“แสงสว่างที่ปลายทางรอด” วิถีแห่งสุขภาพองค์รวมของคลื่นพลังงานบำบัด

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย malangpong, 17 พฤศจิกายน 2010.

  1. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot]ความสัมพันธ์ระหว่างวิปัสสนากรรมฐานกับทางเลือกของสุขภาพ ในช่วงกลียุค[FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] วิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง แนวทางหรือวิธีการฝึกจิตให้เกิดปัญญา เพื่อถึงซึ่ง “ทาง” พ้นทุกข์ ด้วยอุบายใด อุบายหนึ่ง
    ตามความถนัดของครู อาจารย์ผู้สอน โดยยึดหลักตามกฎ ไตรลักษณ์ 3 อย่าง ให้ผู้ฝึกจิตได้มีโอกาสเห็นความเป็นอนิจจัง
    คือ ความไม่เที่ยง มีการเกิด-ดับ อยู่เป็นปัจจุบันขณะ หรือ ทุกขัง เห็นอาการของทุกข์ที่ ตั้งอยู่ ดำรงอยู่ ได้เพียงชั่วคราว
    หรือ อนัตตา เห็นการสลายของทุกข์ เป็นความว่างเพราะไม่มีตัวตนที่ถาวร <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] การฝึกปฏิบัติฯจะเป็นการ เดินอ้อม เดินตรง หรือเดินทางลัด เป็นเรื่องของเทคนิคของ แต่ละแนวทาง
    เป้าหมายสำคัญคือ พาลูกศิษย์ไปถึง “ทาง” ได้หรือไม่<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] “ทาง” หรือ “สภาวะมรรค” เป็นสิ่งเดียวกัน มีอยู่แล้วในมนุษย์ปุถุชน และ สรรพสัตว์ทั้ง หลาย หากแต่เพราะปุถุชนทั่วไป
    ยังถูกขันธ์ 5 ครอบงำอยู่ มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นเครื่อง สืบต่ออยู่ 6 ช่อง ทำให้ดับได้ไม่ทันตรงจุดเกิดเหตุ
    หรือตามไม่ทันการกระทบ ที่มีการเกิด-ดับ เร็วมาก กว่าจะรู้กลายเป็นว่าได้ไปหลงยึดติดในกิเลส เป็น โลภะ โทสะ
    โมหะ ไปเสียแล้ว ทั้งๆที่มนุษย์ควรจะรู้เห็นตามความเป็นจริงว่า “การเกิด-ดับ เกิดขึ้นเป็น ปัจจุบันขณะอยู่แล้ว
    เป็นแรงที่ส่งมาชนกระทบกับเครื่องสืบต่อทั้ง 6 ช่อง จึงมีพลังงานเกิดขึ้นเป็น ธรรมดา เป็นแรงสืบต่อ (แรงสันตติ)
    ซึ่งมีลักษณะเป็นเพียง แรงรับ-แรงเหวี่ยง แรงยืด-แรงหดเท่านั้น ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวของวงกลม เพราะไม่มีเจตนา”<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] เมื่อมนุษย์พลาด ใส่เจตนาเข้าไปยึดแรงกระทบ มิหนำซ้ำยังนำไปปรุงแต่งเก็บไว้เป็น อารมณ์ คอยหลอกหลอนให้เวียนว่าย
    ก่อภพ ก่อชาติ ไม่รู้จักจบสิ้น
    <o></o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] ถ้าครู อาจารย์ เคยรู้จัก “ทาง” ย่อมพาศิษย์ไปถึง “ทาง” ได้อย่างแน่นอน<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] การฝึกปฏิบัติฯ จะสมบูรณ์ไม่ได้ ถ้าผู้ฝึกปฏิบัติฯไม่ได้ผ่านขั้นตอนโหดของสมถกรรมฐาน ก่อน<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] สมถกรรมฐาน [FONT=&quot]มีเป้าหมายเพื่อฝึกจิต ให้[/FONT][FONT=&quot] “นิ่ง” อยู่ที่ใดที่หนึ่งที่เดียวได้นานๆ โดย ไม่เปลี่ยนอิริยาบถ (เปลี่ยนท่าฝึก)
    ทำให้จิตมีพลัง เป็นพื้นฐานของการฝึกปฏิบัติขั้นอื่นๆต่อไป หรือ พูดให้เข้าใจง่ายขึ้น คือเป็นวิธีฝึกให้ “จิต” มีความอดทน
    เข้มแข็ง มีพลัง หากทำได้ รางวัล ที่ได้ คือความสะอาด สว่าง สงบ และ ว่าง โดยที่มี “ใจ” เป็นผู้เสพตัวรู้ว่ามีความสะอาด
    สว่าง สงบ และ ว่าง ซึ่งคุณธรรมในระดับนี้ยังเป็นระดับโลกียธรรม ย่อมมีของคู่ปรากฏให้เห็นเช่น ความสกปรก ความมืด
    ความวุ่นวาย และ ความมีอยู่<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] ผู้ฝึกปฏิบัติฯ ควรทิ้ง “แสงสว่างหรืออารมณ์ของใจ” ก้าวไปติดตามรู้เห็นการ กระทบเป็นปัจจุบันขณะ
    ทิ้งแรงยึดเหนี่ยวของ “ใจ” ให้ได้<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] พระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ ศึกษาพระพุทธศาสนาในเรื่องของ “จิตหลุดพ้น” ว่าย่อมมี ความสัมพันธ์โดยตรงกับ “แรง”
    หรือ “พลังงาน” ในจักรวาลเสมอ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] เพราะแท้จริงแล้ว “กิเลส” เป็นพลังงานความเกิดที่ยังดับไม่หมด หากเมื่อผู้ฝึก ปฏิบัติฯไปถึง “ทาง” แล้ว
    สสารจะไม่เคลื่อนที่
    [FONT=&quot]ร่างกาย[/FONT][FONT=&quot](สสาร) จึงสัมผัสได้ถึงความเบาสบาย อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน มีเพียงพลังงาน
    ที่สั่นสะเทือน ตึ๊บๆๆ ตึ๊บๆๆ เท่ากับสันตติของ จักรวาล
    (แรงของจักรวาล) ที่ไม่มีแรงยึดเหนี่ยวของวงกลม
    (เป็นเพียงแรงสืบต่อที่เป็น แรงรับ-แรงเหวี่ยง แรงยืด-แรงหด เท่านั้น เพราะผู้ฝึกปฏิบัติฯสามารถพ้นออกมาจากสันตติ
    ของใจที่มีแรงยึดเหนี่ยวของวงกลมได้แล้ว)<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] ดังนั้น “ทาง” เส้นนี้ จึงไม่มี “ใครเกิด ใครตาย” ทุกคนหมดเหตุ หมดปัจจัย มีแต่ สภาวะ “ทาง” เท่านั้น
    เพราะพลังงานหมดสิ้นแล้ว พระพุทธองค์และเหล่าพระอรหันต์ ทั้งหลาย ท่านก็อยู่ตาม “ทาง” นั้น เป็นสภาวะ “นิพพาน”<o></o>
    [/FONT]
     
