ปราบโรคไข้เลือดออกและโรคชิคุนกุนยาได้แล้ว

ในห้อง 'จิตวิทยา & สุขภาพ' ตั้งกระทู้โดย วสุธรรม, 26 ธันวาคม 2009.

  1. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    :cool::cool::cool::cool::cool:
    ไข้เลือดออกที่เป็นในเด็กๆ สามารถรักษาได้หายเร็วมาก

    ขอเชิญทดลองรักษาโดยวิธีของผมได้ ใช้วิธีเดียวกันกับโรคมึนหัว
    โดยเน้นการรับประทานอาหารหมู่โปรตีน ปริมาณมากๆ

    http://palungjit.org/threads/รักษาโรคมึนหัว-อ่อนเพลีย-โรคภูมิแพ้-โดยวิธีง่ายๆ.217163/

    ผมได้ให้คำแนะนำเรื่องนี้มานานนับสิบปี มีเด็กๆหายด้วยวิธีการรักษาง่ายๆ
    ดังกล่าวนับไม่ถ้วนแล้ว

    วิธีการรักษา ผมได้รับการดลใจจากหลวงปู่ชีวกฯ บรมครูคนหนึ่งของผม
    ขออนุโมทนาบุญแก่ท่านด้วยครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กุมภาพันธ์ 2010
  2. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ถั่วเหลือง

    ถั่วเหลืองเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญทั้งโปรตีนและไขมัน โดยเมล็ดมีโปรตีนประมาณ 38-40 เปอร์เซ็นต์ มีน้ำมันประมาณ 18-20 เปอร์เซ็นต์ (ของน้ำหนักเมล็ดแห้ง) โปรตีนของถั่วเหลืองมีคุณภาพดีมาก ในด้านองค์ประกอบของกรดอะมิโน โดยเฉพาะ lysine และ tryptophan สูงกว่าเมล็ดธัญญพืชอื่น ๆ น้ำมันถั่วเหลืองมีกรดไขมันที่อิ่มตัวเพียง 12-14 เปอร์เซ็นต์ แต่มีกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวสูงถึง 86-88 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ประกอบด้วยกรด oleic 30-35 เปอร์เซ็นต์ กรด linoleic 45-55 เปอร์เซ็นต์ และกรด linolenic 5-10 เปอร์เซ็นต์ <o>

    </o>
    นอกจากโปรตีนและไขมันถั่วเหลืองมีคุณค่าอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ โดยเมล็ดถั่วเหลืองมีเลซิตินสูง 1,480 มิลลิกรัมต่อ <st1:metricconverter w:st="on" productid="100 กรัม">100 กรัม</st1:metricconverter> เลซิตินมีประโยชน์ต่อร่างกายของผู้บริโภคคือ ทำหน้าที่เป็นตัวละลายโคเลศเตอรอล ไตรกรีเซอไรด์ และไขมันอื่น ๆ ป้องกันไม่ให้ไขมันไปเกาะติดผนังเลือด ตับและอวัยวะอื่น ๆ ช่วยซ่อมแซมเซลล์ที่สึกหรอ ส่งเสริมการทำงานของเซลล์ให้มีประสิทธิภาพอย่างสม่ำเสมอ ให้ความชุ่มชื้นแข็งแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ ตับ ไต และต่อมไร้ท่อ ตลอดจนการไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น รักษาผิวพรรณ รอยตกกระบนผิวหนังและป้องกันการเกิดนิ่วในถุงน้ำดี สารสกัดจากเมล็ดถั่วเหลืองชื่อ isoflavones เป็นสารช่วยเพิ่มมวลกระดูกลดความเสี่ยงจากโรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) ลดอาการจากสาเหตุการหมดประจำเดือน หรืออาการวัยทอง (MenopausalSymptoms) ลดความเสื่อมจากการเกิดมะเร็งเต้านม (Breast cancer) มะเร็งต่อมลูกหมาก (Prostate cancer) และโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (Coronary Heart Disease)

