เรื่องเด่น “ในหลวง”ทรงห่วงการบริหารน้ำ (แม้พ่อเหนื่อย แต่พ่อไม่เคยทิ้งลูก)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Komodo, 19 กันยายน 2011.

  1. kunzy

    kunzy สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 เมษายน 2011
    โพสต์:
    3
    ค่าพลัง:
    +0
    ทรงพระเจริญ ทรงพระเจริญ
     
  2. พนาวรรณ

    พนาวรรณ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    1,096
    ค่าพลัง:
    +767
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ มีสุขภาพแข็งแรงโดยเร็วพลันเทอญ.
     
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    <table class="infobox bordered vcard" style="width:22em; font-size: 90%; padding:5px;" cellpadding="5"><tbody><tr><td colspan="2" class="fn org" style="text-align:center; font-size: 1.25em; background-color:#B57EDC; color:#000000;">เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์</td> </tr> <tr> <td colspan="2" style="text-align: center;">[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <th>ชื่อทางการ</th> <td>เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์</td> </tr> <tr class="note"> <th>กั้น</th> <td>แม่น้ำป่าสัก</td> </tr> <tr> <th>ที่ตั้ง</th> <td>ตำบลหนองบัว อำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี และ
    บ้านคำพราน อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี</td> </tr> <tr> <th>อยู่ในความรับผิดชอบของ</th> <td>กรมชลประทาน</td> </tr> <tr class="note"> <th>ความยาว</th> <td>4,860 เมตร</td> </tr> <tr class="note"> <th>ความสูง</th> <td>31.50 เมตร</td> </tr> <tr> <th>ความกว้าง (ที่ฐาน)</th> <td>187.40 เมตร</td> </tr> <tr class="note"> <th>เริ่มต้นการก่อสร้าง</th> <td>2 ธันวาคม พ.ศ. 2537</td> </tr> <tr class="note"> <th>วันที่เปิด</th> <td>25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542</td> </tr> <tr> <th>งบประมาณ</th> <td>23,336 ล้านบาท<sup id="cite_ref-.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.8D.E0.B8.88.E0.B8.99.E0.B8.B2_0-0" class="reference">[1]</sup></td> </tr> <tr> <th colspan="2">ข้อมูลสะพาน</th> </tr> <tr> <th>ช่องถนน</th> <td>2 ช่อง</td> </tr> </tbody></table> เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เป็นเขื่อนดินกักเก็บน้ำที่ยาวที่สุดในประเทศไทย<sup id="cite_ref-moohin_1-0" class="reference">[2]</sup>ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพื่อ ป้องกันปัญหาน้ำท่วม เริ่มดำเนินการก่อสร้างในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 โดยกรมชลประทานเป็นผู้รับผิดชอบ<sup id="cite_ref-.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.8D.E0.B8.88.E0.B8.99.E0.B8.B2_0-1" class="reference">[1]</sup>
    ประวัติ

    สืบเนื่องจากปัญหาการเกิดน้ำท่วมในบริเวณลุ่มแม่น้ำป่าสักในฤดูน้ำหลาก และขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูร้อน อันเกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงพระราชทานพระราชดำริให้กรมชลประทานศึกษาความเหมาะสมถึงการสร้างเขื่อนเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2532 ซึ่งสามารถแก้ปัญหาได้ทั้งบริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง และบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอีกด้วย จนกระทั่งวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้เปิดโครงการก่อสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำแม่น้ำป่าสัก ภายหลังการศึกษาความเหมาะสม และผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมแล้ว<sup id="cite_ref-.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.8D.E0.B8.88.E0.B8.99.E0.B8.B2_0-2" class="reference">[1]</sup>

    เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ใช้เวลาดำเนินการก่อสร้างกว่า 5 ปี ตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2542 และทำพิธีปฐมฤกษ์กักเก็บน้ำเขื่อนในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2499 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีเสด็จมาเป็นองค์ประธาน และในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามเขื่อนแห่งนี้ว่า "เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์" อันหมายถึง "เขื่อนแม่น้ำป่าสักที่เก็บกักน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ "<sup id="cite_ref-.E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.8D.E0.B8.88.E0.B8.99.E0.B8.B2_0-3" class="reference">[1]</sup>
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงทำพิธีเปิดเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542<sup id="cite_ref-moohin_1-1" class="reference">[2]</sup>>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 ตุลาคม 2011
  4. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    <table class="infobox bordered vcard" cellpadding="5"><tbody><tr><td colspan="2" class="fn org" style="text-align:center; font-size: 1.25em; background-color:#B57EDC; color:#000000;">เขื่อนขุนด่านปราการชล</td> </tr> <tr> <td colspan="2" style="text-align: center;">[​IMG]
    </td> </tr> <tr> <th>ชื่อทางการ</th> <td>เขื่อนขุนด่านปราการชล</td> </tr> <tr class="note"> <th>กั้น</th> <td>แม่น้ำนครนายก</td> </tr> <tr> <th>ที่ตั้ง</th> <td>อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก</td> </tr> <tr> <th>อยู่ในความรับผิดชอบของ</th> <td>กรมชลประทาน</td> </tr> <tr class="note"> <th>ความยาว</th> <td>2,720 เมตร</td> </tr> <tr class="note"> <th>ความสูง</th> <td>93 เมตร</td></tr></tbody></table>

