิมิต) แล้วประชุมสงฆ์สวดสมมติหน้ามุข
    อุโบสถขยายให้ใหญ่ออกไปตามต้องการ

    ๑๒. ภิกษุบวชใหม่มาประชุมก่อนในวันอุโบสถ นึกว่าพระเถระคงยังไม่มา จึงกลับไป. กว่าจะได้ทำอุโบสถก็กลางคืน
    จึงตรัสอนุญาตให้ภิกษุที่เป็นเถระมาประชุมก่อนในวันอุโบสถ

    ๑๓. มีวัดหลายวัดในเขตสีมาเดียวกัน ภิกษุทั้งหลายต่างวัดต่างทำอุโบสถ. พระผู้มีพระภาคจึงทรงให้รวมทำแห่งเดียวกัน
    ไม่ให้แยกกันทำ

    ๑๔. ตรัสอนุญาตให้สมมติสีมา เป็นเขตอยู่ร่วมกัน ทำอุโบสถร่วมกัน โดยให้เป็นเขตไม่อยู่ปราศจากไตรจีวร
    (ภายในเบริเวณสีมานั้น ไปไหนได้ไม่ต้องนำจีวรติดตัวไปด้วยครบสำรับ) และให้สมมติเว้นเขตบ้านและละแวกบ้าน
    (เพื่อไม่ให้เก็บจีวรไว้ในบ้าน)

    ๑๕. ตรัสอนุญาตว่า เมื่อสวดถอน (เลิกใช้) ให้ถอนเขตอยู่ปราศจากไตรจีวรก่อนแล้ว ถอนเขตอยู่ร่วมกันทีหลัง

    ๑๖. ถ้ายังมิได้สมมติสีมา ให้ใช้หมู่บ้านหรือนิคมที่อยู่นั้นเป็นคามสีมาและนิคมสีมาได้
    แล้วอนุญาตให้ใช้เขตพ้นระยะน้ำสาดถึง ในแม่น้ำเป็นอุทกุกเขปสีมา (เขตวักน้ำสาด) เป็นเขตลอยเรือหรือแพ
    หรือปลูกโรงทำอุโบสถได้กลางแม่น้ำ ทะเลหรือสระน้ำ แต่ไม่อนุญาตแม่น้ำ ทะเล หรือสระน้ำทั้งหมดเป็นเขต (สีมา)

    ๑๗. ตรัสห้ามมิให้สมมติสีมาคาบเกี่ยวกัน ให้มีชานของสีมา

    ๑๘. ตรัสอธิบายว่า วันอุโบสถ ๑๔ ค่ำก็มี ๑๕ ค่ำก็มี (กลางเดือนเป็น ๑๕ ค่ำ ปลายเดือนเป็น ๑๔ ค่ำบ้าง ๑๕ ค่ำบ้าง
    สุดแต่เดือนขาด เดือนเต็ม)

    ๑๙. ตรัสอธิบายหลักเกณฑ์เรื่องสวดปาฏิโมกข์ย่อ เมื่อมีเหตุสมควร ๑๐ อย่างเกิดขึ้น

    ๒๐. ภิกษุที่จะกล่าวธรรมต้องได้รับเชื้อเชิญ ทรงอนุญาตให้พระเถระกล่าวธรรมเอง หรือเชิญภิกษุอื่นกล่าวธรรม

    ๒๑. ตรัสอนุญาตให้มีการสมมติผู้ถามพระวินัย และผู้ตอบพระวินัย

    ๒๒. ตรัสอนุญาตให้ขอโอกาสก่อน แล้วจึงโจทอาบัติ

    ๒๓. ในการทำกรรมเป็นการสงฆ์ ทรงอนุญาตให้ค้านได้ ให้แสดงความคิดเห็นได้ อธิษฐานในใจว่าไม่เห็นด้วย
    ในเมื่อคนเดียวค้านเข้าจะยุ่งยาก

    ๒๔. ตรัสห้ามมิให้แกล้งสวดปาฏิโมกข์มิให้ผู้อื่นได้ยิน ถ้ามีเสียงผิดปกติและพยายามแล้ว ไม่เป็นอาบัติ

    ๒๕. ตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์โดยมีคฤหัสถ์ปนอยู่ในบริษัท

    ๒๖. ภิกษุผู้มิได้รับเชื้อเชิญ ตรัสห้ามมิให้สวดปาฏิโมกข์ ทรงอนุญาตให้พระเถระเป็นใหญ่ในเรื่องปาฏิโมกข์
    (จะสวดเองหรือให้ใครสวดก็ได้)

    ๒๗. พระเถระสวดเองไม่ได้ จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้ฉลาด สามารถเป็นใหญ่ในเรื่องปาฏิโมกข์

    ๒๘. พระทั้งวัดไม่สามารถสวดปาฏิโมกข์ได้ ให้ส่งภิกษุรูปหนึ่งไปเรียนจากอาวาสใกล้เคียง จะโดยย่อหรือโดยพิสดารก็ตาม
    ให้พระเถระเป็นผู้ใช้ไป ผู้ถูกใช้ขัดขืนในเมื่อไม่ป่วยไข้ ต้องอาบัติทุกกฏ

    ๒๙. ตรัสอนุญาตให้เรียนปักขณนา (การคำนวณปักษ์) ได้ทุกรูป เพื่อบอกดิถีแก่คนทั้งหลายได้

    ๓๐. ตรัสอนุญาตให้เรียกชื่อ ให้จับสลากเพื่อนับจำนวนภิกษุในวันอุโบสถ

    ๓๑. ตรัสอนุญาตให้ปัดกวาด, ปูอาสนะ, ตามประทีป, ตั้งน้ำดื่มน้ำใช้ในโรงอุโบสถ โดยให้พระเถระเป็นผู้สั่งการ

    ๓๓. ตรัสห้ามภิกษุที่จะไปที่อื่นโดยไม่บอกลาอุปัชฌาย์หรืออาจารย์, ให้อุปัชฌายะหรืออาจารย์สอบสวนว่าจะไปไหน ไปกับใคร
    ถ้าเห็นไม่สมควรก็ไม่ให้อนุญาต ถ้าไม่อนุญาต ขืนไป ต้องอาบัติทุกกฏ

    ๓๔. ภิกษุผู้ทรงความรู้ ประพฤติตนดีมา ให้ต้อนรับด้วยดี ถ้าไม่ต้อนรับ ต้องอาบัติทุกกฏ

    ๓๕. ถ้าไม่มีใครสวดปาฏิโมกข์ได้เเลย และไม่สามารถจะส่งใครไปเรียนวิธีสวด ห้ามอยู่จำพรรษาร่วมกับภิกษุเหล่านั้น
    ถ้าขืนอยู่ ต้องอาบัติทุกกฏ

    ๓๖. ภิกษุเป็นไข้ ตรัสให้บอกความบริสุทธิ์แก่ภิกษุรูปหนึ่ง เพื่อนำไปบอกแก่สงฆ์. ถ้าไม่มีผู้รับไปบอก
    ให้นำขึ้นเตียง ขึ้นตั่ง หามไปทำอุโบสถ. ไม่ให้ทำอุโบสถแยกกัน ถ้าให้เคลื่อนที่ อาพาธอาจกำเริบหรืออาจถึงมรณภาพ
    ให้สงฆ์ไปทำอุโบสถที่ภิกษุรูปนั้น. แล้วตรัสให้ภิกษุผู้รับบอกปาริสุทธิต้องไปบอกแก่สงฆ์ให้จงได้ ถ้าไปไม่ได้เอง
    ให้มอบหมายผู้อื่นบอกแทน

    ๓๗. ในสังฆกรรมอื่นจากอุโบสถ ถ้าภิกษุเป็นไข้ ตรัสอนุญาตให้มอบฉันทะ และมีเงื่อนไขคล้ายอุโบสถ (ฉันทะคือความพอใจ
    มอบให้สงฆ์ทำกรรมไปโดยตนไม่ต้องร่วมด้วย)