  2. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot] พระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ มีอุบายฝึกปฏิบัติฯเพื่อ “จิตหลุดพ้น” เข้าถึง “ทาง” ด้วยการ ใช้ แรง 3 แรง คือ
    แรงดัน
    แรงเหวี่ยง และ
    [FONT=&quot]แรงความเป็นกลาง[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] จิตหลุดพ้น มีความหมายว่า “จิต” พ้นไปจากแรงดึงของ “ใจ” [FONT=&quot]เพราะ[/FONT][FONT=&quot] “ใจ” มีแรง ดึงดูดที่เป็นแรงยึดเหนี่ยวของวงกลม
    แตกต่างจากแรงสืบต่อของจักรวาล หรือสันตติของ จักรวาลอย่างสิ้นเชิง หรือพูดให้เข้าใจง่ายขึ้น คือแรงดึงของใจ มีเจตนาร่วม
    แต่แรงสืบต่อของ จักรวาล สักแต่ว่าเป็น “แรง”<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] 1. แรงดัน เป็นอุบายของการสะสมแรงให้มีมากขึ้นๆ จนสามารถพลิกขันธ์ 5 ที่ครอบอยู่ให้หงายขึ้น หรือพลิกออกไป
    เป็นอุบายให้ “จิต” เคลื่อนที่ ติดตาม เห็น การกระทบ (เจริญสติ) เห็น อาการเกิด-ดับ ที่เครื่องสืบต่อทั้ง 6 ช่อง
    อย่างเป็นปัจจุบันขณะ เห็นว่าการเกิด-ดับ เกิดขึ้น สลับกัน ไป-มา เป็นสิ่งไม่เที่ยง ยึดมั่นถือมั่นไม่ได้ เมื่อฝึกปฏิบัติฯจนชำนาญ
    เห็นการกระทบ เกิดเร็วขึ้นๆๆ จนแทบจะต้านแรงไม่ไหว เป็นสติเต็มรอบ ให้ปล่อยวางทั้งการเห็น และการ กระทบ
    จิตจะพลิกขึ้น การออกจากทุกข์ด้วยแรงดันนี้ ถือเป็นอุบายหลักอุบายหนึ่งของ พระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ
    ที่สอนให้ผู้ฝึกปฏิบัติฯ รู้หลักของการเจริญสติ เพื่อให้เห็น อาการเกิด-ดับ เป็นปัจจุบันขณะ ตามกฎไตรลักษณ์ตัวแรก
    คืออนิจจัง ความไม่เที่ยง
    แต่ เนื่องจากอิทธิพลความหนาแน่นของพลังงานแม่เหล็กโลกในกาแลคซี่ทางช้างเผือก
    ที่กำลังให้โทษแก่มนุษย์อย่างรุนแรงที่สุด จึงทำให้แรงยืด-แรงหดผิดปกติไปด้วย การฝึกปฏิบัติฯ เพื่อให้เห็นการ
    กระทบที่ เกิด-ดับๆๆ อยู่ตลอดเวลา ทำได้ยากยิ่งขึ้น อุบายของการเจริญสติ จึงต้องเปลี่ยนเป็นการดู
    กฎไตรลักษณ์ตัวที่
    2 คือ อาการ “ตั้งอยู่” แทน<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 2. แรงเหวี่ยง หรือ การหมุนธรรมจักร เป็นอุบายเรืองปัญญา ด้วยการวางจิตอยู่ระหว่าง ส่วนสุดโต่ง 2 ส่วน
    เมื่อจิตไม่ติดส่วนหนึ่งส่วนใด การเคลื่อนที่หมุนเหวี่ยงจะเกิดขึ้น เลียนแบบ การหมุนของโลก ซึ่งจิตจะหลุดพ้น
    ไปจากแรงดึงดูดของโลกได้ จำเป็นต้องมีการหมุนที่เร็วกว่า 1 วินาที เมื่อได้จังหวะที่เหมาะสม สะสมความเร็วไว้เต็มที่แล้ว
    ให้ปล่อยวางการหมุน จิตจะ เหวี่ยงพ้นออกมาจากการครอบงำของ “ใจ” เข้าถึง “ทาง” และด้วยเหตุผลเดียวกับ ข้อ 1
    ที่ในขณะนี้ เราแทบไม่สัมผัสกับแรงรับ-แรงเหวี่ยงเลย จึงทำให้การออกจากทุกข์ด้วย “แรงเหวี่ยง” ทำได้ยาก ได้แต่รอว่า
    เมื่อใดสภาพสมดุลของพลังงาน ที่มีทั้ง ยืด-หด รับ-เหวี่ยง จะกลับคืนมา เป็นปกติอีกครั้ง (ไหว-นิ่ง-ว่าง จึงคืนกลับมาแทน)<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 3. [FONT=&quot]แรงความเป็นกลาง[/FONT][FONT=&quot] เป็นอุบายให้วางจิตไว้ตรงกลางระหว่าง [/FONT][FONT=&quot]2 ส่วน เช่น สมองกับใจ ใจกับเวทนา บาปกับบุญ ขาวกับดำ ฯลฯ
    สะสมความเป็นกลางให้มากขึ้นๆๆ ความเป็นกลางอาจจะขยายใหญ่ขึ้นๆ จนระเบิด หรือ ขยายใหญ่ขึ้นจนสามารถทำลายได้
    ทั้งสองส่วน (พระพุทธองค์ท่านทรงตรัสรู้ด้วยวิธีเดียวกันนี้ ท่านวางจิตไว้ระหว่างรูปกับอรูป) และด้วยเหตุผลเดียวกับข้อ 1
    และ 2 อุบายวิธีนี้จึงฝึกปฏิบัติฯได้ยากเช่นกัน <o></o>[/FONT]
    [/FONT]
     