    เขื่อนขุนด่านปราการชล


    หรือเดิมเรียกว่าเขื่อนคลองท่าด่านเป็นเขื่อนคอนกรีตอัดบดยาวที่สุดในประเทศไทยและในโลก ตั้งอยู่ที่บ้านท่าด่าน ตำบลหินตั้ง อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก สร้างขึ้นตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเก็บกักน้ำในช่วงหน้าฝนไว้ในหน้าแล้ง และ ควบคุมไม่ให้เกิดน้ำท่วมบ้านเรือนราษฎร ไร่นาและพื้นที่การเกษตรในหน้าฝน โดยสร้างครอบฝายท่าด่านเดิม

    ความสำคัญ

    ที่ราบลุ่มนครนายกมีระดับน้ำใต้ดินมี การลดระดับหรือพื้นที่ลาดเทค่อนข้างมาก ทำให้น้ำไหลบ่ารุนแรงในช่วงฤดูฝน ส่วนบริเวณพื้นที่ชลประทานนครนายก เป็นพื้นที่ราบกว้างขวางมีระดับน้ำใต้ดินต่ำจึงเกิดปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดู แล้งส่วนในฤดูฝนกลับเกิดปัญหาน้ำท่วมเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบที่ มีความลาดเอียงน้อยทำให้น้ำระบายอกยากน้ำจึงท่วมขังเป็นเวลานาน การสร้างเขื่อนกั้นลำน้ำนครนายกตอนบนจึงเป็นการชะลอกระแสน้ำไม่ให้ไหลบ่า รุนแรงในฤดูฝนโดยจะกักเก็บน้ำไว้ และในทางกลับกัน จะสามารถกักเก็บน้ำเอาไว้ใช้ในฤดูแล้งได้แทนที่จะต้องเผชิญกับภัยแล้ง
    [แก้] โครงสร้างและลักษณะ

    ตัวเขื่อนขุนด่านปราการชลประกอบด้วยเขื่อนหลักและเขื่อนรองสร้างด้วย คอนกรีตบดอัด ปัจจุบันเป็น เขื่อนคอนกรีตบดอัดที่มีความยาวที่สุดในโลก มีความยาวรวม 2,720 เมตร ความสูง (สูงสุด) 93 เมตร รับน้ำที่ไหลจากอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ผ่านน้ำตกเหวนรกลงสู่อ่างเก็บน้ำ มีความจุ 224 ล้าน ลบ.ม. โดยทำให้มีน้ำในการทำเกษตรกรรม การอุปโภคบริโภค แก้ปัญหาดินเปรี้ยว เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และบรรเทาอุทกภัย เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ ของนครนายก นักท่องเที่ยวสามารถชมอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้จากบริเวณสันเขื่อน จะเห็นทิวทัศน์ด้านหน้าเขื่อน และชมทิวทัศน์เมืองนครนายกด้านหลังเขื่อน ในอนาคตมีโครงการจะสร้างแก่งเทียมเพื่อการท่องเที่ยวและกีฬา และเป็นสนามสลาลอมนานาชาติ ซึ่งจะเป็นแห่งเดียวในภูมิภาคนี้ หากก่อสร้างแก่งเทียมแล้วเสร็จ จะสร้างกิจกรรมท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการด้านการท่อง เที่ยวของจังหวัดนครนายกเพิ่มขึ้น
     
  5. swkarantee

    swkarantee Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มกราคม 2010
    โพสต์:
    303
    ค่าพลัง:
    +63
    https://www.facebook.com/news1005

    ในหลวง ทรงห่วงน้ำท่วม

    [​IMG]

    ในหลวง ทรงห่วงน้ำท่วม ทอดพระเนตร ระดับน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา พร้อมติดตามสถานการณ์น้ำท่วมทุกวัน รับสั่งทุกครั้ง "ต้องไม่ให้ประชาชนเดือดร้อน"

    นพ.ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ให้สัมภาษณ์ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงห่วงราษฎรที่ประสบปัญหาน้ำท่วมอย่างมาก โดยเฉพาะปัญหาจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตอนนี้กำลังเอ่อล้นตลิ่ง และปริ่มคันกั้นน้ำ ท่านทรงสอบถามข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตลอดเวลา และทรงทอดพระเนตรระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาทุกวัน ทางคณะผู้บริหารจากโรงพยาบาลศิริราช จะต้องรวบรวมรายงานสภาพอากาศและระดับน้ำจากที่ต่าง ๆ ทุกวัน เพื่อเข้าเฝ้าฯ ถวายรายงานสถานการณ์ทั่วไป โดยทรงสอบถามว่า คันกั้นน้ำแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงพยาบาลศิริราช แข็งแรงและเพียงพอหรือไม่ และทรงรับสั่งทุกครั้งที่เจ้าหน้าที่เข้าเฝ้าฯ ว่า "ต้องไม่ให้ประชาชนเดือดร้อน"