    ๓๘. ในวันอุโบสถ ถ้ามีสังฆกรรมอื่นด้วย ตรัสอนุญาตให้ภิกษุผู้บอกความบริสุทธิ์นั้นบอกให้ฉันทะด้วย

    ๓๙. ภิกษุถูกญาติจับตัว ถูกคนอื่น ๆ จับตัวไม่สามารถมาร่วมทำอุโบสถได้ ให้เจรจาขอตัวมาทำอุโบสถ ถ้าเจรจาไม่สำเร็จ
    ให้นำออกให้พ้นเขตสีมา เพื่อให้สงฆ์ทำอุโบสถ ห้ามทำอุโบสถทั้งที่มีภิกษุอื่นอยู่ในเขตสีมา แต่มิได้เข้าร่วมประชุม

    ๔๐. ถ้าในอุโบสถหรือสังฆกรรมอื่นมีภิกษุเป็นบ้า
    ให้สงฆ์สวดสมมติเพื่อจะได้ทำอุโบสถหรือสังฆกรรมอื่นโดยไม่มีเธออยู่ด้วย

    ๔๑. พระมี ๔ รูป ตรัสอนุญาตให้สวดปาฏิโมกข์, ถ้ามี ๓ รูป หรือ ๒ รูป ให้ประชุมกันบอกความบริสุทธิ์แก่กันและกัน
    เรียกว่าปาริสุทธิอุโบสถ. ถ้ามีรูปเดียว ให้ปัดกวาดสถานที่คอยภิกษุอื่น เมื่อไม่เห็นมาให้อธิษฐาน คือตั้งใจระลึกว่า
    วันนี้เป็นวันอุโบสถ ถ้าไม่ทำ ต้องอาบัติทุกกฏ

    ๔๒. มิให้ทำอุโบสถทั้งที่ยังมีอาบัติ ให้แสดงอาบัติก่อนแล้วจึงทำอุโบสถ
    ถ้าสงสัยในอาบัติก็ให้บอกแก่ภิกษุรูปหนึ่งก่อน

    ๔๓. ห้ามภิกษุที่ต้องอาบัติเหมือน ๆ กัน แสดงอาบัติเช่นนั้นแก่กัน (สภาคาบัติ) ถ้าแสดงหรือรับต้องอาบัติทุกกฏ

    ๔๔. ถ้าระลึกได้ว่ายังมีอาบัติอยู่ หรือสงสัยว่าจะต้องอาบัติใด ๆ ในขณะฟังปาฏิโมกข์
    ให้บอกแก่ภิกษุที่อยู่ใกล้เพื่อรับทราบไว้ เมื่อเสร็จอุโบสถจะได้ทำคืน

    ๔๕. ถ้าสงฆ์ต้องอาบัติในเรื่องเดียวกัน (สภาคาบัติ) ทั้งวัด ให้ส่งพระรูปหนึ่งไปแสดงที่วัดอื่น ถ้าไม่มีวัดใกล้เคียง
    ให้ไปกลับภายใน ๗ วัน เพื่อหาที่แสดงอาบัติของส่วนรวม

    ๔๖. ถ้าสงฆ์ทั้งวัดต้องอาบัติเรื่องเดียวกัน แต่ไม่รู้ชื่อหรือต้นเค้าแห่งอาบัติ
    ให้สอบถามภิกษุผู้รู้วินัยที่เดินทางมาพัก แล้วแสดงคืนเสีย แต่ถ้าได้ไต่ถามพูดจากันแล้ว
    ภิกษุทั้งหลายยังไม่ยอมแสดงอาบัติ (เพราะยังไม่เชื่อ เป็นต้น) ก็ให้ปล่อยไว้ ไม่ต้องว่ากล่าว

    ๔๗. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขในการทำอุโบสถที่ไม่ต้องอาบัติเกี่ยวกับไม่รู้ว่ายังมีภิกษุอื่นอยู่อีก จึงทำอุโบสถไปก่อน
    รวม ๑๕ ข้อ

    ๔๘. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขในการทำอุโบสถที่ทำด้วยบริสุทธิ์ใจ แต่ก็รู้ว่ายังมีภิกษุอื่นอีก ยังมิได้มาทำอุโบสถ
    คงปรับอาบัติทุกกฏเฉพาะภิกษุผู้สวด รวม ๑๕ ข้อ

    ๔๙. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขในการทำอุโบสถ (เหมือนข้อ ๔๘) แต่สงสัยว่าจะเป็นการควรหรือไม่ แล้วขืนสวดปาฏิโมกข์
    คงปรับอาบัติทุกกฏเฉพาะผู้สวด รวม ๑๕ ข้อ

    ๕๐. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขในการทำอุโบสถ (เหมือนข้อ ๔๙) แต่สงสัยว่าจะเป็นการควรหรือไม่ แล้วขืนสวดปาฏิโมกข์
    คงปรับอาบัติเฉพาะผู้สวด รวม ๑๕ ข้อ

    ๕๑. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขในการทำอุโบสถ (เหมือนข้อ ๕๐) แต่มุ่งให้แตกแยกกัน แล้วขืนสวดปาฏิโมกข์. ปรับอาบัติถุลลัจจัย
    (แรงกว่าทุกกฏ) แก่ภิกษุผู้สวด รวม ๑๕ ข้อ

    ๕๒. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขแบบต้น ๆ ระหว่างภิกษุที่อยู่ประจำวัดกับภิกษุที่อยู่ประจำวัด,
    ระหว่างภิกษุที่อยู่ประจำวัดกับภิกษุอาคันตุกะ, ระหว่างภิกษุอาคันตุกะกับภิกษุที่อยู่ประจำวัด
    และระหว่างภิกษุอาคันตุกะ กับอาคันตุกะ รวม ๗๐๐ ข้อ

    ๕๓. แล้วทรงแสดงเงื่อนไขการนับวันอุโบสถ ๑๔ ค่ำ หรือ ๑๕ ค่ำ
    ที่ภิกษุอยู่ประจำวัดกับภิกษุอาคันตุกะมีความเห็นแตกต่างกัน ให้อนุโลมตามภิกษุข้างมาก เป็นต้น อีกหลายร้อยข้อ

    ๕๔. ในที่สุดทรงแสดงหลักการที่มิให้ผู้ไม่สมควรนั่งรวมอยู่ด้วยในการสวดปาฏิโมกข์ ในวันอุโบสถ รวม ๒๒ ข้อ
    ที่ไม่ให้สวดปาฏิโมกข์ เช่น มีนางภิกษุณีนั่งอยู่ด้วย เป็นต้น.

    ( หมายเหตุ: การลำดับเลขแต่ ๑ ถึง ๕๔ ข้อนี้ ลำดับเอาเองเพื่ออ่านเข้าใจง่าย
    ถ้าจะลำดับให้พิสดารตามที่ทรงบัญญัติทุกข้อ ก็คงจะถึงจำนวนพันข้อ).