    คุณค่าทางด้านสุขภาพของถั่วเหลือง <o></o>
    เลซิติน พบในทุก ๆ เซลล์ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และของพืชผักต่าง ๆ สำหรับในเซลล์มนุษย์นั้น จะพบเลซิตินหนาแน่นที่สุดในสมอง ตับ ไต และในกระดูกอ่อน ถั่วเหลืองมีเลซิตินสูงมากถึง 1,480 มิลลิกรัมต่อ <st1:metricconverter w:st="on" productid="100 กรัม">100 กรัม</st1:metricconverter> และในบ้านเรามีอาหารดังกล่าวอุดมสมบูรณ์ ถ้าเราสามารถรับประทานอาหารเหล่านี้เพียงวันละ <st1:metricconverter w:st="on" productid="100 กรัม">100 กรัม</st1:metricconverter> ร่างกายจะได้เลซิตินเกินความต้องการ
    <o>
    </o>
    <o>ประโยชน์ของเลซิตินต่อร่างกาย<o></o>
    1. ทำหน้าที่เป็นตัวละลายโคเลสเตอรอล ไตรกรีเซอไรค์ และไขมันอื่น ๆ ที่อยู่ในหลอดเลือดให้แตกตัวเป็นอนุภาคเล็กที่สุด และแล้วไขมันที่แตกตัวเหล่านี้จะรวมตัวเข้าเป็นเนื้อเดียวกันกับโลหิตไหลเวียน ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ในร่างกาย เลซิตินจึงเป็นสารอาหารป้องกันไม่ให้ไขมันดังกล่าวไปเกาะที่ผนังหลอดเลือด ซึ่งจะทำให้หลอดเลือดแคบลงและตีบตันในที่สุด<o></o>
    2. ป้องกันไขมันเกาะที่ตับและอวัยวะที่สำคัญอื่น ๆ ซึ่งจะทำให้การปฏิบัติงานไม่สะดวก<o></o>
    3. เลซิติน เป็นส่วนประกอบของแผ่นเนื้อเยื่อบาง ๆ หุ้มรอบเส้นใยประสาท (Myelin)
    4. เลซิติน เป็นตัวที่ทำให้เกิดโคลีน ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างสารเคมีชนิดหนึ่งสำหรับระบบประสาทที่ให้สัญญาณในการสื่อสาร ผู้ที่ร่างกายมีระดับโคลีนต่ำ จะทำให้จิตใจหดหู่ เศร้าหมอง หลงลืม และไม่สมาธิ อาหารเหล่านี้มักจะเป็นอาการที่เกิดกับผู้สูงอายุ นอกจากนี้ โคลีนจะช่วยปล่อยฮอร์โมนวาโสเพรสซิน (Vasopressin) ออกมา ซึ่งมีความสำคัญเกี่ยวกับความจำ การเรียนรู้การควบคุมปริมาณของปัสสาวะและควบคุมความดันโลหิต<o></o>
    5. เลซิตินทำหน้าที่ซ่อมแซมเซลล์สึกหรอ ส่งเสริมการทำงานของเซลล์ให้มีประสิทธิภาพอย่างสม่ำเสมอ ให้ความชุ่มชื้น แข็งแรงโดยเฉพาะ กล้ามเนื้อหัวใจ ตับ ไต และต่อมไร้ท่อ ตลอดถึงการไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น <o></o>
    6. รักษาผิวพรรณ ลดรอยด่าง รอยตกกระบนผิวหนัง และสีคล้ำรอบขอบตา เนื่องจากการเกาะของไขมัน<o></o>
    7. ป้องกันนิ่วในถุงน้ำดี ซึ่งเกิดจากการตกตะกอนของโคเลสเตอรอลในถุงน้ำดี<o></o>
    8. ควบคุมและส่งเสริมการทำงานของระบบประสาทให้ปกติสม่ำเสมอ ไม่ให้มีความกระวนกระวายใจ ไม่ให้เหนื่อยง่ายหรืออ่อนเพลียได้ง่าย
    สิ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับเลซิติน ในแง่ของขบวนการกักกัน (Blood-brain barrier) <o>

    </o> ขบวนการกักกันนี้จะคอยป้องกันสมองไม่ให้รับสิ่งต่าง ๆ จากกระแสโลหิตโดยตรงอย่างไรก็ดี มีสารบางอย่างที่สามารถซึมผ่านขบวนการกักกันนี้ได้ สารนั้นได้แก่ เลซิติน สุรา ยานอนหลับ และยาระงับประสาทต่าง ๆ (Narcotics) หมายความว่า ทุกครั้งที่เรารับประทานสิ่งดังกล่าวแล้ว มันจะมีผลถึงสมองทันที ที่เข้าไปในกระแสโลหิต ดังนั้น เลซิตินจึงเป็นอาหารเสริมที่ถึงสมองทันทีที่รับประทาน<o>

    </o> สำหรับผู้ที่ดื่มสุราหรือรับประทานยาพวกนี้ จะเห็นได้ชัดว่ามีผลกับสมองโดยตรงและไปถึงประสาทที่ให้สัญญาณในการสื่อสาร หรือ ที่เรียกว่า เซลล์สื่อประสาท ซึ่งควรจะระวังมาก ๆ นอกจากจะทำลายสุขภาพของสมองและรับประสาทแล้ว ยังทำให้เกิดอาการขี้ลืมด้วย<o>

    </o> สตรีวัยก่อนหมดประจำเดือน หรือหลังหมดประจำเดือนแล้วก็ตามจะมีความเสี่ยงในการเป็นโรคกระดูกผุบาง แพทย์จึงมักรักษาโดยการให้ฮอร์โมนทดแทน ซึ่งจะมีปัญหาตามมาอีก คือ มีความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งที่เต้านม ถ้าใช้ฮอร์โมนทดแทนนานเกิน 5 ปีขึ้นไป (ยังต้องรอผลการศึกษาใหม่ว่าอาจจะมีโอกาสน้อยหรือไม่เป็นเลย) <o>

    </o> ในสารสกัดจากถั่วเหลืองจะมี ISOFLAVONES ซึ่งเป็นสารที่มีประโยชน์ในสตรีวัยทอง เพราะออกฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเอสโตรเจน (PHYTOESTROGEN) แต่อ่อนกว่ามากจะช่วยเพิ่มมวลกระดูกให้หนาแน่นขึ้น (bonemass) โดยลดการละลายแคลเซียมออกจากกระดูก นอกจากนี้แล้ว ISOFLAVONES ยังลดอาการหมดประจำเดือนอย่างอื่น ๆ อีก เช่น อาการร้อนวูบวาบ เหงื่อแตก ไขมันสูง ช่องคลอดแห้ง อารมณ์ไม่ปกติ เป็นต้น ในสัตว์ทดลองปรากฏว่าช่วยลดการเกิดมะเร็งเต้านม มะเร็งช่องคลอด มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก อย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งต้องการการศึกษาเพิ่มเติมอีกมาก<o>