  3. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot] กลียุคหรือยุคเสื่อม ถือว่าเป็นปรากฏการณ์ตามปกติ ของการวนรอบของสรรพสัตว์สิ่ง ที่ตกอยู่ภายใต้ความจริงแท้
    ของกฎไตรลักษณ์ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ สลาย (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) เป็นธรรมดา การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
    ของพื้นผิวโลกอย่างรวดเร็ว สลับที่กันระหว่างพื้นน้ำ 3 ส่วน และพื้นแผ่นดิน 1 ส่วน เคยเกิดขึ้นมานับจำนวนครั้งไม่ได้
    เนื่องจากอายุขัยของมนุษย์ สั้นนัก ไม่เกิน 100 ปี แตกต่างจากพลังงานของชาวต่างดาวที่มีธาตุรู้อยู่นานเป็นหมื่นๆปี
    และ เมื่อมนุษย์เวียนว่ายจากตายมาเกิดใหม่อีกครั้ง ระบบความทรงจำ(สัญญา)ได้ถูกทำลายไป ตั้งแต่ ยังอยู่ในครรภ์ของแม่
    มนุษย์จึงจำอดีตที่เคยผ่านมาไม่ได้ นอกเสียจากบางคนที่ได้ฝึกจิตจน สามารถ รู้อดีต รู้อนาคต และรู้การเชื่อมโยง
    อดีตกับอนาคต รู้เหตุและผล เหตุและผลของแต่ละ เรื่อง แต่ละเหตุการณ์ อย่างเป็นขั้นตอน โดยไม่ผ่านสัญญาของใจและ
    สมองอย่างใดทั้งสิ้น<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ในเมื่อเรายังไม่สามารถรู้ได้ด้วยตนเอง ลองมาฟังเกร็ดความรู้ที่น่าสนใจ และ โปรดใช้ วิจารณญาณ ของแต่ละบุคคล
    ไตร่ตรองกันอีกครั้ง<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] เรื่องมีอยู่ว่า ในอดีตเมื่อประมาณ 2,500 ปีเศษ สมัยที่พระสมณโคดมพุทธเจ้ายังมี พระชนม์ชีพอยู่ มีพระประสงค์
    ต้องการเทศน์โปรดพระพุทธมารดาซึ่งสิ้นพระชนม์ไปตั้งแต่ประสูติ เจ้าชายสิทธัตถะได้เพียง 7 วัน กำลังเสวยบุญอยู่
    บนสวรรค์ชั้นดุสิต (คาดว่า น่าจะรอเป็น พระพุทธมารดาของพระพุทธเจ้าองค์ต่อไปอีกครั้ง)<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ท้าวสักกะเทวราช (พระอินทร์) อาสาเป็นแม่งานจัดเตรียมการต้อนรับ ใช้สถานที่สวรรค์ ชั้นดาวดึงส์ ด้วยเหตุผลสำคัญที่ว่า
    หากใช้สถานที่บนสวรรค์ชั้นดุสิต เหล่าเทวดา นางฟ้า คนธรรพ์ จากสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา คงไม่สามารถขึ้นไป
    ฟังธรรมเทศนาได้ เพราะอยู่สูง เกินกว่าอำนาจบุญที่มีอยู่จะบันดาลให้ขึ้นไปได้ <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ท้าวสักกะเทวราช มีลูกน้องเทวดา นางฟ้า ทั้งหมด 33 กลุ่ม หัวหน้าของแต่ละกลุ่ม มี ลูกน้องอีกกลุ่มละ 500 องค์
    <o></o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] การจัดสถานที่แสดงธรรมเทศนาโปรดพระพุทธมารดาในครั้งนั้น เป็นการแสดงฤทธิ์ของ คณะเทวดา นางฟ้า
    โดยใช้อำนาจบุญ (แสงสว่างสีเหลือง สีทอง สีขาว) เนรมิตสิ่งที่ต้องการใช้ ในงานขึ้นมา
    <o></o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] เมื่อถึงวันนัดหมาย พระพุทธองค์เสด็จไปถึงดาวดึงส์ ในชั่วพริบตาด้วย กายทิพย์ (กายละเอียด กายพลังงาน) และ
    ท่านเทวดาเนรมิตถ้ำปิดบังซ่อนกายหยาบ พร้อมทั้งมีการ ป้องกันอย่างเข้มงวด (เพราะถ้ากายหยาบถูกจับต้อง
    มีธาตุที่แตกต่างกันเข้าแทรก จะทำให้กาย ละเอียดกลับคืนสู่กายหยาบได้ยาก) <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] พระพุทธองค์ใช้เวลาแสดงธรรมในครั้งนั้นนานประมาณ 45 นาที ตามเวลาบนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์ และนานถึง 3 เดือน
    ตามเวลาของโลกมนุษย์ (ช่วงเข้าพรรษา-ออกพรรษา พอดี) วันส่ง เสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ เหล่าเทวดาผู้มีฤทธิ์
    ต่างแข่งขันกันปล่อยแสงสว่างรัศมีจากกาย ความสว่าง มีมากเหลือล้นจนสามารถเห็นได้ทั่วทั้ง 3 โลก ( สรวงสวรรค์
    มนุษย์โลก และ บาดาลที่อยู่ของ พญานาค)
    [FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] อานิสงส์ของการแสดงธรรมเทศนาในครั้งนั้น มีเหล่าเทวดา นางฟ้า บรรลุธรรมเป็น พระโสดาบันมากมายทีเดียว
    หากพวกเขาต้องการได้คุณธรรมที่สูงกว่า จนพ้นไปจากการ เวียนว่ายในสังสารวัฏ พวกเขาต้องจุติลงมาเกิดเป็นมนุษย์
    มีโครงสร้างที่ประกอบด้วย รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ จึงจะมีคุณสมบัติถึงพร้อมในการฝึกปฏิบัติธรรม
    [FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] ท้าวสักกะเทวราชและเหล่าเทวดาลูกน้อง ต่างปวารณาตนเองเพื่อค้ำจุนพระพุทธศาสนา ยุคพระสมณโคดมพุทธเจ้า
    ซึ่งมีอายุสืบทอดนานประมาณ 5,000 ปี ให้รอดพ้นจากยุคเสื่อม (กลียุค) ที่จะเกิด ขึ้นในอนาคต ถึง 5 ครั้งด้วยกัน
    เทวดาหลายองค์ได้รับอาสาขอลงมาจุติในโลก มนุษย์ตามวาระที่ต่างกัน เพื่อช่วยงานศาสนาในยุคเสื่อม คือ
    จะทำหน้าที่สอน-บอกธรรมะที่ถูก ต้องแก่ชาวพุทธในยามที่คำสอนที่แท้จริงถูกบิดเบือน ผู้ที่จะมาทำหน้าที่นี้เรียกว่า
    องค์ธรรมิกราช (ผู้เป็นใหญ่ในธรรม) ยุคเสื่อมได้ผ่านไปแล้ว 2 ยุค องค์ธรรมิกราชองค์ที่ 3 คงจะได้ทำหน้าที่
    สมดังตั้งใจที่อาสา ในเวลาอีกไม่นานนัก
    [FONT=&quot]<o></o>

    [/FONT]
    [/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <o:OfficeDocumentSettings> <o:RelyOnVML/> <o:AllowPNG/> </o:OfficeDocumentSettings> </xml><![endif]--><link rel="themeData" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> <w:UseFELayout/> </w:Compatibility> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:1; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} @font-face {font-family:"Browallia New"; panose-1:2 11 6 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin:0in; margin-bottom:.0001pt; text-align:justify; text-justify:inter-ideograph; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi; mso-fareast-language:ZH-CN; mso-bidi-language:AR-SA;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-bidi-font-size:11.0pt; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi; mso-fareast-language:ZH-CN; mso-bidi-language:AR-SA;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; text-align:justify; text-justify:inter-ideograph;} @page Section1 {size:8.5in 11.0in; margin:1.0in 1.0in 1.0in 1.0in; mso-header-margin:.5in; mso-footer-margin:.5in; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0in 5.4pt 0in 5.4pt; mso-para-margin:0in; mso-para-margin-bottom:.0001pt; text-align:justify; text-justify:inter-ideograph; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]กลียุคหรือยุคเสื่อม เกิดขึ้นเพราะ พลังงานเสื่อม จิตใจมนุษย์เสื่อมไปจากศาสนา[FONT=&quot] เป็นช่วงทดเวลาพิสูจน์ ความเข้มแข็ง[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot] อดทนของคนดี มีศีลธรรม เพราะรางวัลที่ได้คือโอกาสทองของการติวเข้ม การฝึกปฏิบัติธรรมหลังจากพ้นยุคเสื่อม[/FONT]
    [FONT=&quot] (ความเป็นปกติคืนกลับสู่โลกมนุษย์อีกครั้ง) [/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
     