    FWmail.gif การสวดปาฏิโมกข์
    เหตุจำเป็นที่ต้องเลิกสวดปาฏิโมกข์
    การสวดปาฏิโมกข์ เป็นทั้งสังฆกรรมตามพระวินัย และเป็นกิจสงฆ์ที่สำคัญอย่างหนึ่ง ผู้ที่บวชในพระพุทธศาสนา
    ควรมีโอกาสได้ร่วมฟัง
    ใน วินัยระบุว่า วัดหนึ่งจะต้องมีภิกษุสวดปาฏิมกข์ได้หนึ่งรูป หากไม่มีเจ้าอาวาสต้องขวนขวายให้มี
    หากไม่ขวนขวายเป็นอาบัติ ถ้าขวนขวายแล้วยังไม่มี พอถึงวันปาฏิโมกข์ต้องไปร่วมฟังในวัดที่มีการสวดปาฏิโมกข์
    ถ้าในย่านนั้นไม่มีวัดที่มีภิกษุสวดปาฏิโมกข์ หรือมีภิกษุไม่ครบ ๔ รูป ไม่ต้องสวดปาฏิโมกข์ แต่ให้อธิษฐานอุโบสถแทน
    โดยตั้งใจว่า " วันนี้เป็นวันอุโบสถ"
    ใน ระหว่างที่มีการสวดปาฏิโมกข์ ผู้ที่จะอยู่ในที่ประชุมสงฆ์ได้ต้องเป็นภิกษุเท่านั้น
    ไม่มีเหตุจำเป็นจะหยุดสวดปาฏิโมกข์ในระหว่างไม่ได้ เหตุจำเป็นที่ทำให้ต้องหยุดสวดปาฏิโมกข์มี ๑๐ อย่าง คือ
    ๑. พระราชาเสด็จมา ให้เลิกสวดปาฏิโมกข์เพื่อจะรับเสด็จได้
    ๒. โจรมาปล้น เลิกสวดปาฏิโมกข์เพื่อหนีภัยได้
    ๓. ไฟไหม้ เลิกสวดปาฏิโมกข์เพื่อไปดับไฟได้
    ๔. น้ำหลากมา เลิกสวดปาตฏิโมกข์เพื่อหนีน้ำได้ ถ้าสวดกลาง แจ้ง เกิดฝนตกในระหว่าง เลิกได้เหมือนกัน
    ๕. คนมามาก เลิกสวดปาฏิโมกข์ เพื่อไปต้อนรับปฏิสันถาร
    ๖. ผีเข้าภิกษุ เลิกสวดปาฏิโมกข์ เพื่อขับผีออกจากภิกษุ
    ๗. สัตว์ร้ายเช่น เสือ เป็นต้น เข้ามาในอาราม เลิกสวดปาฏิโมกข์เพื่อไล่สัตว์ได้
    ๘. งูร้ายเลื้อยเข้ามาในที่ชุมนุม ก็เหมือนกัน
    ๙. ภิกษุอาพาธด้วยโรคร้ายขึ้นในที่ชุมนุมสงฆ์ อันจะเป็นอันตรายแก่ชีวิต เลิกสวดปาฏิโมกข์เพื่อช่วยแก่ไขได้
    ถ้ามีเหตุอันจะเป็นอันตรายเกิดขึ้นในที่นั้นก็หยุดได้
    ๑๐. มีอันตรายแก่พรหมจรรย์ เช่น มีใครมาเพื่อจับภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ให้เลิกสวดปาฏิโมกข์ เพราะความสับสนอลหม่าน
    จากบทความนี้ อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในความจริงว่า
    หากมีเหตุ 10 ประการนี้ให้เลิกสวดปาฏิโมกข์ แต่แท้จริงแล้วเป็นอย่างนี้...
    FWmail.gif ทรงห้ามสวดปาติโมกข์ย่อ
    สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายทราบว่า พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตการสวดปาติโมกข์ย่อ ดังนี้
    จึงสวดปาติโมกข์ย่อทุกครั้ง. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาค
    รับสั่งห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงสวดปาติโมกข์ย่อ รูปใดสวด ต้องอาบัติทุกกฏ.

    FWmail.gif ทรงอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อเมื่อมีอันตราย
    สมัยต่อมา ณ อาวาสแห่งหนึ่งในโกศลชนบท คนชาวดงได้มาพลุกพล่านในวันอุโบสถ.
    ภิกษุทั้งหลายไม่อาจสวดปาติโมกข์โดยพิสดาร จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มี
    พระภาคทรงอนุญาตแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อมีอันตราย เราอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อ.
    FWmail.gif อันตราย ๑๐ ประการ
    สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์ แม้เมื่ออันตรายไม่มี ก็สวดปาติโมกข์ย่อ. ภิกษุทั้งหลายจึง
    กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาครับสั่งห้ามภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    เมื่อไม่มีอันตราย ภิกษุไม่พึงสวดปาติโมกข์ย่อ รูปใดสวด ต้องอาบัติทุกกฏ.
    เมื่อมีอันตราย เราอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อ.
    อันตรายในเรื่องนั้นเหล่านี้ คือ
    ๑. พระราชาเสด็จมา
    ๒. โจรมาปล้น
    ๓. ไฟไหม้
    ๔. น้ำหลากมา
    ๕. คนมามาก
    ๖. ผีเข้าภิกษุ
    ๗. สัตว์ร้ายเข้ามา
    ๘. งูร้ายเลื้อยเข้ามา
    ๙. ภิกษุอาพาธหนักจะถึงเสียชีวิต
    ๑๐. มีอันตรายแก่พรหมจรรย์
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อในเพราะอันตรายเห็นปานนี้ เมื่อไม่มี
    อันตราย ให้สวดโดยพิสดาร.

    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๔
    พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ข้อที่ ๑๖๗ หน้าที่ ๑๘๒-๑๘๓
    **** ให้สวดย่อ ไม่ใช่ให้เลิกสวด...
    FWmail.gif อธิษฐานอุโบสถ
    สมัยต่อมา ในอาวาสแห่งหนึ่ง ถึงวันอุโบสถ มีภิกษุอยู่รูปเดียว จึงภิกษุนั้นได้มีความ
    ปริวิตกว่า พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตให้ภิกษุ ๔ รูป สวดปาติโมกข์ ให้ภิกษุ ๓ รูปทำปาริสุทธิ-
    อุโบสถแก่กัน ให้ภิกษุ ๒ รูป ทำปาริสุทธิอุโบสถ ก็เรามีอยู่เพียงรูปเดียว จะพึงทำอุโบสถ
    อย่างไรหนอ. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาค. พระผู้มีพระภาครับสั่งกะภิกษุ
    ทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอาวาสแห่งหนึ่ง ถึงวันอุโบสถ มีภิกษุในศาสนานี้อยู่รูปเดียว.
    ภิกษุนั้นพึงกวาดสถานที่เป็นที่ไปมาแห่งภิกษุทั้งหลาย คือจะเป็นโรงฉัน มณฑป หรือโคนต้นไม้
    ก็ตาม แล้วตั้งน้ำฉัน น้ำใช้ ปูอาสนะ ตามประทีปไว้ แล้วนั่งรออยู่. ถ้ามีภิกษุเหล่าอื่นมา
    พึงทำอุโบสถร่วมกับพวกเธอ ถ้าไม่มีมา พึงอธิษฐานว่า วันนี้เป็นวันอุโบสถของเรา ถ้าไม่
    อธิษฐาน ต้องอาบัติทุกกฏ.
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอาวาสที่มีภิกษุอยู่ด้วยกัน ๔ รูป จะนำปาริสุทธิของภิกษุรูปหนึ่ง
    มาแล้ว ๓ รูปสวดปาติโมกข์ไม่ได้ ถ้าขืนสวด ต้องอาบัติทุกกฏ.
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอาวาสที่มีภิกษุอยู่ด้วยกัน ๓ รูป จะนำปาริสุทธิของภิกษุรูปหนึ่ง
    มาแล้ว ๒ รูปทำปาริสุทธิอุโบสถไม่ได้ ถ้าขืนทำ ต้องอาบัติทุกกฏ.
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในอาวาสที่มีภิกษุอยู่ด้วยกัน ๒ รูป จะนำปาริสุทธิของภิกษุรูปหนึ่ง
    มาแล้วอีกรูปหนึ่งอธิษฐานไม่ได้ ถ้าขืนอธิษฐาน ต้องอาบัติทุกกฏ.

    พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๔
    พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑
    ข้อที่ ๑๘๕ หน้าที่ ๒๐๑-๒๐๒

    a.3720746.jpg



    a.3720747.jpg




    a.3720756.jpg


    a.3720757.jpg


    a.3720758.jpg



    a.3726340.jpg

    a.3720759.jpg


    a.3726341.jpg


    a.3726342.jpg

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 65.jpg
      65.jpg
      ขนาดไฟล์:
      38.6 KB
      เปิดดู:
      1,615
    • 56.jpg
      56.jpg
      ขนาดไฟล์:
      98.4 KB
      เปิดดู:
      1,281
    • 7.jpg
      7.jpg
      ขนาดไฟล์:
      158.4 KB
      เปิดดู:
      1,154
    • 80795809.jpg
      80795809.jpg
      ขนาดไฟล์:
      210.5 KB
      เปิดดู:
      1,176
    • 80795812.jpg
      80795812.jpg
      ขนาดไฟล์:
      210.1 KB
      เปิดดู:
      1,177
    • pr37.jpg
      pr37.jpg
      ขนาดไฟล์:
      151.1 KB
      เปิดดู:
      1,061
    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      126 KB
      เปิดดู:
      1,008
    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      80.7 KB
      เปิดดู:
      1,063
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      67.2 KB
      เปิดดู:
      946
    • 99.jpg
      99.jpg
      ขนาดไฟล์:
      82.2 KB
      เปิดดู:
      154
    • 999.jpg
      999.jpg
      ขนาดไฟล์:
      115.8 KB
      เปิดดู:
      132
    • 9999.jpg
      9999.jpg
      ขนาดไฟล์:
      78.3 KB
      เปิดดู:
      177
    • 999999.jpg
      999999.jpg
      ขนาดไฟล์:
      89.6 KB
      เปิดดู:
      188
    • a.3720746.jpg
      a.3720746.jpg
      ขนาดไฟล์:
      38.6 KB
      เปิดดู:
      181
    • a.3720747.jpg
      a.3720747.jpg
      ขนาดไฟล์:
      98.4 KB
      เปิดดู:
      179
    • a.3720756.jpg
      a.3720756.jpg
      ขนาดไฟล์:
      158.4 KB
      เปิดดู:
      183
    • a.3720757.jpg
      a.3720757.jpg
      ขนาดไฟล์:
      210.5 KB
      เปิดดู:
      149
    • a.3720758.jpg
      a.3720758.jpg
      ขนาดไฟล์:
      210.1 KB
      เปิดดู:
      193
    • a.3726340.jpg
      a.3726340.jpg
      ขนาดไฟล์:
      126 KB
      เปิดดู:
      159
    • a.3720759.jpg
      a.3720759.jpg
      ขนาดไฟล์:
      151.1 KB
      เปิดดู:
      124
    • a.3726341.jpg
      a.3726341.jpg
      ขนาดไฟล์:
      80.7 KB
      เปิดดู:
      124
    • a.3726342.jpg
      a.3726342.jpg
      ขนาดไฟล์:
      67.2 KB
      เปิดดู:
      179
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กุมภาพันธ์ 2018
  2. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขอเปิดกองบุญ รับบริจาควัตถุมงคลต่างๆพระพุทธรูป เหรียญเกจิ พระผง ของทนสิทธิ์ ของมงคลต่างๆวัตถุโบราณต่างๆเพื่อมา บรรจุใต้ฐานพระประธานอุโบสถทรงล้านนา
     
  3. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขออนุโมทนา ขอบคุณ คุณกนภพล วงค์ไทย ที่ได้ร่วมจัดส่งวัตถุมงคลต่างๆ มาร่วมบรรจุใต้ฐานพระประธาน พระพุทธรูปโบราณอันศักดิ์สิทธิ
    "พระเจ้างามเริงวาจาสิทธิ์" บรรจุใต้ฐานแท่นชุกชีพระอุโบสถล้านนา โบราณ จำนวนหนึ่งกล่อง


    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      81 KB
      เปิดดู:
      2,457
    • 232.jpg
      232.jpg
      ขนาดไฟล์:
      141.5 KB
      เปิดดู:
      2,525
    • 6558.jpg
      6558.jpg
      ขนาดไฟล์:
      162 KB
      เปิดดู:
      2,539
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 16 กันยายน 2016
  4. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขออนุโมทนา ขอบคุณ คุณอัครพงศ์ แก้วบุญเรือง ที่ได้ร่วมจัดส่งวัตถุมงคลต่างๆ มาร่วมบรรจุใต้ฐานพระประธาน พระพุทธรูปโบราณอันศักดิ์สิทธิ์
    "พระเจ้างามเริงวาจาสิทธิ์" บรรจุใต้ฐานแท่นชุกชีพระอุโบสถล้านนา โบราณ จำนวนหนึ่งกล่อง



    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      77.4 KB
      เปิดดู:
      2,386
    • 232.jpg
      232.jpg
      ขนาดไฟล์:
      141.5 KB
      เปิดดู:
      2,387
    • 3693.jpg
      3693.jpg
      ขนาดไฟล์:
      181.3 KB
      เปิดดู:
      2,438
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 16 กันยายน 2016
  5. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    วัตถุมงคลต่างๆทุกองค์ที่ผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันจัดส่งเพื่อจะนำบรรจุไว้ใต้ฐานองค์พระใต้แท่นชุกชี ที่ประดิษฐสนสนพระพุทธรูปโบราณ พระเจ้างามเริงวาจาสิทธิ์ ทุกองค์ ทุกท่านสามารถจัดส่ง วัตถุมงคลถวายไว้เป็นสมบัติของพระพุทธศาสนาฝากไว้กับพื้นแผ่นดินไทยเพื่อสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาประกาศไว้ว่าณสถานที่นี้คือโบราณสถานในพระศาสนา ทุกท่าน ร่วมจัดส่งวัตถุมงคลต่างๆอาทิ พระพุทธรูป เหรียญเกจิอาจารย์ พระผง ของมงคลทุกชนิด แก้ว แหวน เงิน ทอง เครื่องสังคะโลก เครื่องใช้โบราณ อาทิ วัตถุโลหะต่างๆ ที่ทำมาจาก เงิน ทอง นาถ ทองเหลือง ทุกชนิด ตะกรุดผ้ายันต์พระเนื้อดินแก้วมณีนาคราชพลอยต่างๆอัญมณีต่างๆเชิญร่วมบริจาคถวายบรรจุใต้ฐานพระประธานใหญ่อุโบสถล้านนา ซึ่งจะทำการว่างศิลาฤกษ์ต่อไป


    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpeg
      image.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      2.2 MB
      เปิดดู:
      138
    • 58.jpeg
      58.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      225 KB
      เปิดดู:
      2,355
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 19 กันยายน 2016
  6. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขออนุโมทนา ขอบคุณ คุณ..... ที่ได้ร่วมจัดส่งวัตถุมงคลต่างๆ มาร่วมบรรจุใต้ฐานพระประธาน พระพุทธรูปโบราณอันศักดิ์สิทธิ์
    "พระเจ้างามเริงวาจาสิทธิ์" บรรจุใต้ฐานแท่นชุกชีพระอุโบสถล้านนา โบราณ จำนวนหนึ่งกล่อง

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 89.jpg
      89.jpg
      ขนาดไฟล์:
      80.9 KB
      เปิดดู:
      2,440
    • 563.jpg
      563.jpg
      ขนาดไฟล์:
      135.8 KB
      เปิดดู:
      2,273
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 19 กันยายน 2016
  7. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขออนุโมทนา ขอบคุณ คุณpetch พร้อมครอบครัว ที่ได้ร่วมจัดส่งวัตถุมงคลต่างๆ มาร่วมบรรจุใต้ฐานพระประธาน พระพุทธรูปโบราณอันศักดิ์สิทธิ์
    "พระเจ้างามเริงวาจาสิทธิ์" บรรจุใต้ฐานแท่นชุกชีพระอุโบสถล้านนา โบราณ จำนวนหนึ่งกล่อง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 24 กันยายน 2016
  8. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    แบบ พระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถแปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน

    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      89.6 KB
      เปิดดู:
      3,499
    • 2.jpg
      2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      82.2 KB
      เปิดดู:
      2,275
    • 3.jpg
      3.jpg
      ขนาดไฟล์:
      115.8 KB
      เปิดดู:
      2,406
    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      78.3 KB
      เปิดดู:
      2,440
    • 5.jpg
      5.jpg
      ขนาดไฟล์:
      67.2 KB
      เปิดดู:
      2,244
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 24 กันยายน 2016
  9. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขออนุโมทนา ขอบคุณ คุณฐิตินันท์ พร้อมครอบครัว ที่ได้ร่วมจัดส่งวัตถุมงคลต่างๆ มาร่วมบรรจุใต้ฐาน
    พระประธาน พระพุทธรูปโบราณอันศักดิ์สิทธิ์
    "พระเจ้างามเริงวาจาสิทธิ์" บรรจุใต้ฐานแท่นชุกชีพระอุโบสถล้านนา โบราณ จำนวนหนึ่งซอง

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 31.jpg
      31.jpg
      ขนาดไฟล์:
      114.7 KB
      เปิดดู:
      2,342
    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      89.6 KB
      เปิดดู:
      2,208
  10. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขอเชิญร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถแปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน อานิสงส์แรงกล้า หนึ่งวัด ต้องมีพันธสีมา วิสูงคามสีมา เดียว มีอุโบสถ แค่หลังเดียวเท่านั้น วัดโบราณเก่าแก่ 700 กว่าปี ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้สร้างวัด เหล่าเปรตอสูรกาย ดวงวิญาณ ที่รอการปลดปล่อยไปผุดไปเกิด กำลังรอแรงกุศล แรงบุญ เมื่ออุโบสถหลังนี้ ตัดลูกนิมิตกระทบธรณี มีสถานที่ สร้างพระสงฆ์ ศิษย์ตถาคต หน่อเนื้อนาบุญ ทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ สวดเมตตาใหญ่ โปรดสรรพสัตว์ โปรดดวงวิญญาณ ที่รอค่อยการไปเกิด กี่ภพกี่ชาติ
    เหล่าทหารกล้า เหล่าข้าศึก ที่พลีชีพตรงนี้ ในอดีต

    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 ( ชุดละ 4,999 บาท ) ประกอบด้วย แผ่นศิลาฤกษ์ ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ก้อนอิฐเงิน-ทอง ตะกรุดมหาอุด แผ่นดวงโภคทรัพย์ วัตถุมงคล พลอยสี เจ้าภาพ

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 4.jpg
      4.jpg
      ขนาดไฟล์:
      78.3 KB
      เปิดดู:
      2,331
    • 1.jpg
      1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      89.6 KB
      เปิดดู:
      2,204
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 กันยายน 2016
  11. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    วัดมีอายุถึง 700 กว่าปี ปัจจุบันนี้ ยังไม่มีพระอุโบสถไว้ สร้างพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และไว้ใช้ในกิจสงฆ์

    ขอเชิญร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถแปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน อานิสงส์แรงกล้า หนึ่งวัด ต้องมีพันธสีมา วิสูงคามสีมา เดียว มีอุโบสถ แค่หลังเดียวเท่านั้น วัดโบราณเก่าแก่ 700 กว่าปี ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้สร้างวัด เหล่าเปรตอสูรกาย ดวงวิญาณ ที่รอการปลดปล่อยไปผุดไปเกิด กำลังรอแรงกุศล แรงบุญ เมื่ออุโบสถหลังนี้ ตัดลูกนิมิตกระทบธรณี มีสถานที่ สร้างพระสงฆ์ ศิษย์ตถาคต หน่อเนื้อนาบุญ ทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ สวดเมตตาใหญ่ โปรดสรรพสัตว์ โปรดดวงวิญญาณ ที่รอค่อยการไปเกิด กี่ภพกี่ชาติเหล่าทหารกล้า เหล่าข้าศึก ที่พลีชีพตรงนี้ ในอดีต

    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 ( ชุดละ 4,999 บาท ) ประกอบด้วย แผ่นศิลาฤกษ์ ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ก้อนอิฐเงิน-ทอง ตะกรุดมหาอุด แผ่นดวงโภคทรัพย์ วัตถุมงคล พลอยสี เจ้าภาพ


    ด้วยภัยธรรมชาติ ลมพายุ ตีพัดกระหน่ำ และเกิดแผ่นไหวที่ผ่านมา ทำให้ศาลาฯทรุดโทรม หลังคารั่ว ปลวกกัดกินไม้ เสาผุพัง แตกแยก เป็นทาง
    จึงได้ตัดสินใจ ที่จะทำการบูรณะ นำสถานที่ตรงนี้นำมาสร้าง พระอุโบสถ แบบล้านนา
    ตอนนี้ทางวัดได้ลงมือลื้อศาลาการเปรียญ เพื่อปรับปรุง บูรณะ ใช้สถานที่ตรงนี้ สร้าง พระอุโบสถ (อุโบสถแปดเป็ง)


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 5 ตุลาคม 2016
  12. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    วัดมีอายุถึง 700 กว่าปี ปัจจุบันนี้ ยังไม่มีพระอุโบสถไว้ สร้างพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และไว้ใช้ในกิจสงฆ์

    อานิสงส์ยิ่งใหญ่บุญใหญ่ที่วัดจะได้เป็นวัดที่สมบูรณ์ เป็นวัดพันธสีมา

    ขอเชิญร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถแปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน อานิสงส์แรงกล้า หนึ่งวัด ต้องมีพันธสีมา วิสูงคามสีมา เดียว มีอุโบสถ แค่หลังเดียวเท่านั้น วัดโบราณเก่าแก่ 700 กว่าปี ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้สร้างวัด เหล่าเปรตอสูรกาย ดวงวิญาณ ที่รอการปลดปล่อยไปผุดไปเกิด กำลังรอแรงกุศล แรงบุญ เมื่ออุโบสถหลังนี้ ตัดลูกนิมิตกระทบธรณี มีสถานที่ สร้างพระสงฆ์ ศิษย์ตถาคต หน่อเนื้อนาบุญ ทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ สวดเมตตาใหญ่ โปรดสรรพสัตว์ โปรดดวงวิญญาณ ที่รอค่อยการไปเกิด กี่ภพกี่ชาติเหล่าทหารกล้า เหล่าข้าศึก ที่พลีชีพตรงนี้ ในอดีต

    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 ( ชุดละ 4,999 บาท ) ประกอบด้วย แผ่นศิลาฤกษ์ ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ก้อนอิฐเงิน-ทอง ตะกรุดมหาอุด แผ่นดวงโภคทรัพย์ วัตถุมงคล พลอยสี เจ้าภาพ

    ด้วยภัยธรรมชาติ ลมพายุ ตีพัดกระหน่ำ และเกิดแผ่นไหวที่ผ่านมา ทำให้ศาลาฯทรุดโทรม หลังคารั่ว ปลวกกัดกินไม้ เสาผุพัง แตกแยก เป็นทาง
    จึงได้ตัดสินใจ ที่จะทำการบูรณะ นำสถานที่ตรงนี้นำมาสร้าง พระอุโบสถ แบบล้านนา
    ตอนนี้ทางวัดได้ลงมือลื้อศาลาการเปรียญ เพื่อปรับปรุง บูรณะ ใช้สถานที่ตรงนี้ สร้าง พระอุโบสถ (อุโบสถแปดเป็ง)


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 7 ตุลาคม 2016
  13. amreborn

    amreborn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2015
    โพสต์:
    763
    ค่าพลัง:
    +2,351
    นาย ชาลี แซ่จึง ร่วมทำบุญ 20.- โอนวันที่7/10/59 เวลา 10.37 น. เงินเข้าบัญชีวันที่ 11-10-2016 06:00:00 ขอร่วมอนุโมทนาในบุญของทุกท่านด้วยครับ
     