    </o>
    <o>
    </o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 26 ธันวาคม 2009
  3. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    โรคติดเชื้อกลุ่มไวรัสไข้เลือดออก<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <HR align=center SIZE=2 width="100%">
    บทนำ

    ไวรัสเดงกี เป็นเชื้อต้นเหตุก่อโรค
    ไข้เลือดออกที่สำคัญในประเทศไทย เริ่มมีการระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2501 ในปัจจุบันนับได้ว่าโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดเชื้อ ที่นำโดยยุงลาย (Aedes aegypti ) ที่มีความสำคัญมาก <o:p></o:p>
    โดยพิจารณาทางด้านสาธารณสุขที่มีผู้ป่วยในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สำหรับในปี 2545 มีรายงานผู้ป่วย 99,815 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 160.19 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 146 ราย คิดเป็นอัตราผู้ป่วยเสียชีวิตเท่ากับร้อยละ 0.23

    ไวรัสเดงกีเป็น single stranded RNA virus อยู่ใน Family Flaviviridae มี 4 serotypes คือ DEN1, DEN2, DEN3 และ DEN4 ซึ่งมี antigen ของกลุ่มบางชนิดร่วมกัน ทางทฤษฎีการติดเชื้อเดงกีจึงมีได้ถึง 4 ครั้ง เป็นที่ยอมรับกันว่าการติดเชื้อ serotype หนึ่งแล้ว จะสามารถป้องกันการติดเชื้อ serotype นั้นได้ตลอดชีวิต แต่ป้องกันการติดเชื้อ serotype อื่น ในช่วงระยะสั้นๆ ประมาณ 6-12 เดือน
    การติดเชื้อไวรัสเดงกี
    เริ่มจากคนถูกยุงที่มีเชื้อไวรัสกัด โดยเฉพาะยุงลาย Aedes aegypti ซึ่งเป็นพาหะสำคัญ ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 3-4 วัน (ส่วนใหญ่ประมาณ 2-7 วัน) คนส่วนใหญ่ติดเชื้อโดยไม่แสดงอาการ แต่ผู้ติดเชื้อส่วนหนึ่งจะแสดงอาการ ซึ่งจำแนกเป็นกลุ่มอาการของโรคดังนี้ คือ undifferentiated febrile illness, classical dengue fever, dengue hemorrhagic fever และ dengue shock syndrome ผู้ป่วยไข้เลือดออกเริ่มด้วยอาการไข้สูงเฉียบพลัน ช่วงเวลามีไข้นี้ กินเวลาประมาณ 2-10 วัน ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับการพบไวรัสเดงกีในกระแสเลือด ที่เรียกว่า viremia ซึ่งเกิดก่อนมีไข้ประมาณ 24 ชั่วโมง ปริมาณไวรัสเดงกีในกระแสเลือด อาจอยู่ระดับต่ำหรือสูง ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ (strain) ของไวรัส และความสามารถของระบบภูมิคุ้มกันที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อกำจัดไวรัสนั้น viremia นั้นมักมีระดับสูงสุด เมื่อผู้ป่วยเริ่มมีอาการ และสามารถตรวจหาไวรัสในกระแสเลือดได้นานประมาณ 2-12 วัน<o:p></o:p>
     
  4. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ยุงชอบกัดคนประเภทไหน <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คุณคงเคยสังเกตพบว่ายุงชอบกัดคนบางคนมากกว่าเพื่อนๆ ที่นั่งอยู่ด้วยกัน สาเหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะผลจากการวิจัยพบว่า :-<o:p></o:p>
    • ยุงชอบกัดคนที่มีเหงื่อออกมาก <o:p></o:p>
    • ยุงชอบกัดคนที่ตัวร้อน (อุณหภูมิบริเวณผิวหนังสูง) <o:p></o:p>
    • ยุงชอบกัดคนที่หายใจแรง เพราะคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมากับลมหายใจเป็นตัวดึงดูดยุง <o:p></o:p>
    • ยุงชอบกัดเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ เพราะกลิ่นและลักษณะผิวหนัง <o:p></o:p>
    • ยุงชอบกัดผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เพราะฮอร์โมนแตกต่างกัน <o:p></o:p>
    • ยุงชอบกัดคนที่ใส่เสื้อผ้าสีเข้ม เช่น สีดำ กรมท่า แดง เขียว มากกว่าสีขาว <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 36.48%; BACKGROUND: #99ffff; mso-cellspacing: 1.5pt" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="36%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0.75pt; WIDTH: 97.56%; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0.75pt" width="97%">
    ทำไมยุงกัดแล้วคัน<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    สาเหตุของการคันคือ น้ำลายของยุง โดยที่ยุงจะฉีดน้ำลายลงไปในบริเวณที่เจาะดูดเลือด เพื่อทำให้เลือดเจือจางลง จะได้ดูดขึ้นไปได้ง่าย น้ำลายของยุงทำให้คนเราเกิดอาการแพ้ต่างๆ กัน บางคนแค่มีอาการคัน แต่บางคนแพ้มากเกาจนเป็นแผลลุกลาม ติดเชื้อได้ง่าย
    ในน้ำลายของยุงอาจมีเชื้อโรคร้าย เป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้แก่ เชื้อไวรัสเดงกี ไวรัสเจอี หรือเชื้อสปอร์โรซัว หรือ หนอนพยาธิ ก่อให้เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคไข้สมองอักเสบเจอี โรคมาลาเรีย โรคฟิลาเรีย หรือโรคเท้าช้าง ฯลฯ