  4. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot]วิปัสสนากรรมฐาน [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ตั้งอยู่[/FONT][FONT=&quot]”<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o>
    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] เมื่อโลกไร้สภาพ ยืด-หด[FONT=&quot]รับ-เหวี่ยง เนื่องจากพลังงานแม่เหล็กโลกได้ปกคลุมทุกอณูของ บรรยากาศจนทำให้โลก
    ตกอยู่ในสภาพ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทื่อ[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]แทบไม่มีช่องว่าง ผู้ฝึกปฏิบัติฯ จึงเห็นการกระทบ ที่มีการเกิด-ดับ ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
    ได้ยากยิ่งขึ้นตามลำดับ หากเป็นอาการของเวทนา (เจ็บปวด เมื่อย ชา ฯลฯ ) ผู้ฝึกปฏิบัติฯ จะเห็นได้แต่เพียงการ
    รวมตัว ตั้งอยู่ ของทุกข์ตลอดเวลา
    (ไม่เห็นอาการยืด คือเกิด ไม่เห็นอาการหด คือ ดับ) การฝึกปฏิบัติฯวิปัสสนา
    และทางเลือกของสุขภาพ ตามแนวทางของพระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ มีความสอดคล้องสัมพันธ์กับพลังงาน
    แม่เหล็กโลก การหมุนของโลก พลังกระแสลมปราณ และพลังมโนธาตุอย่างยิ่งยวด เพราะการ รักษาโรค
    ที่เนื่องด้วย [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]จิต[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]และ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]อารมณ์[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]หรือการรักษาโรคที่เกิดจากเชื้อโรค หรือความผิดปกติ ของเซลล์ให้หายขาด
    ด้วยตนเองจะต้องรักษาอย่างครบถ้วน ทั้งกายหยาบ และกายละเอียด[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]อุปกรณ์สำคัญในการฝึกจิต ได้แก่ จินตนาการ พลังงาน และจิตตั้งมั่น (ศรัทธา)[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot]<o>
    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] วิธีฝึกปฏิบัติ [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ตั้งอยู่[/FONT][FONT=&quot]”[/FONT][FONT=&quot] ([/FONT][FONT=&quot]ควรได้ฝึกปฏิบัติ 45 นาที หรือ 1 ชั่วโมง)[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] ท่านั่งสำหรับการฝึกจิต จะนั่งท่าใด อย่างไร หรือนอนฝึกปฏิบัติ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของ แต่ละบุคคล
    หลักสำคัญของการฝึก
    [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ตั้งอยู่[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]คือ ไม่พลิกแปรเปลี่ยนท่าขณะกำลังฝึก[/FONT][FONT=&quot] ท่านั่ง ที่สุภาพ สวยงาม ถูกต้อง
    คือการนั่งขัดสมาธิหรือพับเพียบ ตัวตั้งตรง มือขวาซ้อนบนมือซ้าย วางบนตัก หลับตาเบาๆ สร้างความรู้สึกว่า
    พร้อมแล้วที่จะลงมือฝึกปฏิบัติฯ[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] 1. ให้ผู้ฝึก[FONT=&quot]ผู้ป่วย เตรียมความพร้อมให้กับ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]จิต[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ด้วยการปล่อยวางความรู้สึก นึก และ คิด ให้ไหลออกไปพร้อมกับ
    ลมหายใจออกเป็นความว่างไปสักระยะหนึ่ง (ถ้าทำไม่ได้ให้ย้อนกลับไป อ่านใน [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทางรอด[/FONT][FONT=&quot]”)<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] 2. ถ้าอาการของเวทนา (เจ็บ ปวด เมื่อย ชา หนักฯลฯ) มีมาก ความรู้สึก (จิต) จะวิ่งไป หาจุดหรือตำแหน่ง
    ที่เจ็บปวดทันที ถ้าร่างกายปกติไม่มีความเจ็บปวด หากแต่ทุกคนต้องมี ความนึกซึ่งมีฐานอยู่ที่ ใจ หรือ
    ความคิดที่ติดอยู่ใน “สมอง” แต่ละคนต้องหาโจทย์ หาตำแหน่ง ภายในร่างกายเพื่อนำมาใช้ฝึกปฏิบัติ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] <o></o>[/FONT][FONT=&quot]3. ให้ผู้ฝึก ผู้ป่วย นึกไปยังตำแหน่งที่หาไว้ได้แล้ว และส่งจิต คือความรู้สึก (ไม่ใช่ลม หายใจเข้า-ออก) ไปแตะ
    กระทบ หรือชนยังตำแหน่งนั้นเพียงตำแหน่งเดียว เมื่อส่งจิตไปถึงยัง ตำแหน่งที่ต้องการได้แล้ว
    ให้ใช้คำกำกับว่า “ตั้งอยู่” และถอนความรู้สึกออกมา ทำซ้ำวิธีเดิม ที่เดิม ด้วยจังหวะประมาณ 1 วินาที ทำต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
    ไม่ฟุ้งซ่านไปยังที่อื่น เรื่องอื่น ลอง จินตนาการถึงการตีเทนนิสใส่ผนังกำแพง การใช้ค้อนตอกตะปู จังหวะที่ลูกเทนนิส
    ถูกตีออกไป กระทบกำแพงแล้ว ค้างไว้ จังหวะที่ค้อนตอกลงไปบนหัวตะปูแล้วค้างไว้ คือจังหวะที่จิต
    ส่งไปถึงตำแหน่งที่มีปัญหา พร้อมกับคำว่า ตั้งอยู่ และจังหวะที่ลูกเทนนิสกระดอนออกมาหาผู้เล่นอีกครั้ง
    จังหวะที่ค้อนถูกยกพ้น ออกมาจากหัวตะปู คือจังหวะที่ผู้ฝึก ผู้ป่วย ถอนจิต ถอนความรู้สึก ออกมาจากตำแหน่งที่มีปัญหา<o>

    </o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] 4. ไม่ใส่เจตนา หรือเครียด กับการฝึกปฏิบัติจนเกินไป ปล่อยความรู้สึกสบายๆ<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] 5. ผู้ฝึก ผู้ป่วย อาจจะยังไม่ชำนาญ หรือลื่นไหลไปกับจังหวะที่มี 2 จังหวะ คือ จังหวะ ส่งจิตเข้าไปถึง และ
    จังหวะถอนจิตออกมา
    จังหวะเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้เพลิดเพลินไปกับ การฝึกปฏิบัติฯ เหมือนไม่ถูกบังคับ
    หรือจำใจทำ ในช่วงแรกๆอาจจะทำไปช้าๆ (ช้ากว่า 1 วินาที) จิตตั้งมั่นอยู่กับตำแหน่ง และหน้าที่ในการส่งจิต
    ไปถึงตำแหน่ง ที่ต้องการอย่างสม่ำเสมอ ร่างกาย อาจจะโยกหรือส่ายเล็กน้อย ตามจังหวะการเคลื่อนที่
    ของจิตให้คล้อยตาม อย่าเกร็งหรือต้าน<o>

    </o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] 6. หากส่งจิตไปถึงพร้อมกับคำว่า ตั้งอยู่ แล้ว แต่รู้สึกว่า การกระทบ การชน ไม่แรงพอ ให้เพิ่มตัวเลขเข้าไปอีก
    เป็นตั้งอยู่ 1 ตั้งอยู่ 2 ตั้งอยู่ 3 … ตั้งอยู่ 100<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] 7. อาการทุกข์ “ตั้งอยู่” ของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน เหมือนการผูกเชือก จะมีเทคนิคใน การผูก หรือผูกหลวม ผูกแน่น
    ตามแรงและจุดมุ่งหมายที่มี หากทำได้สำเร็จ ผู้ฝึก ผู้ป่วยจะ สัมผัสได้ว่า อาการตั้งอยู่มีการตอบรับ คือมีแรงดีดกลับ
    เป็นระลอกๆ โดยอัตโนมัตินั่นหมาย ความว่า การเจริญสติเริ่มได้ผล ความรู้สึก ตึ๊บๆๆ ตึ๊บๆๆ จะเกิดตามมา
    หากสะสมแรงไว้ได้ มากพอ จะเห็นว่า อาการของเวทนาที่เคยมีมากจนตัวทุกข์รวมตัวเป็นก้อน
    จะถูกทำลายไป ด้วยการระเบิด หรือวาบออกไป
    แสดงว่าปมเชือกที่ผูกไว้ได้ถูกทำลายไปแล้ว 1 ปม<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 8. ลองสำรวจให้ทั่วตัวดูว่า มี “ปม” ทั้งปมหยาบ และปมละเอียด ถูกผูกไว้ที่ใดบ้าง ให้ แก้ไข ทีละปม ทีละตำแหน่ง
    จะทำได้สำเร็จมากน้อยขนาดไหน อาการวาบหรือระเบิดเป็นอย่างไร ผู้รู้ ก็รู้ได้เฉพาะตน สิ่งสำคัญคือ
    “อย่าเปลี่ยนท่าฝึกปฏิบัติ”<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ข้อ 1-8 เป็นวิธีฝึกปฏิบัติเพื่อแก้ไขในส่วนที่หยาบกว่าหรือกายหยาบ แต่แนวทางของการ ฝึกจิตในยุคเสื่อมนี้
    ต้องแก้ไขส่วนที่เป็นกายละเอียดหรือกายในกายอีกเปลาะหนึ่งด้วย<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 9. ให้ผู้ฝึก ผู้ป่วย หลับตานอกลืมตาใน และส่งความรู้สึก (จิต) ไปยังตำแหน่งเดิม หรือ ที่ปมปัญหาเดิม และ นึก
    ส่งความรู้สึกที่ได้ เช่น เจ็บ ปวด เมื่อย ชา ฯลฯ ไปยังผนังตา ซึ่งผนังตาจะรับภาพเป็นแสงสี เช่น สีเทา ดำ นวล
    หรือ ขาว ฯลฯ ให้ผู้ฝึก ผู้ป่วยใช้แสงสีที่ปรากฏ ที่ผนังตาเป็นตำแหน่งกำหนด ตั้งอยู่ๆๆ ไปจนกว่าสิ่งผิดปกติ
    ที่ผนังตาหายหมดไป ผู้ฝึก ผู้ป่วย จะสัมผัสได้ว่าเวทนาที่มีได้ทุเลาลงไปมาก