  14. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    อนุโมทนาขอบคุณครับ ที่ร่วมทำบุญ สร้างโบสถล้านนา จำนวน 20 บาท
     
  15. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    วัดมีอายุถึง 700 กว่าปี ปัจจุบันนี้ ยังไม่มีพระอุโบสถไว้ สร้างพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และไว้ใช้ในกิจสงฆ์

    อานิสงส์ยิ่งใหญ่บุญใหญ่ที่วัดจะได้เป็นวัดที่สมบูรณ์ เป็นวัดพันธสีมา

    ขอเชิญร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถแปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน อานิสงส์แรงกล้า หนึ่งวัด ต้องมีพันธสีมา วิสูงคามสีมา เดียว มีอุโบสถ แค่หลังเดียวเท่านั้น วัดโบราณเก่าแก่ 700 กว่าปี ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้สร้างวัด เหล่าเปรตอสูรกาย ดวงวิญาณ ที่รอการปลดปล่อยไปผุดไปเกิด กำลังรอแรงกุศล แรงบุญ เมื่ออุโบสถหลังนี้ ตัดลูกนิมิตกระทบธรณี มีสถานที่ สร้างพระสงฆ์ ศิษย์ตถาคต หน่อเนื้อนาบุญ ทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ สวดเมตตาใหญ่ โปรดสรรพสัตว์ โปรดดวงวิญญาณ ที่รอค่อยการไปเกิด กี่ภพกี่ชาติเหล่าทหารกล้า เหล่าข้าศึก ที่พลีชีพตรงนี้ ในอดีต

    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 ( ชุดละ 4,999 บาท ) ประกอบด้วย แผ่นศิลาฤกษ์ ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ก้อนอิฐเงิน-ทอง ตะกรุดมหาอุด แผ่นดวงโภคทรัพย์ วัตถุมงคล พลอยสี เจ้าภาพ

    ด้วยภัยธรรมชาติ ลมพายุ ตีพัดกระหน่ำ และเกิดแผ่นไหวที่ผ่านมา ทำให้ศาลาฯทรุดโทรม หลังคารั่ว ปลวกกัดกินไม้ เสาผุพัง แตกแยก เป็นทาง
    จึงได้ตัดสินใจ ที่จะทำการบูรณะ นำสถานที่ตรงนี้นำมาสร้าง พระอุโบสถ แบบล้านนา
    ตอนนี้ทางวัดได้ลงมือลื้อศาลาการเปรียญ เพื่อปรับปรุง บูรณะ ใช้สถานที่ตรงนี้ สร้าง พระอุโบสถ (อุโบสถแปดเป็ง)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 11 ตุลาคม 2016
  16. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ร่วมมือ ร่วมแรง รวมกำลังศรัทธา สร้างอุโบสถหลังแรก ของวัดทุ่งอ้อหลวง ไว้ใช้ในกิจสงฆ์ ไว้สร้างพระสงฆ์

    วัดนี้ เป็นวัดโบราณ มีอายุถึง 700 กว่าปี ปัจจุบันนี้ ไม่คงเหลือ หลักฐาน ที่บ่งบอก ว่ามีรากฐานโบสถไม่มีหลักศิลาจารึก ปัจจุบันไม่มีพระอุโบสถไว้สร้างพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และไว้ใช้ในกิจสงฆ์ที่ต้องการมาบวช เพื่อศึกษาพระธรรม ที่สำคัญสุด ไว้เป็นสถานที่ที่พระสงฆ์ไปชุมนุมกันเพื่อทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ ปาราชิก ๔ สังฆาฑิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัค<wbr>คียปาจิตตีย์ ๓๐ ปาจิตตีย์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕ รวม ๒๒๗ ข้อ
    ขอเชิญร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถแปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน อานิสงส์แรงกล้า หนึ่งวัด ต้องมีพันธสีมา วิสูงคามสีมา เดียว มีอุโบสถ แค่หลังเดียวเท่านั้น วัดโบราณเก่าแก่ 700 กว่าปี ดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้สร้างวัด เหล่าเปรตอสูรกาย ดวงวิญาณ ที่รอการปลดปล่อยไปผุดไปเกิด กำลังรอแรงกุศล แรงบุญ เมื่ออุโบสถหลังนี้ ตัดลูกนิมิตกระทบธรณี มีสถานที่ สร้างพระสงฆ์ ศิษย์ตถาคต หน่อเนื้อนาบุญ ทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ สวดเมตตาใหญ่ โปรดสรรพสัตว์ โปรดดวงวิญญาณ ที่รอค่อยการไปเกิด กี่ภพกี่ชาติเหล่าทหารกล้า เหล่าข้าศึก ที่พลีชีพตรงนี้ ในอดีต
    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 ( ชุดละ 4,999 บาท ) ประกอบด้วย แผ่นศิลาฤกษ์ ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ก้อนอิฐเงิน-ทอง ตะกรุดมหาอุด แผ่นดวงโภคทรัพย์ วัตถุมงคล พลอยสี เจ้าภาพ


    ด้วยภัยธรรมชาติ ลมพายุ ตีพัดกระหน่ำ และเกิดแผ่นไหวที่ผ่านมา ทำให้ศาลาฯทรุดโทรม หลังคารั่ว ปลวกกัดกินไม้ เสาผุพัง แตกแยก เป็นทาง
    จึงได้ตัดสินใจ ที่จะทำการบูรณะ นำสถานที่ตรงนี้นำมาสร้าง พระอุโบสถ แบบล้านนา
    ตอนนี้ทางวัดได้ลงมือลื้อศาลาการเปรียญ เพื่อปรับปรุง บูรณะ ใช้สถานที่ตรงนี้ สร้าง พระอุโบสถ (อุโบสถแปดเป็ง)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 12 ตุลาคม 2016
  17. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    อานิสงส์ของการสร้างอุโบสถ

    ---สมัยนี้ การสร้างวัด ต้องอาศัยกำลังทรัพย์และกำลังคนมหาศาล เพราะต้องสร้างวัดให้เพียบพร้อมด้วยสถานที่ร่มรื่น มีอาคารโรงเรือนมากมาย โดยเฉพาะมีโรงอุโบสถ หรือโบสถ์ สถานที่ที่จะต้องใช้ เพื่อการทำสังฆกรรมสำคัญๆหลายอย่าง อาทิ การให้การอุปสมบทแก่กุลบุตร การสวดทำอัพภานกรรม การสวดญัตติทุติยกรรมวาจา การสวดญัตติจตุตถกรรมวาจา ฯลฯ ของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา

    ---เนื่องจากโบสถ์ ที่สร้างขึ้นทุกวันนี้ คณะสงฆ์สามารถใช้ให้เป็นประโยชน์ได้หลายอย่างคือ เป็นอาคารอเนกประสงค์ รวมทั้งใช้เป็นที่ประชุมที่แสดงธรรม ที่ฝึกอบรมสมาธิภาวนา ที่สวดมนต์ ทำวัตรเช้าค่ำ และที่พักอาศัยชั่วคราว สำหรับต้อนรับพระอาคันตุกะ เป็นต้น เพราะฉะนั้น ผู้ที่สร้างโบสถ์ถวายพระสงฆ์ จึงได้บุญกุศลมากมาย ทั้งชาตินี้และชาติหน้า กล่าวคือ