    <o:p></o:p>
     
  5. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    <TABLE style="WIDTH: 192.38%; BACKGROUND: #ffff99; mso-cellspacing: 1.5pt" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="192%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0.75pt; WIDTH: 99.54%; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0.75pt" width="99%">ป้องกันไม่ให้ยุงกัดได้อย่างไร<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <o:p> </o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 98.64%; mso-cellspacing: 1.5pt" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="98%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0.75pt; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0.75pt; WIDTH: 99.08%; PADDING-RIGHT: 0.75pt; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0.75pt" width="99%">
    • จัดสภาพบ้านให้เรียบร้อย ไม่เป็นแหล่งอาศัยของยุง และป้องกันไม่ให้มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงบริเวณบ้าน <o:p></o:p>
    • ไม่เลี้ยงสัตว์ไว้ใต้ถุนบ้าน เพราะยุงบางชนิด เช่นยุงพาหะโรคไข้สมองอักเสบชอบกัดสัตว์ จึงเป็นการดึงดูดยุงเข้ามากัดคนได้ <o:p></o:p>
    • นอนในมุ้งหรือติดมุ้งลวด หรือใช้พัดลมเป่าไม่ให้ยุงเข้าใกล้ <o:p></o:p>
    • ใช้สารไล่แมลง หรือสารป้องกันแมลง (repellents) ซึ่งผลิตจากสารธรรมชาติ เช่น ตะไคร้หอม ไพล ขมิ้นชัน มะกรูด ยูคาลิปตัส ฯลฯ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติสามารถป้องกันยุงได้ประมาณ 30 นาที - 4 ชั่วโมง ในการพัฒนาตำรับต้องนำมาเติมสารตรึง (fixative) จึงจะป้องกันยุงได้นานขึ้น <o:p></o:p>
    • ใช้ผลิตภัณฑ์ทาป้องกันยุงซึ่งผสมสารเคมีสังเคราะห์ที่ไม่เป็นอันตราย เช่น Ethyl Butylacetylaminopropionate, Picaridin, Deet , Dimethyl Phthalate (DMP), Ethyl Hexanediol ฯลฯ ทาบริเวณแขน ขา จะป้องกันยุงได้ประมาณ 2-8 ชั่งโมง <o:p></o:p>
    • ใช้ยาจุดกันยุง เครื่องไล่ยุงไฟฟ้า <o:p></o:p>
    • หากพบว่ามียุง ใช้ไม้ตียุงไฟฟ้า หรือใช้น้ำยาล้างจาน 1 ส่วนผสมน้ำ 4 ส่วน ใส่กระบอกฉีดพ่น <o:p></o:p>
    • ใช้ผลิตภัณฑ์กำจัดยุงกระป๋อง ฉีดเฉพาะบริเวณมุมอับ ใต้เตียง ใต้โต๊ะ ทิ้งไว้ 15-30 นาที ก่อนเข้าไปในห้อง <o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  6. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ยุงบริเวณบ้าน พบแล้วจะทำอย่างไร<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    หลายท่านคงเคยมีปัญหาเกี่ยวกับยุงเริ่มตั้งแต่ถูกยุงกัดแล้วเกิดความรำคาญ บางทีอาจป่วยด้วยโรคที่นำโดยยุง เช่น โรคไข้เลือดออก ในฐานะที่มีกลุ่มกีฏวิทยาทางการแพทย์เป็นหน่วยงานหนึ่งในสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ซึ่งทำงานเกี่ยวกับยุง ดังนั้นจึงขอนำเสนอความรู้อันดับแรกเกี่ยวกับยุงบริเวณบ้านพักอาศัยและการป้องกันกำจัด เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานได้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับยุงดียิ่งขึ้น แล้วอาจกลับไปตรวจดูบริเวณบ้านพักของตนเอง แล้วทำให้บ้านของท่านเป็นบ้านที่เป็นเขตปลอดยุง โดยถ้ามีการดำเนินการอย่างเข้มแข็งก็อาจมีกิจกรรม ประกวดบ้านปลอดยุงของเจ้าหน้าที่ก็ได้ มีรางวัลมากมายอย่างน้อยรางวัลที่ได้ก็คือบ้านไม่มียุง