    ในระหว่างฝึกปฏิบัติฯ ข้อ 1-9 หากมีเสมหะให้บ้วนทิ้ง <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 10. การทำลายทุกข์ที่ “ตั้งอยู่” บางท่านอาจจะใช้เวลาเพียง 45 นาที หรือ 1 ชั่วโมง บางท่านอาจจะเป็น 1 วัน 1 เดือน
    หรือ 1 ปี หรือ หลายปี อย่าท้อหรือขี้เกียจ บอกตัวเองว่า “สิ่งนี้คือหน้าที่เพื่อตนเอง”<o>

    </o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] อานิสงส์ของการฝึกปฏิบัติ “ตั้งอยู่”<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot] 1. ในระดับปกติธรรมดา จะช่วยแก้ไขความบกพร่องทางกาย-จิต คือ ลดเจ็บลดปวด หรือ ลดกิเลสลงได้
    ตามความเพียรที่หมั่นฝึกปฏิบัติ เห็นความจริงว่า ทุกข์ ตั้งอยู่ได้ไม่นาน <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 2. ส่งผลให้บุคคลนั้นเข้าถึง “ทาง” หรือ “มรรค” หรือ “มีดวงตาเห็นธรรม” และใช้ “ทาง” ที่ได้นั้นเป็นประดุจอาวุธ
    ไปประหารกิเลสอื่นๆไปตามลำดับ จากหยาบไปหาละเอียด และ ผู้ที่เห็นธรรมเห็นได้ด้วย “ดวงตาของจิต” ไม่ใช่ตาเนื้อ<o></o>
    [/FONT]
     
  5. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot]พลังพีระมิด พลังงานบำบัด ทางเลือกของสุขภาพ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot] จากรายละเอียดของเหตุและผลหลายประการที่ผู้เขียนได้ให้ข้อมูลไว้แล้วในเบื้องต้น จึง พอสรุปได้ว่า
    มนุษย์กำลังเผชิญกับปัญหาวิกฤติด้านพลังงานที่สำคัญ อย่างไรบ้าง<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] 1. การบีบรัด ฝังแน่น ของพลังงานแม่เหล็กโลก เป็นสาเหตุเสื่อมของระบบทางเดินหายใจ จนแทบหมดโอกาสแก้ไข
    การเสื่อมถอยของเซลล์อย่างรุนแรง ภัยพิบัติธรรมชาติทุกรูปแบบ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 2. การขาดพลังกระแสลมปราณ และ พลังมโนธาตุ ในระดับชั้นบรรยากาศโลก เพราะ พลังงานทั้งสองชนิด
    ได้ลอยพ้นอยู่สูงขึ้นไป จนมนุษย์ไม่สามารถได้รับพลังงานทั้งสองอย่างนี้ ตามธรรมชาติโดยลมหายใจเข้า
    มนุษย์จึงมีภูมิต้านทานร่างกายและจิตใจต่ำลงเรื่อยๆ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 3. การไร้สภาพ แรงยืด-แรงหด แรงรับ-แรงเหวี่ยง เป็นการเพิ่มฤทธิ์ให้กับเชื้อโรคทุกชนิด ความสมดุลของพลังงาน
    ในร่างกายถดถอย การฝึกจิตฝึกปฏิบัติให้เห็นผลทำให้ยากยิ่งขึ้น หรือ กล่าวโดยรวมคือทำให้โทษจาก
    ข้อ 1-2 เพิ่มทวีคูณ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ด้วยการใช้แรงสืบต่อ หรือแรงสันตติ เพื่อค้นหาเหตุและผล เหตุและผล พระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ
    จึงได้ “พลังพีระมิด” มาช่วยแก้ไขปัญหาที่มนุษย์กำลังประสบในยุคพลังงานเสื่อม<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] อุปกรณ์ประกอบพลังพีระมิด ถูกนำมาใช้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 ผ่านการปรับปรุง ดัดแปลง ให้เป็นปัจจุบันขณะ
    ไม่เคยหยุดนิ่ง เพื่อเติมสิ่งที่ขาดในข้อ 1-3 โดยเฉพาะข้อ 3 เมื่อโลกไร้สภาพ แรงยืด-แรงหด แรงรับ-แรงเหวี่ยง
    มนุษย์จะไม่เห็นการกระทบทั้ง 2 แรง ทำให้การฝึกจิตแทบ ทำไม่ได้ อุปกรณ์ประกอบพลังพีระมิด
    รุ่นปรับปรุงใหม่จึงต้องสร้างสมดุลให้มีแรงทั้ง 2 แรง โดย ตัวเหรียญสุขภาพหรือเหรียญธรรมจักร
    ช่วยเพิ่มแรงยืด-แรงหด และหลอดแกนพีระมิดช่วยทำให้ แรงรับ-แรงเหวี่ยง เพิ่มมากขึ้น หากมีแนบไว้
    กับเนื้อใกล้หัวใจ พลังพีระมิดสามารถดึงพลังกระแส ลมปราณและพลังมโนธาตุจากชั้นบรรยากาศที่อยู่สูง
    แทรกเข้าสู่ร่างกายได้ทางลมหายใจเข้า และ ยังช่วยสะเทินพลังงานแม่เหล็กโลกออกจากร่างกายได้บ้าง
    (ถึงแม้จะไม่ได้ถึง 90% เหมือนดังใน อดีต แต่ยังอยู่ในเกณฑ์ที่ให้ความปลอดภัยต่อชีวิต) ดังนั้นในแง่ของการ
    ฝึกปฏิบัติฯพลังพีระมิดจะ ช่วยให้ ผู้ฝึก ผู้ป่วย ได้สัมผัสกับพลังงานที่ขาดหายไป ช่วยทำให้การฝึกจิตทำได้ง่าย
    และ เห็นผลเร็วขึ้น
    <o></o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] ผู้ฝึก ผู้ป่วย มีโอกาสเห็นอุปกรณ์ประกอบพลังพีระมิดรุ่นใช้ปัจจุบันได้จากงานฝึกอบรม<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot]<o>
    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] หลักการ ประโยชน์ และ วิธีใช้อุปกรณ์ประกอบพลังพีระมิด ทุกชนิด วิธี “ถู” และ “หมุน” อ่านได้จากหนังสือ “ทางรอด” <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] สำหรับหนังสือ “แสงสว่างที่ปลายทางรอด” จะแนะนำการหมุนวิธีเก่า ที่นำมาใช้ ใหม่ “ไหว นิ่ง ว่าง”<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ก้อนพีระมิดที่นำมาประกอบเป็นอุปกรณ์ประกอบพลังพีระมิดในปัจจุบัน เป็นแบบ เจาะ [FONT=&quot] 2 รู<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=&quot]<o>
    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเชื้อไวรัส 2009<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot] ทุกคนต่างทราบดีว่า ไม่มียาสูตรใดทำลายเชื้อไวรัสได้ และเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายทาง ลมหายใจเข้า
    หากแต่การมีภูมิต้านทานร่างกายสูงเป็นเสมือนเกราะป้องกัน ที่ทำให้เชื้อไวรัส ไม่น่ากลัว
    การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเป็นการสร้างภูมิต้านทานร่างกายได้อย่างหนึ่ง
    แต่แนวทางของพลังพีระมิด (พลังงานบำบัด) เป็นองค์รวมฯของการสร้างภูมิต้านทานร่างกาย
    จึงควรเลือกใช้อุปกรณ์ประกอบพลังพีระมิดแต่ละชนิดให้เหมาะสมกับตนเอง รวมทั้ง การดื่ม น้ำพลังพีระมิด
    รับประทานอาหารเสริมพลังพีระมิด และการฝึกปฏิบัติฯโดยใช้พลังพีระมิด ที่ช่วย ให้หัวใจ ปอดได้ออกกำลัง
    โดยอาศัยพลังขับเคลื่อนของจิต <o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] เชื้อไวรัส 2009 เป็นเชื้อไวรัสที่เป็นธาตุความดับ (ด่าง) วัคซีนแต่ละชนิดเป็นธาตุ ความเกิด (กรด)
    กรดกับด่างเข้ากันไม่ได้ฉันใด วัคซีนที่ผลิตขึ้นมาน่าจะสูญเงินเปล่า และทุกคน มีโอกาสรับเชื้อไวรัส 2009
    อย่างเท่าเทียมกันผ่านระบบทางเดินหายใจ<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] มนุษย์ส่วนใหญ่หายใจได้เพียงแค่คอ อย่างน้อยประมาณ 5 ปี ทำให้หัวใจ ปอด ทำงานได้ ไม่เต็มสูบ
    อยู่ในสภาพอ่อนแอ ยิ่งไปกว่านั้นเมื่อหายใจได้ไม่สะดวก ปริมาณก๊าซออกซิเจนจึงไม่ เพียงพอต่อกระบวนการ
    สันดาปอาหาร เมื่ออาหารที่รับประทานเข้าไปถูกเผาผลาญได้ไม่หมด เหลือตกค้างในร่างกาย
    นอกจากทำให้อ้วนแล้ว อาหารเหลือบางส่วนเปลี่ยนสภาพเป็นเสมหะ สะสมไว้มากที่ปอด
    กลายเป็นอาหารจานใหญ่ของเชื้อไวรัส<o>