    นพ.ธีรวัฒน์ ยังกล่าวอีกว่า ก่อนหน้านี้ทางโรงพยาบาลศิริราช ได้มีโครงการตามแนวพระราชดำริ เรื่องการระบายน้ำคือ ถ้าหากมีน้ำล้นเข้ามาในบริเวณโรงพยาบาล ก็จะสูบทิ้งลงแม่น้ำเจ้าพระยาทันที ซึ่งขณะนี้ยังไม่มีปัญหาน้ำทะลักเข้ามาในโรงพยาบาลแต่อย่างใด

    สำหรับสถานการณ์น้ำท่วมในกรุงเทพมหานคร นายสัญญา ชีนิมิตร ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร (กทม.) กล่าวว่า พื้นที่ใน กทม. ยังคงปกติ แต่ยังต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะพื้นที่นอกคันกั้นน้ำทั้ง 27 ชุมชน ซึ่งในช่วงที่กระแสน้ำหลากลงมา หนุนให้น้ำสูง แต่จะลดลงไปเองใน 2 - 3 ชั่วโมง
     
  6. CopperOxide

    CopperOxide เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    321
    ค่าพลัง:
    +289
    พระองคฺ์ท่านทรงสอบถามเกี่ยวกับความแข็งแรงของคันกั้นน้ำแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณโรงพยาบาลศิริราช ... ชัดเจนขนาดนี้แล้วประชาชนชาวกรุงเทพเองยังต้องรอคำตอบคำแถลงจากรัฐบาลเกี่ยวกับน้ำท่วมกรุงเทพอีกเหรอครับ อย่าประมาทชะล่าใจ เตรียมตัว เตรียมสเบียง เตรียมสถานที่ ให้พร้อมเถอะครับ

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
     
  7. agga

    agga เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2010
    โพสต์:
    916
    ค่าพลัง:
    +148
    รักในหลวงด้วยชีวิต
     
  8. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]




    [​IMG]


    ไม่อยากให้พ่อเหนื่อย<O></O>
    <O></O>
    พ่อเป็นคำที่-ชั่งยิ่งใหญ่ พ่อเหน็ดเหนื่อยมาเท่าไร จะเดินตามคำสอนพ่อ<O></O>
    ไม่ต้องกลัวพายุพัดโหมรุนแรง มีพ่อคอยดูแลคุ้มครอง<O></O>
    <O></O>
    รักพ่อ ไม่อยากให้พ่อเหนื่อย พ่อทำทุกอย่าง เพื่อลูก ๆ ได้เสมอ<O></O>
    รักพ่อ ไม่อยากให้พ่อเหนื่อย ลูกจะทำความดี เพื่อให้พ่อภูมิใจ <O></O>
    ลูกจะเป็นคนดี (ลูกจะเป็นคนดี) ของพ่อตลอดไป<O></O>
    (ซ้ำตั้งแต่ต้น)
    <O></O>

    กราบอนุโมทนา ขอกุศลส่งบุญผลงานสร้างสรรค์บทเพลง โดย (คุณเจี๊ยบ) พิสุทธิ์ ทรัพย์วิจิตร<O></O>
    บริษัท ธิงค์แอนด์ดู จำกัด : ๑๙๙ .ลาดปลาเค้า ๓๙ แขวงจระเข้บัวเ ขตลาดพร้าว กรุงเทพ๑๐๒๓๐<O></O>
    “ ดนตรีพิสุทธิ์ดนตรีให้กับผู้ด้อยโอกาส “

    [​IMG]


    <O>
    </O>




    [MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.1709946/[/MUSIC]​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 ตุลาคม 2011
  9. sutamas_t

    sutamas_t Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    63
    ค่าพลัง:
    +42
    ท่านใดมีเพลงครองแผ่นดินโดยธรรม บ้างคะ จะดาวน์โหลดใส่มือถือไว้ฟังค่ะ
    รบกวนส่งไฟล์ให้หน่อยนะคะ ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ
     
  10. pongsakn

    pongsakn สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มกราคม 2011
    โพสต์:
    53
    ค่าพลัง:
    +12
    ยุคพ่อแม่ปู่ย่าตายายเคยตะโกนร้องว่า "ในหลวงอย่าทิ้งประชาชน" ขณะที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จกลับไปศึกษาต่อที่ประเทศสวิส ในหลวงทรงตรัสตอบว่า "ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนได้อย่างไร" นี่คือยุคที่ประชาชนกับพระเจ้าอยู่หัวแนบแน่นต่อกันเป็นอย่างมาก หลังจากนั้นในหลวงทรงสละทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อประชาชนคนพระองค์ แล้วพวกเราในยุคนี้จะไม่สละทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อในหลวงหรือ
     

แชร์หน้านี้

Loading...