    โดยมากเมื่อคิดถึงการควบคุมยุง จะนึกถึงแต่การใช้สารเคมีกำจัด เช่น กระป๋องเคมีที่มีหัวฉีดพร้อม (aerosol) กำจัดยุงหรือแมลง ยาจุดกันยุง เป็นต้น ซึ่งเป็นวิธีควบคุมยุงแบบชั่วคราวที่ต้องมีความระมัดระวังในการนำไปใช้ ในเมื่อยุงอยู่ในบ้าน คงไม่ต้องรอให้รัฐเข้ามากำจัดยุงในบ้าน เว้นแต่ในกรณีที่จะมีการระบาดของโรคที่นำด้วยยุง เช่น โรคไข้เลือดออก ถ้าไม่ต้องการให้เกิดปัญหาดังกล่าวคงต้องรีบดำเนินการควบคุมยุงในบริเวณบ้าน สำหรับการดำเนินการควบคุมนั้นอย่างน้อย ต้องมีความรู้เกี่ยวกับยุงบริเวณบ้าน เช่น แหล่งเพาะพันธุ์ยุง อุปนิสัย เป็นต้น และวิธีการควบคุมที่เหมาะสม แม้แต่หน่วยงานควบคุมยุงหรือแมลงพาหะของ WHO ยังใช้ชื่อว่า Division of Vector Biology and Control เป็นการชี้ให้เห็นว่า ต้องมีความรู้ทั้ง 2 ด้านมาประกอบ ให้เกิดการทำงานเป็นแบบองค์รวมไปในทางเดียวกัน
    สำหรับประเทศไทยพบยุงอยู่ประมาณ 400 ชนิด จะกล่าวเฉพาะแต่ที่เป็นปัญหาที่มีแหล่งเพาะพันธุ์บริเวณบ้านเรือนซึ่งมีอยู่ 2 - 3 ชนิด ยุงที่มากัดตอนกลางวันคือ ยุงลายชนิด Aedes aegypi กับ Aedes albopitus ซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก แต่จะอธิบายเฉพาะยุงลายชนิด Ae. aegypi เนื่องจากเป็นพาหะหลักที่สำคัญและเป็นปัญหาของประเทศ ปราบกันมากว่า 30 ปี แต่ละปีใช้งบประมาณไม่น้อยกว่า 80 ล้าน และอีกตัวได้แก่ ยุงที่มากัดตอนกลางคืนคือ ยุงรำคาญชนิด Culex quinquefasciatus มากัดแล้วก่อให้เกิดความรำคาญ แต่ที่ประเทศพม่าเพื่อนบ้านซึ่งส่งแรงงานมาทำงานในประเทศเรามากมาย ยุงชนิดนี้เป็นยุงพาหะนำโรคเท้าช้าง ซึ่งคงต้องให้ความสนใจมากขึ้น

     
  7. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    วงจรชีวิตยุงโดยทั่วไปนั้น ปกติทั้งตัวผู้และตัวเมียจะกินน้ำหวานจากต้นไม้เป็นอาหาร มีเฉพาะยุงตัวเมียเท่านั้นที่มากัดกินเลือดเป็นอาหาร เพื่อนำไปสร้างไข่ ที่ใช้คำว่ายุงกัด (Biting) นั้นจริงๆ ยุงไม่มีเขี้ยวหรือฟันไว้กัด แต่จะใช้ปากเจาะแล้วดูดเลือดจากเหยื่อ ขณะเดียวกันก็จะปล่อยน้ำลายออกมาเพื่อไม่ให้เลือดแข็งตัว เป็นสาเหตุสำหรับบางท่านที่อาจแพ้จะเกิดอาการคันหลังจากถูกยุงกัด ยุงตัวเมียกัดกินเลือดแล้ว 1 - 2 วัน จะไปวางไข่ในภาชนะขังน้ำสะอาดที่มนุษย์สร้างขึ้นเท่านั้น เช่น ตุ่ม จานรองขาตู้กันมด ถังซีเมนต์ขังน้ำในห้องน้ำ ถังน้ำมันเก็บน้ำ ยางรถยนต์ แจกัน เป็นต้น โดยวางไข่เดี่ยว ๆ ติดแน่นกับภาชนะเหนือระดับน้ำเล็กน้อย ไข่ของยุงลายมีความทนทานต่อสภาพความแห้งได้นานเป็นปี เมื่อมีน้ำมาท่วมถึงไข่ก็จะสามารถฟักเป็นลูกน้ำได้ สาเหตุนี้คงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้โรคไข้เลือดออกระบาดทั่วประเทศตลอดมา ส่วนยุงรำคาญ มีนิสัยชอบวางไข่ในแหล่งน้ำ ภาชนะขังน้ำที่สกปรก เช่น ท่อระบายน้ำ ท่อพักน้ำ ยางรถยนต์ ถาดขังน้ำสำหรับเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น โดยวางไข่เป็นกลุ่มลักษณะเป็นแพลอยอยู่ที่ผิวน้ำ ยุงทั้ง 2 ชนิดมีระยะไข่ 1 - 2 วันก็จะฟักตัวเป็นลูกน้ำหากินอาหารในแหล่งเพาะพันธุ์นั้นๆ มักจะกินอาหารอยู่ตลอดเวลา สำหรับการหายใจผ่านทางท่อหายใจโดยโผล่มาที่ผิวน้ำแล้วถึงจะดำลงไป ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 7 - 10 วัน ก็เป็นระยะตัวโม่ง เป็นช่วงที่รอการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง จากเดิมที่อยู่ในน้ำเป็นยุงที่บินไปในอากาศ ระยะนี้ไม่กินอาหาร ดังนั้นสารกำจัดลูกน้ำชนิดที่ต้องให้ลูกน้ำกินเข้าไปถึงจะตาย เช่น ทราย Abate เชื้อจุลินทรีย์ Bti เป็นต้น จึงไม่สามารถกำจัดตัวโมงได้ ระยะนี้ใช้เวลาประมาณ 1 - 2 วัน ก็เป็นตัวเต็มวัย ยุงตัวผู้จะมีอายุสั้นไม่เกิน 1 เดือน แต่ยุงตัวเมียจะมีอายุประมาณ 1 - 3 เดือน ตลอดอายุจะวางไข่ประมาณ 1 - 3 ครั้งๆ ละประมาณ 150 - 200 ฟอง จากการคำนวณยุงลายตัวเมีย 1 ตัว ภายในระยะเวลา 100 วัน จะผลิตลูกหลานได้ถึง 9,537 ตัว ซึ่งถ้าเราไม่ทำการกำจัดก็จะมียุงตัวเมียมีหน้าที่ตามกฎธรรมชาติมากัดคนหากินเลือด เพื่อการสร้างไข่ผลิตลูกหลาน ไม่ให้สูญพันธุ์ไปจากโลกนี้ บรรพบุรุษของแมลงมีมาพร้อมกับไดโนเสาร์ไม่น้อยกว่า 400 ล้านปี แมลงสามารถวิวัฒนาการยืนยงมาจนถึงปัจจุบันนี้ได้ ดังนั้นเราต้องไม่ประมาทคอยตรวจดูแหล่งเพาะพันธุ์และป้องกันกำจัดอย่างต่อเนื่องเผลอไม่ได้เพื่อประโยชน์ของตัวเราเอง การจัดการป้องกันยุงบริเวณบ้าน
     