    </o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] ทำไมคนหนุ่มสาว อายุยังน้อยเมื่อเป็นหวัดเชื้อไวรัส 2009 แล้วจึงเสียชีวิตมากกว่าผู้สูงวัย<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] เนื่องจากผู้สูงวัยมักจะมีจุดเสื่อมของร่างกายได้หลายที่ เชื้อไวรัสจึงกระจายแทรกตัวอยู่ในเนื้อเยื่อ
    ที่มีปัญหาเหล่านั้นทั่วร่างกาย หากแต่ คนหนุ่ม สาว มักจะไม่มีอาการปวดเข่า ปวดเอว เจ็บข้อ เจ็บคอ ฯลฯ
    เมื่อร่างกายรับเชื้อไวรัสโดยทางลมหายใจเข้า จึงไปรวมตัวที่ปอดซึ่งอ่อนแอ เป็นทุนเดิมอยู่แล้วเพราะ
    การยืด-หด ของกล้ามเนื้อปอดทำได้ไม่เต็มที่มานานหลายปีแล้วเช่นกัน และเชื้อไวรัส 2009 เป็นเชื้อโรค
    ธาตุความดับ จึงชอบสิ่งที่เป็นธาตุความดับคล้ายคลึงกันคือ เส้นเลือดดำ มิหนำซ้ำเมื่อได้อยู่ในบ้าน(ปอด)
    ที่อุดมไปด้วยแหล่งอาหาร(เสมหะ) เชื้อไวรัสจึง โตวันโตคืนเร่งการแพร่กระจาย จู่โจมทำลาย
    ทำให้การฟอกโลหิตต้องหยุดชะงัก ผู้ป่วยจึง ถึงแก่ชีวิตอย่างรวดเร็ว<o></o>
    [/FONT]
     
  6. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot]วิธีแก้ไขเมื่อเป็นหวัดเชื้อไวรัส[FONT=&quot] 2009 ด้วยพลังพีระมิด [/FONT][FONT=&quot](พลังงานบำบัด)<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] 1. ถ้ารู้ตัวว่าเป็นหวัด มีไข้สูงผิดปกติไม่จำเป็นต้องรอพิสูจน์ว่าเป็นเชื้อไวรัส 2009 หรือไม่ ให้รับประทาน
    สมุนไพรฟ้าทะลายโจรสูตร P1900 ทันที จำนวน 2 เม็ด และ หลังจากนั้น ให้รับประทาน วันละ 4 เวลา
    หลังอาหาร และ ก่อนนอน หากอาการดีขึ้นหรือหาย ให้หยุด รับประทานฟ้าทะลายโจรทันที แต่ถ้ายังไม่หาย
    รับประทานต่อเนื่องได้ ไม่เกิน 13 เม็ด (อ่าน “สมุนไพรฟ้าทะลายโจร”)<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 2. จิบน้ำพลังกระแสลมปราณ P1900 บ่อยๆ แต่ไม่ควรเกิน 400-500 cc ต่อวัน พลัง ความร้อนจากน้ำพลัง
    กระแสลมปราณ และสมุนไพรฟ้าทะลายโจรสูตร P1900 จะช่วยดันพิษไข้ ออกจากร่างกายได้เร็วทุกทวาร
    จึงอาจมีอาการคล้าย ท้องเสีย<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 3. ฝึกปฏิบัติฯด้วยวิธี “ถู” และ “ไหว นิ่ง ว่าง” ที่ปอดและหัวใจ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เพราะเส้นพลังพีระมิด พลังจิต
    จะช่วยดันเชื้อไวรัส 2009 ให้พ้นออกไป ไม่สามารถรวมตัวเป็น กองพลใหญ่ ทำให้อำนาจ หรือ ฤทธิ์
    ในการทำลาย ปอด หัวใจ อย่างรุนแรงเฉียบพลัน พลอย ลดต่ำลงไปด้วย<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] ผู้สนใจควรส่งเสริม และ ป้องกันสุขภาพด้วยหลักของพลังงานบำบัด เพื่อเพิ่มภูมิต้านทาน ร่างกายอย่างสม่ำเสมอ
    ทั้งการรับประทานอาหารเสริมพลังงาน ( สาหร่าย พลูคาว มะรุม ) น้ำพลังพีระมิด และการฝึกจิตด้วยพลังพีระมิด<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] อนึ่งการฝึกจิตด้วยพลังพีระมิดทุกวิธี ผู้ฝึกต้องมีพลังพีระมิดที่ใช้เป็นปัจจุบันอยู่ที่ร่างกาย 1 ชิ้น
    วางแถบแกนพีระมิดด้านหน้า 1 แถบ ด้านหลัง 1 แถบ และจะนั่งหันหน้าไปทางทิศใด
    ให้ติดตามทิศที่ถูกต้องได้จากงานอบรม (ปัจจุบันนี้ ปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2552 นั่งหันหน้า ไปทางทิศตะวันออก)<o></o>
    [/FONT]
     