    ---ชาตินี้ ผู้มีศีลเป็นพื้นฐาน ที่ถวายโรงอุโบสถ ย่อมได้ความปลื้มปีติสุขอย่างสูง เมื่อได้ทราบว่า พระสงฆ์ได้ใช้โรงอุโบสถที่ตนสร้างถวายอย่างคุ้มค่า เกียรติคุณของผู้ถวายย่อมฟุ้งขจรไกล ผู้ถวายย่อมได้ สดับพระธรรมเทศนา เพิ่มพูน ศีล สมาธิ ปัญญา ทำให้จิตใจสะอาด สว่าง สงบสุขได้มากขึ้น แม้จะสิ้นชีพก็ไม่หลงทำกาลกิริยา(ตาย) ย่อมมีอารมณ์ยึดมั่นในกุศล เป็นอาสันนกรรมที่ดี

    ---ชาติหน้า ถ้าผู้ถวายโรงอุโบสถ ยังมีกิเลสอยู่ถึงแก่กรรมลง เขาย่อมได้ไปเกิดในกำเนิดที่ดี มีความสะดวกสบายที่เรียกว่า สุคติโลกสวรรค์ อันเพียบพร้อมด้วยสิ่งที่ประเสริฐ ที่พึงพอใจ อันเป็นฝ่ายโลกิยสมบัติและจะได้บรรลุคุณธรรมต่างๆ อาทิ ฌาน อภิญญา อริยมรรค อริยผล และกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพานเป็นที่สุด


    *บุญสร้างโบสถ์ หาทำยาก บุญหนักศักดิ์ใหญ่ ที่วัดนี้ไม่เคยมีโบสถ์มาก่อนเลย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบท้าวสักกเทวราชและเทวดาทั้งหลายที่มาทูลถามว่า

    ---" การให้อะไร ชนะการให้ทั้งปวง

    ---รสแห่งอะไร ชนะรสทั้งปวง

    ---ความยินดีในอะไร ชนะความยินดีทั้งปวง

    ---ความสิ้นไปแห่งอะไร ชนะทุกข์ทั้งปวง"



    *พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตอบว่า........

    ---สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ


    ---สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ

    ---สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชินาติ



    ---ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ


    ---การให้ธรรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง


    ---รสแห่งธรรม ชนะรสทั้งปวง

    ---ความยินดีในธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง

    ---ความสิ้นไปแห่งตัณหา ชนะทุกข์ทั้งปวง

    ---ผู้ใดให้ธรรมเป็นทาน ผู้นั้นชื่อว่าให้พระนิพพานแก่คน....



    ---ถวายทานกับพระพุทธเจ้า 100 ครั้ง มีผลไม่เท่ากับถวายสังฆทาน 1 ครั้ง

    ---และถ้าถวายสังฆทาน 100 ครั้ง มีผลไม่เท่ากับถวายวิหารทาน 1 ครั้ง คือ สร้างวิหาร มีการก่อสร้าง เช่น สร้างสุขา ศาลาการเปรียญ กุฏิ โบสถ์ วิหาร เป็นต้น"

    ---การถวายสังฆทาน 1 ครั้งในชีวิต และถวายด้วยจิตที่บริสุทธิ์ มีศรัทธาแท้ พระพุทธเจ้าทรงกล่าวว่า ผลของสังฆทานนี้ จะดลบันดาลให้แก่บุคคลผู้ถวาย เกิดไปทุกชาติ ขึ้นชื่อว่า ความยากจนเข็ญใจ ไม่มี ในแดนใดที่เต็มไปด้วยความทุกข์ยากลำบากขัดสน คนที่ถวายสังฆทานแล้วจะไม่เกิดในที่นั้น ผลที่ให้ไปไกลมาก


    ---ท่านกล่าวว่า แม้แต่พระพุทธญาณเอง ก็ยังไม่เห็นผลที่สุดของการถวาย สังฆทาน คำว่า”ไม่เห็นที่สุดของการถวายสังฆทาน“ หมายความว่า แม้แต่บุคคลผู้เป็นเจ้าของสังฆทาน บำเพ็ญบารมีแล้ว แล้วเกิดไปอีกกี่แสนชาติก็ตาม จนกระทั่งเข้าพระนิพพาน อานิสงส์นั้นก็ยังไม่หมด นี่เป็นอำนาจของการถวายสังฆทาน“

    ---การทำบุญ ทำบุญอย่างไรให้ได้บุญมาก ต้องทำบุญถูกที่ ถูกเวลา ตรงกับความต้องการ และสิ่งที่ทำบุญ จะต้องเป็นประโยชน์สำหรับคนส่วนมาก วัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เป็นศูนย์รวมจิตใจ ในการทำความดี การทำบุญเพื่อสร้างวัด จึงได้อานิสงส์เป็นอย่างมาก เพราะเงินที่ทำบุญ มีส่วนให้วัดสำเร็จได้ ถ้าไม่มีเราวัดคงจะสำเร็จไม่ได้ และที่สำคัญเป็นการสืบทอดพุทธศาสนาให้คงอยู่ ไปอีกนานเท่านาน

    [​IMG]
    *ผลแห่งการทาน จะสมบูรณ์ได้อย่างไร

    ---ผลแห่งการบำเพ็ญทาน จะมีอานิสงส์ไพศาลนั้น จำต้องเกิดจากศรัทธาอันบริสุทธิ์ ตั้งมั่นในพระรัตนตรัย สภาพจิตใจของผู้ให้ทานจะต้องมีความสดใส ปีติยินดี ไม่กังวล ไม่เสียดาย แม้ก่อนและหลังขณะให้ทาน จิตใจของผู้นั้นยังมั่นคงยินดีสดใสอยู่ทุกเมื่อ ไม่หวั่นไหวแปรปรวน

    *วิถีแห่งการบำเพ็ญทาน ควรทำดังนี้

    ---1.บุคคลใดที่ให้ทานด้วยตนเอง แต่ไม่ชักชวนผู้อื่น ย่อมได้โภคทรัพย์ แต่จะไม่ได้บริวารสมบัติ ในที่แห่งตนเกิด

    ---2.บุคคลที่ไม่ได้ให้ทานด้วยตนเอง แต่ชักชวนผู้อื่น ย่อมได้บริวารสมบัติ แต่ไม่ได้โภคสมบัติ

    ---3.บุคคลใดที่ไม่ได้ให้ทานด้วยตนเอง และไม่ชักชวนผู้อื่น ย่อมไม่ได้โภคสมบัติ และไม่ได้บริวารสมบัติ เป็นบุคคลเที่ยวกินเดน

    ---4.บุคคลที่ได้ให้ทานด้วยตนเอง และชักชวนผู้อื่นด้วย ย่อมได้ทั้งโภคสมบัติและบริวารสมบัติสมบูรณ์ บริบูรณ์

    *ทานที่เห็นผลในปัจจุบัน


    ---สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาค ประทับอยู่ที่ ผมฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล สีหเสนาบดีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามว่า


    *สีหเสนาบดี


    ---“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคทรงสามารถบัญญัติผลแห่งทาน ที่จะพึงเห็นได้ในปัจจุบันหรือหนอ ”


    *พระผู้มีพระภาค


    ---“สามารถ ท่านสีหเสนาบดี” แล้วจึงตรัสต่อไปว่า “ท่านสีหเสนาบดี ทายกผู้เป็นทานบดี (เจ้าของทาน) ย่อมเป็นที่รักที่ชอบใจของชนเป็นอันมาก แม้ข้อนี้ ก็เป็นผลแห่งทานที่จะพึงเห็นเอง อีกประการหนึ่ง สัตบุรุษผู้สงบ (คนดี) ย่อมคบหาทายกผู้เป็นทานบดี แม้ข้อนี้ ก็เป็นผลแห่งทานที่จะพึงเห็นเอง อีกประการหนึ่ง ทายกผู้เป็นทานบดี จะเข้าไปสู่ที่ประชุมใดๆ คือ ที่ประชุมกษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดีหรือสมณะ ก็ย่อมเป็นผู้องอาจ ไม่เก้อเขิน เข้าไป แม้ข้อนี้ ก็เป็นผลแห่งทานที่จะพึงเห็นเอง อีกประการหนึ่ง ทายกผู้เป็นทานบดี เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ แม้ข้อนี้ ก็เป็นผลแห่งทานที่จะพึงได้ในสัมปรายภพ”