  8. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    จากคำกล่าวที่ว่าตนเป็นที่พึ่งแห่งตน แหล่งเพาะพันธุ์ที่อยู่ในบ้านก็คงเป็นหน้าที่ของเจ้าของบ้านที่ต้องกำจัด จะรอให้คนอื่นหรือรัฐดำเนินการคงจะไม่ทันการณ์ดังเช่น สถานการณ์ของยุงลาย จากการสำรวจพบว่ามีความชุกชุมสูงเฉลี่ยแล้ว ในแต่ละบ้านจะพบภาชนะที่มีลูกน้ำ ไม่น้อยกว่า 1 - 2 ภาชนะ (BI. 100 - 200) บางแห่งอาจถึง 4 -5 ภาชนะ (BI. 400 - 500) แม้แต่บ้านของผู้เขียนเองก็เผลอไม่ได้ ยังพบลูกน้ำยุงลายต้องคอยกำจัดอยู่เสมอ เมื่อทราบถึงแหล่งเพาะพันธุ์ อุปนิสัยของยุงบริเวณบ้าน พบว่าระยะลูกน้ำเป็นระยะที่อยู่เฉพาะที่ ไม่สามารถหลบหนีไปไหน ดังนั้นกลวิธีหลักที่ใช้ในการควบคุม คือ การป้องกันกำจัดระยะลูกน้ำ โดยการจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง (Source reduction) แล้วใช้มาตรการอื่นมาเสริม เช่น การใช้สารเคมี การใช้มุ้ง

    การป้องกันกำจัดระยะลูกน้ำ
    ทุก ๆ 7- 10 วัน ต้องตรวจดูภาชนะขังน้ำใช้ เช่น ตุ่ม ถังซีเมนต์ขังน้ำ ถ้าพบลูกน้ำควรรีบใช้น้ำให้หมด หรือถ่ายน้ำทิ้ง แล้วขัดล้างผิวด้านในภาชนะเพื่อให้ไข่ของยุงลายหลุดออก ล้างน้ำทิ้งอีกครั้ง แล้วค่อยเติมน้ำใหม่ใส่ ถ้าไม่สะดวกอาจใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำ เช่น ทราย Abate ซึ่งมีความคงทนประมาณ 3 - 6 เดือน ต่อไม่มีผลต่อระยะไข่ เมื่อลูกน้ำฟักออกมา กินอาหารได้ จึงตาย ภาชนะขังน้ำอื่น ๆ เช่น จานรองขาตู้ จานรองกระถางต้นไม้ แจกัน ถาดน้ำให้สัตว์เลี้ยง เช่น นก สุนัข ต้องเปลี่ยนน้ำสัปดาห์ละครั้ง หรือถ้าพบลูกน้ำให้เททิ้ง
    ภาชนะที่ไม่ได้ใช้ ซึ่งอาจขังน้ำได้เช่น กระป๋อง ยางรถยนต์เก่า เศษพลาสติก กะละมัง เป็นต้น ให้ทำลายหรือทิ้งขยะ
    ตรวจดูและจัดการบริเวณบ้านไม่ให้มีน้ำขังเกินกว่า 7 วันในที่ต่างๆ เช่น ท่อพักน้ำ รางน้ำฝน น้ำขังบริเวณบ้าน เป็นต้น
    อ่างน้ำที่ใช้เลี้ยงบัว ปลา ถ้าพบลูกน้ำควรเลี้ยงปลากินลูกน้ำร่วมด้วย เช่น ปลาหางนกยูง
    การออกแบบบ้านหรือสวนหย่อม (Landscaping) ควรออกแบบไม่ให้มีน้ำขังนานเกิน 7 วัน