  7. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot]การฝึกปฏิบัติฯ[FONT=&quot] “ไหว นิ่ง ว่าง”<o></o>[/FONT][/FONT]​
    [FONT=&quot] การฝึกปฏิบัติฯวิธีนี้ เคยเขียนไปแล้วหลายครั้ง เป็นวิธีฝึกปฏิบัติฯที่ใช้มานาน และใช้ได้ ทุกยุคทุกสมัย
    เป็นทั้งวิปัสสนากรรมฐานและรักษาโรค เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของ “การหมุน” ที่แตกต่างไปจาก
    การหมุนธรรมจักร มีจังหวะการทำงานของจิต ใน 1 รอบวินาที ด้วยกัน 3 ขั้นตอน<o>

    </o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] ไหว คือ การเริ่มเคลื่อนที่ของจิต<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] นิ่ง คือ ตัวปัญหา หรือ ตำแหน่ง ที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่นตำแหน่งความเจ็บปวด เมื่อย หนัก ชา มะเร็ง
    ปอดอักเสบ ฯลฯ และอารมณ์ของกิเลสตัณหา<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] ว่าง คือ จังหวะที่จิตดันตัวนิ่งออกไปเป็นความว่าง<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] วิธีฝึกปฏิบัติฯ [FONT=&quot](ควรได้ฝึกปฏิบัติ 45 นาที หรือ 1 ชั่วโมง)<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] 1. ผู้ฝึก ผู้ป่วย ต้องมีพลังพีระมิดอยู่ที่ตัว และวางแถบแกนพีระมิดขนาบด้านหน้า และ ด้านหลัง
    นั่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เลือกท่านั่งที่คิดว่าจะนั่งได้นานที่สุด หลับตาเบาๆ ปล่อยความรู้สึก นึก และคิด
    เป็นความว่างไปสักระยะหนึ่ง<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 2. ถ้าความรู้สึก “ว่าง” ได้ ผู้ฝึก ผู้ป่วย จะสัมผัสได้ว่าพลังพีระมิดดึงไปยังตำแหน่งที่มีปัญหาทันที
    ให้จำไว้เพราะ ตำแหน่งนั้นคือตัว “นิ่ง” (หากมีปัญหาหลายตำแหน่งให้ใช้ตำแหน่งที่รับความรู้สึกได้มากที่สุด
    เป็น ตัว “นิ่ง”)<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 3. เคลื่อนจิต (ความรู้สึก) ออกไปพร้อมกับคำว่า “ไหว” ฉะนั้นใช้ “ไหว” เข้าไปกำกับการเคลื่อนที่ของจิต
    หรือ ใช้ “ไหว” เข้าไปกำกับขณะที่จิตกำลังเคลื่อนออกไป<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 4. จิต “ไหว” ออกมาหาตัว “นิ่ง” พร้อมทั้งคำกำกับว่า “นิ่ง” และให้จิตนิ่งอยู่ที่ตัวปัญหานั้น และ<o>

    </o>
    [/FONT]
    [FONT=&quot] 5. จิต (ความรู้สึก) ดันตัว “นิ่ง” ออกไปเป็นความว่าง พร้อมกับคำว่า ว่าง<o>

    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] 6. ฝึก 3 จังหวะซ้ำ คือจิตเคลื่อนที่ออกพร้อมกับคำว่า ไหว และถึงจุดตำแหน่งที่มีปัญหา ใช้ จิตจับหรือ
    กุมไว้
    พร้อมกับคำว่า นิ่ง แล้วนึกดันตัวนิ่งให้สลายออกไปพร้อมกับคำว่า ว่าง (โปรดสังเกตว่าทั้ง 3 จังหวะ
    ไม่เกี่ยวข้องกับจังหวะของลมหายใจแม้แต่สักนิด หากทำแล้วรู้สึก เหนื่อย แสดงว่าทำผิด)<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 7. เมื่อฝึกปฏิบัติต่อเนื่องไปสักระยะหนึ่ง เกิดความคล่องตัว จังหวะลื่นไหลไม่ติดขัด จังหวะ ไหว นิ่ง ว่าง
    จะเคลื่อนที่เป็นวงกลม หรือรูปหยดน้ำ ใช้เวลา 1 รอบ ประมาณ 1 วินาที<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 8. ตำแหน่ง “นิ่ง” จะถูกพลังจิต พลังพีระมิดดันทำลายทิ้ง หากทำได้สำเร็จ ความเจ็บปวด หรือ
    กิเลสจะจางคลายหรือหายเป็นปลิดทิ้ง (อย่าเติมความอยากหายให้กับ “จิต”)<o>

    </o>
    [/FONT] [FONT=&quot] 9. เมื่อทำ ไหว นิ่ง ว่าง ที่กายหยาบหรือตำแหน่งเจ็บปวด กิเลสอารมณ์แล้ว ผู้ฝึก ผู้ป่วย
    ต้องตามมาแก้ไขที่กายละเอียดอีกครั้ง เพื่อให้หายขาด หายสนิท โดยให้ผู้ฝึก ผู้ป่วย หลับตานอก ลืมตาใน
    ส่งจิตเคลื่อนไปยัง “นิ่ง” ตำแหน่งเดิม นึกถึงความรู้สึกทุกข์ ปวดเจ็บ ที่เคยมี หรือ ยังมีเหลืออยู่
    ให้มาถึงผนังตา ซึ่งจะรับภาพเป็นแสงสี
    (ถึงแม้ผู้ฝึก ผู้ป่วย จะไม่เห็นแสงสีใดๆ ก็ไม่เป็นไร
    เพียงแต่ให้เชื่อว่า สามารถส่งความรู้สึกไปยังผนังตาได้แล้วจริง) ให้ผู้ฝึก ผู้ป่วยนึกทำ ไหว นิ่ง ว่าง
    ที่ผนังตา ด้วยเทคนิค 3 จังหวะ เหมือนอย่างที่เคยทำ จะสามารถถอนราก ถอนโคนตัวทุกข์อย่างได้ผลจริง<o></o>
    [/FONT]
     