    *สีหเสนาบดี


    ---ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ผลแห่งทานที่จะพึงเห็นเอง ๔ ข้อเหล่านี้ พระผู้มีพระภาคในผลแห่งทาน ๔ ข้อนี้ ก็หามิได้ แม้ข้าพระองค์เองก็ทราบดี คือ ข้าพระองค์ ก็เป็นทายก เป็นทานบดี ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจ ของชนเป็นอันมาก สัตบุรุษผู้สงบย่อมคบหาข้าพระองค์ ผู้เป็นทายกเป็นทานบดี กิตติศัพท์อันงามของข้าพระองค์ ผู้เป็นทายก เป็นทานบดี ย่อมขจรทั่วไปว่า สีหเสนาบดี เป็นทายก เป็นทานบดี จะเข้าไปสู่ที่ประชุมใด คือ ที่ประชุมกษัตริย์ พราหมณ์ คฤหบดี หรือสมณะ ก็ย่อมเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่เก้อเขินเข้าไป


    ---ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ผลแห่งทานที่พึงเห็นเอง ๔ ข้อนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสบอกแล้ว ข้าพระองค์ ย่อมเชื่อต่อพระผู้มีพระภาคในผลแห่งทาน ๔ ข้อนี้ ก็หามิได้ แม้ข้าพระองค์เองก็ย่อมทราบดี ส่วนผลแห่งทานที่จะพึงเห็นเอง (ข้อที่ ๕) ที่พระผู้มีพระภาค ตรัสบอกข้าพระองค์ว่า ทายกผู้เป็นทานบดี เมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ข้าพระองค์ย่อมไม่ทราบ ก็แต่ว่าข้าพระองค์ ย่อมเชื่อต่อพระผู้มีพระภาคในข้อนี้”


    *พระผู้มีพระภาค


    ---“อย่างนั้นท่านสีหะเสนาบดีๆ คือ ทายกผู้เป็นทานบดีเมื่อตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์” นรชนผู้ไม่ตระหนี่ให้ทาน ย่อมเป็นที่รักของชนเป็นอันมาก ชนเป็นอันมากย่อมคบหานรชนนั้น นรชนนั้น ย่อมได้เกียรติ มียศ เจริญ เป็นผู้ไม่เก้อเขิน แกล้วกล้าเข้าสู่ที่ประชุมชน


    ---เพราะเหตุนี้แล บัณฑิตผู้หวังสุข จงขจัดมลทิน คือ ความตระหนี่แล้ว ให้ทาน บัณฑิตเหล่านี้ ย่อมประดิษฐานในไตรทิพย์ ถึงความเป็นสหายของเทวดา ร่าเริงอยู่ตลอดกาลนาน บัณฑิตเหล่านั้น ได้ทำสิ่งที่มุ่งหวัง ได้ทำกุศลแล้ว จุติจากโลกนี้แล้ว ย่อมมีรัศมีเปล่งปลั่ง เที่ยวชมไปในอุทยานชื่อ นันทวัน ย่อมเพียบพร้อมด้วยกามคุณ ๕ เพลิดเพลิน รื่นเริง บันเทิงใจอยู่ในนันทวัน สาวกทั้งปวงของพระสุคตผู้ไม่มีกิเลส ผู้คงที่ทำตามพระดำรัสของพระองค์แล้ว ย่อมร่าเริงทุกเมื่อ ฯ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 15 ตุลาคม 2016
  18. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    ขอเชิญร่วมทำบุญ สร้างพระอุโบสถ ทรงล้านนา (โบสถ์แปดเป็ง) ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน อานิสงส์แรงกล้า หนึ่งวัด ต้องมีพันธสีมา วิสูงคามสีมา เดียว มีอุโบสถ แค่หลังเดียวเท่านั้น วัดโบราณสถานที่เก่าแก่ถึง 700 กว่าปี แต่ปัจจุบัน ยังไม่ปรากฏ หลักสีมา ยังไม่มีอุโบสถ ไว้ใช้ในกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา อีกอย่างหนึ่ง การสร้างโบสถ์หาทำยาก อานิสงส์แรง อานิสงส์สูง เหล่าดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ผู้สร้างวัด เหล่าเปรตอสูรกาย ดวงวิญาณ ที่รอการปลดปล่อยไปผุดไปเกิด กำลังรอแรงกุศล แรงบุญ เมื่ออุโบสถหลังนี้ ตัดลูกนิมิตกระทบธรณี มีสถานที่ สร้างพระสงฆ์ ศิษย์ตถาคต หน่อเนื้อนาบุญ ทำสังฆกรรม และสวด/ฟัง พระปาฏิโมกข์ บทสวดพระภิกขุปาฏิโมกข์ สวดเมตตาใหญ่ โปรดสรรพสัตว์ โปรดดวงวิญญาณ ที่รอค่อยการไปเกิด กี่ภพกี่ชาติเหล่าทหารกล้า เหล่าข้าศึก ที่พลีชีพตรงนี้ ในอดีต

    เชิญร่วมทำบุญตามกำลังศรัทธา ตามหมายกำหนดการ เริ่ม ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ ในวันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 08.29 มงคลพิธี

    *บุญสร้างโบสถ์ หาทำยาก บุญหนักศักดิ์ใหญ่ ที่วัดนี้ไม่เคยมีโบสถ์มาก่อนเลย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบท้าวสักกเทวราชและเทวดาทั้งหลายที่มาทูลถามว่า

    ---" การให้อะไร ชนะการให้ทั้งปวง

    ---รสแห่งอะไร ชนะรสทั้งปวง

    ---ความยินดีในอะไร ชนะความยินดีทั้งปวง

    ---ความสิ้นไปแห่งอะไร ชนะทุกข์ทั้งปวง"



    *พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตอบว่า........

    ---สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ


    ---สพฺพรสํ ธมฺมรโส ชินาติ

    ---สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชินาติ



    ---ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ


    ---การให้ธรรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง


    ---รสแห่งธรรม ชนะรสทั้งปวง

    ---ความยินดีในธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง

    ---ความสิ้นไปแห่งตัณหา ชนะทุกข์ทั้งปวง

    ---ผู้ใดให้ธรรมเป็นทาน ผู้นั้นชื่อว่าให้พระนิพพานแก่คน....



    ---ถวายทานกับพระพุทธเจ้า 100 ครั้ง มีผลไม่เท่ากับถวายสังฆทาน 1 ครั้ง

    ---และถ้าถวายสังฆทาน 100 ครั้ง มีผลไม่เท่ากับถวายวิหารทาน 1 ครั้ง คือ สร้างวิหาร มีการก่อสร้าง เช่น สร้างสุขา ศาลาการเปรียญ กุฏิ โบสถ์ วิหาร เป็นต้น"
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 17 ตุลาคม 2016
  19. tharaphut

    tharaphut เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    1,721
    ค่าพลัง:
    +5,211
    ขอร่วมทำบุญ สร้างอุโบสถล้านนา

    ได้โอนเงินแล้ว ธนาคารธนชาติ วันที่ 18 ต.ค. 59 เวลา 12.00 น. จำนวน 20 บาท ข้าพเจ้านายธราภุช โพธิ์แสง และนางทองรวม จันทบัตร และครอบครัว ขอร่วมอนุโมทนาบุญในครั้งนี้ด้วยครับ
     
  20. Phra Kroo Palat Thana Thorn

    Phra Kroo Palat Thana Thorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2009
    โพสต์:
    1,131
    ค่าพลัง:
    +3,704
    อนุโมทนา ขอบคุณ เป็นอย่างยิ่ง ใกล้งานบุญมาทุกขณะ แต่กองบุญยังเงียบ


    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 18 ตุลาคม 2016

แชร์หน้านี้

Loading...