     
  9. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    การป้องกันกำจัดระยะตัวเต็มวัย
    การใช้กระป๋องเคมีที่มีหัวฉีดพร้อม ควรใช้ความระมัดระวัง ก่อนใช้ควรอ่านฉลากให้เข้าใจและทำตามคำแนะนำ โดยเฉพาะห้ามฉีดพ่นในขณะที่มีเด็กหรือผู้ป่วยอยู่ในบริเวณนั้นหรือใกล้เคียง ในท้องตลาดมีผลิตภัณฑ์ประเภทนี้ 2 แบบ คือ ใช้กำจัดแมลงบิน เช่น ยุง ใช้กำจัดแมลงคลาน เช่น แมลงสาบ เมื่อจะใช้กำจัดยุงก็ต้องเลือกแบบใช้กับแมลงบิน เนื่องจากสารเคมีที่ใช้ส่วนมาก มีฤทธิ์ฆ่ายุงแบบถูกตัวตายไม่มีฤทธิ์ตกค้าง ดังนั้นขนาดของละอองสารเคมี เวลาพ่นจึงมีความสำคัญต้องมีขนาดเล็กพอเหมาะ เพื่อให้ลอยอยู่ในอากาศนานพอที่จะให้ยุงบินมา หรือเกาะอยู่แถวนั้นได้รับสารเคมีนี้ทำให้ตาย การใช้จึงจำเป็นต้องมีการปิดห้องให้มิดชิดหลังจากการพ่นโดยปิดทิ้งไว้ 15 - 20 นาที การพ่นในที่โล่งจึงไม่ค่อยได้ผล ซึ่งต่างกับแบบใช้กับแมลงคลาน เวลาพ่นมีละอองสารเคมีใหญ่ เหมาะสำหรับพ่นทิ้งไว้ตามซอก ทางเดินของแมลงสาบเพื่อให้แมลงเดินมาถูกสารเคมีแล้วถึงจะตาย เมื่อมีอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับการใช้ หรือรู้สึกไม่สบายให้หยุดฉีดพ่นแล้วควรรีบไปพบแพทย์ พร้อมนำกระป๋องสารเคมีนั้นไปด้วย และมีข้อมูลอื่นๆ ที่ควรทราบ คือ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    • เครื่องไล่ยุง (Ultrasonic devices) กับดักยุง (light traps) มักใช้ไม่ได้ผลกับยุง 2 ชนิดนี้<o:p></o:p>
    • เสื้อสีอ่อนๆ หรือจางจะดึงดูดยุงน้อยกว่าสีเข้ม<o:p></o:p>
    • มุ้งหรือมุ้งลวดสามารถกันยุงไม่ให้เข้ามากัดได้ จึงควรตรวจดูไม่ให้ชำรุด<o:p></o:p>
    สำหรับยุงบริเวณบ้านเมื่อทราบชนิด อุปนิสัยและแหล่งเพาะพันธุ์ตลอดจนแนวทางการป้องกันกำจัดควรเน้นที่ระยะลูกน้ำ และการควบคุมวิธีอื่นโดยเฉพาะการใช้กระป๋องเคมีที่มีหัวฉีดพร้อม ควรใช้เท่าที่จำเป็นและระมัดระวัง จากข้อมูลเหล่านี้คงเพียงพอสำหรับท่าน<o:p></o:p>
     
  10. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ยุงลาย – พาหะนำโรคไข้เลือดออก นั้น เป็นยุงที่มีนิสัยชอบออกหากินดูดเลือดคนในเวลาช่วงวันก่อนมืด จากนั้นจะหลบไปเกาะพักตามแหล่งเพาะพันธุ์ต่าง ๆ หรือบริเวณที่มืดชื้น ตามมุมผนังบ้านหรือตามกองผ้า สิ่งห้อยแขวนต่าง ๆ และมีสัณฐานวิทยาที่สังเกตได้ง่ายที่ลำตัวมีสีดำและมีเกล็ดขาวตามตัวและขา มีความว่องไวสูงสามารถบินหลบหลีกศัตรูหรืออันตรายต่าง ๆ ได้ดี ปัจจุบันยุงลายชนิดที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกในประเทศมี 2 ชนิด คือ ยุงลายบ้าน (Aedes aegypti ) และยุงลายสวน (Aedes albopictus ) ยุงลายทั้งสองชนิดนี้ชอบวางไข่ในแหล่งเพาะพันธุ์ (แหล่งน้ำ) ที่ค่อนข้างใสสะอาดกว่าแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงรำคาญ (ยุงชนิดที่ออกหากินตอนกลางคืน) และเป็นลักษณะแหล่งน้ำที่เก็บ/ขังอยู่ในภาชนะหรือวัสดุที่รองรับน้ำต่าง ๆ โดยจะวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ติดอยู่ที่ผนังภาชนะหรือวัสดุเหนือผิวน้ำ ภาชนะ/วัสดุที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายทั้ง 2 ชนิดนี้มีความแตกต่างไปตามสิ่งแวดล้อมที่มันอาศัยอยู่ กล่าวคือ แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายบ้าน เช่น ภาชนะ/วัสดุที่เก็บ/ขังน้ำต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกบ้าน เช่น ตุ่ม ถัง อ่าง จานรองกระถางต้นไม้ แจกัน ยางรถยนต์ วัสดุพสาสติกเหลือใช้ หรือวัสดุขังน้ำต่าง ๆ ตามลักษณะชุมชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น ๆ เป็นต้น และแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายสวน เช่น โพรงไม้ แอ่ง รู กาบใบไม้ที่อุ้มน้ำ ถ้วยหรือกะลามะพร้าวในสวนยาง หรือ วัสดุรอบ ๆ บ้านที่อยู่ในบริเวณสวน และบริเวณวัดที่มีร่มไม้ขึ้นหนาแน่น เป็นต้น<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    การกำจัดยุงลายนั้นไม่จำกัดอยู่เพียงแค่การใช้สารเคมีกำจัดแมลงเท่านั้นสำหรับชาวบ้านทั่วไปที่ไม่สะดวกซื้อหรือไม่พร้อมที่จะใช้ผลิตภัณฑ์สารเคมีกำจัดยุง/แมลงดังกล่าว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ยังได้สร้างองค์ความรู้จาก สารลดแรงตึงผิว เพื่อการกำจัดแมลงในชีวิตประจำวันให้ประชาชนได้เลือกใช้กำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลายได้อย่างสะดวก ปลอดภัย และครบวงจรอีกด้วย