  8. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    [FONT=&quot]บทสรุป[FONT=&quot]<o></o>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]​
    [FONT=&quot]<o>
    </o>
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] จิต[FONT=&quot] เป็นคำที่ไม่อาจแปลความหมายได้ แต่สัมผัสได้ว่า เป็นความรู้สึก[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] การฝึกจิต[FONT=&quot] คือ การหัดสร้างความรู้สึก การหัดสร้างความเคยชิน การหัดสร้างนิสัย ความคุ้นเคย
    เพราะจิต สามารถฝึกกันได้[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] แนวทางการฝึกจิตที่เป็นการฝึกปฏิบัติธรรม จะมีความหมายที่แคบเข้ามาอีกนิดหนึ่งว่า
    เป็นแนวทางการฝึกปฏิบัติของศาสนาพุทธ ที่เริ่มต้นจากการให้ทาน รักษาศีล สมาธิ ปัญญา ปัญญาวิมุติ
    และ วิมุติญาณทัสนะ
    [FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] สมาธิ ปัญญา (สมถกรรมฐาน และ วิปัสสนากรรมฐาน) มีวิธีการฝึกปฏิบัติที่แตกต่าง หลากหลาย
    เลือกได้ตามใจชอบ แนวทางของพระพุทธองค์มีทางเดินได้หลายเส้น แต่ทุกเส้นทาง ต้องเดินมาถึง
    จุดหมายเดียวกันคือ
    [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]หรือ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]มรรค[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]เป็นทางเพียงทางเดียว เป็นทางอันเอก บุคคลต้องเจอ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]มรรค[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]
    หรือ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ก่อน [/FONT][FONT=&quot] แล้วจึงค่อยใช้อริยมรรคมีองค์ [/FONT][FONT=&quot]8[/FONT][FONT=&quot] ช่วยประคองทางเดิน ไม่ให้เพลี่ยงพล้ำ ถลำ
    สุดโต่งไปด้านหนึ่งด้านใดจนสูญเสียความเป็นกลาง ซึ่งความเป็นกลางนี้ ไม่ใช่ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]กลาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ของวัตถุ สสาร
    สิ่งจับต้องได้ หรือ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]กลาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ของ [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ใจ[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ที่ยังมีตัวรู้ [/FONT][FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]วิญญาณธาตุ) ทำหน้าที่เสพอารมณ์อยู่
    บุคคลที่ถึง [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]แล้ว จึงจะเข้าใจความหมายของคำว่า [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทางสายกลาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ที่ไม่มีคำแปล[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] ผู้ที่ถึง [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]แล้ว เป็นเพียงผู้ที่เริ่มต้น เพราะเพิ่งมาถึง [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]เส้นชัย หรือจุดสิ้นสุดของการเดิน
    ทางยังอยู่อีกยาวไกล อาจเพลี่ยงพล้ำตกเหว ตกน้ำ บาดเจ็บเสียก่อน จึงต้องอาศัย ของดี [/FONT][FONT=&quot]8[/FONT][FONT=&quot] อย่าง
    มาช่วยค้ำจุน พยุงทาง[/FONT][FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]ดำรงองค์มรรค) เพื่อให้บุคคลผู้นั้นมี [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]ที่เคยได้ไว้ เป็นทางโล่งตลอดสาย
    ใช้ประหารกิเลส สิ่งที่ยังติดอยู่ จนกระทั่งสัญญาในสมองดับ ในช่วงแรกๆ จะเป็นความรู้สึกโล่งๆว่างๆ
    ยังนึกอดีต อนาคต ปัจจุบันไม่ได้ รอจนกว่าสามารถสำรอกอนุสัย ตัดกระแสทางโลกได้ขาดอีก [/FONT][FONT=&quot]2[/FONT][FONT=&quot] อย่าง
    คือ ถ้าตัดกามราคะ คือความรู้สึกพึงพอใจในกามได้ (ไม่ใช่เฉพาะเรื่องเพศ หากหมายรวมถึง
    การพอใจรักใคร่ในทุกสิ่งทุกอย่าง) จะทำให้รู้อดีต และ ถ้าตัดปฏิฆะ คือความขัดเคืองใจได้ จะรู้อนาคต
    จนกระทั่งเมื่อมรรคประหารขันธ์ [/FONT][FONT=&quot]5[/FONT][FONT=&quot] ได้หมดสิ้น โดยเฉพาะตัวเวทนา จึงเกิดความรู้ขึ้น โดยไม่ต้องผ่านการนึกและคิด
    เป็นตัวทัสนะ เห็นเหตุ และ ผล ของการเกิด-ดับ ของแต่ละอย่าง อย่างต่อเนื่องตาม เหตุ-ปัจจัย เห็นแรงสืบต่อ
    เพราะสิ่งนี้เกิด --- สิ่งนี้จึงมีอยู่ – เพราะสิ่งนี้ดับ --- สิ่งนี้จึงดับไปด้วย [/FONT][FONT=&quot] เห็นการวนรอบ
    ของทุกสิ่งทุกอย่าง (ปฏิจจสมุปบาท) และท้ายที่สุดคือการละแรงสืบต่อเข้าถึงความหลุดพ้น โดยสมบูรณ์[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]
    [FONT=&quot] [FONT=&quot]ทางเส้นนี้ จึงไม่มีใครเกิด ใครตาย[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]อีกต่อไป[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT]​
    [FONT=&quot] เป้าหมายของการฝึกปฏิบัติธรรม คือ ให้เห็นการตายก่อนตายจริง เป็นการตายของจิต
    ที่พ้นไปจากแรงดึงของใจ เท่ากับว่าได้ตายแล้วเกิดใหม่ แต่ถ้าหากต้องถึงแก่ชีวิตเพราะกรรมตัดรอน
    บุคคลผู้นั้นคงหมดโอกาสหา
    [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]ทาง[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]เจอ ดังนั้น การแสวงหาทางรอดจึงไม่ใช่ การ กลัวตายแต่อย่างใด[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] จิตที่ถูกฝึกดีแล้ว หัดให้คุ้นเคยกับการ [FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]นึก[/FONT][FONT=&quot]” [/FONT][FONT=&quot]สิ่งดีงามได้ง่ายๆทันที นึกของหอมก็รู้ว่าหอม
    นึกบุญได้ว่าเคยทำบุญอะไร ฯลฯ จินตนาการ พลังงาน (พลังจิต) และจิตตั้งมั่น จึงมีความสำคัญ
    เป็นอย่างยิ่งในการฝึกจิต จะเป็นการฝึกจิตเพื่อถึงซึ่งทางพ้นทุกข์ หรือฝึกจิตเพื่อช่วยให้ร่างกาย แข็งแรง
    ล้วนต่างเป็นวิธี [/FONT][FONT=&quot]“[/FONT][FONT=&quot]พึ่งตนเอง[/FONT][FONT=&quot]”[/FONT][FONT=&quot]ที่ควรส่งเสริม[/FONT][FONT=&quot]<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot] การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาจิต และ กายตามแนวทางของ พระอาจารย์รัตน์ รตนญาโณ ในปัจจุบันมีอยู่ด้วยกัน
    ทั้งหมด
    [FONT=&quot]1 แห่ง คือ<o>

    </o>[/FONT]
    [/FONT] [FONT=&quot]1. [/FONT][FONT=&quot]ศูนย์ฝึกอบรมสวนบูรณะรักษ์ธรรม อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ จัดฝึกอบรมทุกเดือน
    จัดขึ้นในสัปดาห์ที่ 1 หรือ 2 (ศุกร์-เสาร์-อาทิตย์)
    ติดต่อที่ คุณอมรา เชื้อพูล
    [/FONT][FONT=&quot][FONT=&quot]090 051 3541 ระหว่างเวลา 10:00 – 16:00 น.<o>
    </o>[/FONT]
    [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กันยายน 2014
  9. ลักษณาวดี

    ลักษณาวดี สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤศจิกายน 2011
    โพสต์:
    2
    ค่าพลัง:
    +0
    อาหารเสริมพลังงานหาซื้อได้ที่ไหนบ้างคะ
     
  10. malangpong

    malangpong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มกราคม 2010
    โพสต์:
    233
    ค่าพลัง:
    +813
    มีหลายช่องทางค่ะ

    1. ที่โรงแรมสวนดุสิตเพลส ที่ห้องอาหาร ส่วนของที่ขายขนมต่างๆ
    เบอร์โทรโรงแรม 02 2417571(ไม่ใช่เบอร์ตรงนะคะ ลองถามเจ้าหน้าที่นะคะ

    2. ติดต่อโดยตรงที่คุณอธิปัตย์ 085 622 8153
    (ราคา + ค่าจัดส่ง)

    3. ที่งานอบรมที่
    โรงแรมสวนดุสิตเพลส - เดือนมกราคม 21-22 ปีหน้า (เดือนหน้า)
     

แชร์หน้านี้

Loading...