    สารลดแรงตึงผิว หรือสารซักล้างทำความสะอาดภาชนะวัดสุเครื่องใช้และชำระล้างร่างกายต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของครัวเรือนทั่วๆ ไป เช่น น้ำยาล้างจาน แชมพูสระผม ผงซักฟอก สบู่เหลว เป็นต้น ในด้านการกำจัดแมลงสารลดแรงตึงผิวเหล่านี้มีคุณสมบัติ จับเปียก กระจายตัวปกคลุมและปิดกั้นระบบ หายใจของตัวแมลง ทำให้เยื่อบุรูหายใจ (spiracle) ของแมลงสูญเสียสภาพการควบคุมความสมดุลของน้ำภายในตัวแมลง (dehydration) และทำให้แมลงตายในที่สุด<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    การเตรียมและใช้สารลดแรงตึงผิวกำจัดยุงลายด้วยกระบอกฉีดน้ำพรมผ้า<o:p></o:p>
    1. การฉีดพ่นกำจัดยุงลาย<o:p></o:p>
    1.1 การฉีดพ่นกำจัดยุงลายที่เกาะพักบริเวณแหล่งน้ำ หรือบริเวณที่ชื้น เช่น ในห้องน้ำ หรือ ตามผนังภายในภาชนะ/ วัสดุ ที่เก็บขังน้ำต่าง ๆ <o:p></o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การเตรียม<o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>เจือจางน้ำยาล้างจานกับน้ำเปล่าในอัตราส่วนผสม น้ำยาล้างจาน 1 ช้อนชา ผสมกับน้ำ <?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:smarttags" /><st1:metricconverter w:st="on" ProductID="1 ลิตร">1 ลิตร</st1:metricconverter><o:p></o:p>
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การใช้ <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>ฉีดพ่นต่อเนื่องไปที่กลุ่มยุง ( direct spray) ที่เกาะพักตามมุมผนังใน ห้องน้ำ หรือในภาชนะ/วัสดุที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย จะเห็นว่า ยุงตกจมน้ำตายทันที<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    1.2 การฉีดพ่นกำจัดยุงลายที่เกาะพักเป็นกลุ่มตามซอกมุมบ้านหรือบริเวณกองผ้า ผ้าห้อยแขวน หรือ บริเวณที่เก็บหมอนมุ้งใกล้ที่นอนหรือห้องนั่งเล่น<o:p></o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การเตรียม<o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>เจือจางน้ำยาล้างจานกับน้ำเปล่าในอัตราส่วนผสม น้ำยาล้างจาน 1 ส่วน ผสมกับน้ำ 4 ส่วน<o:p></o:p>
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การใช้ <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>ฉีดพ่นต่อเนื่องไปที่กลุ่มยุง ( direct spray) ที่พบเห็นเกาะเป็นกลุ่มตามบริเวณต่าง ๆ ดังกล่าว<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    2.การโฉบจับยุงลาย (swoop plate)<o:p></o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การเตรียม<o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>บีบน้ำยาล้างจานเล็กน้อยพอให้ทั่วพื้นจานพลาสติกขนาดพอเหมาะสำหรับมือจับโฉบ<o:p></o:p>
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การใช้ <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>ใช้โฉบจับยุงที่บินมารบกวนใกล้ ๆ ตัว ซึ่งเป็นเทคนิคเดียวกับการใช้ไม้แบดช๊อตยุง แต่วิธีนี้ยุงลายจะถูกจับตายอยู่ที่พื้นจาน<o:p></o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    3.การกำจัดตัวโม่งและลูกน้ำยุงลาย (Laundry powder scatter method)<o:p></o:p>
    3.1 การกำจัดตัวโม่งและลูกน้ำยุงลายในภาชนะ / วัสดุ ขังน้ำขนาดเล็ก เช่น จานรองกระถางต้นไม้ ยางรถยนต์ จานรองขาตู้กับข้าวและวัสดุเหลือใช้ที่ขังน้ำฝนรอบ ๆ บ้าน เป็นต้น<o:p></o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การเตรียม<o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>ใช้ผงซักฟอกทั่วไปโรยลงในแหล่งเพาะพันธุ์ต่างๆ โดยตรง ในอัตราส่วน ผงซักฟอก 1 ช้อนโต๊ะ ต่อปริมาณความจุของน้ำในแหล่งเพาะพันธุ์
    ปริมาณ <st1:metricconverter w:st="on" ProductID="2 ลิตร">2 ลิตร</st1:metricconverter><o:p></o:p>

    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การใช้ <o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>โรยผงซักฟอกลงในภาชนะ/วัสดุแหล่งเพาะพันธุ์ขนาดเล็กต่าง ๆ โดยตรง จะเห็นว่าผงซักฟอกจะแพร่กระจายปกคลุมทั่วผิวน้ำ เมื่อลูกน้ำ
    และตัวโม่งของยุงลาย ซึ่งจำเป็นต้องขึ้นมาหายใจ จะดูดซึมเอาสารเข้าสู่ระบบหายใจ ทำให้ระคายเคืองต่อระบบ และค่อย ๆ ตายในที่สุด<o:p></o:p>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    3.2 การลักน้ำเพื่อดูดกำจัดลูกน้ำและตัวโม่งออกจากภาชนะ ( whirlpool and siphon method)<o:p></o:p>
    <TABLE style="WIDTH: 100%; mso-cellspacing: 1.5pt; mso-padding-alt: 0cm 0cm 0cm 0cm" class=MsoNormalTable border=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การเตรียม<o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>ใช้สายยางยาวประมาณ 2 เท่า ของความสูงภาชนะและเติมน้ำให้เต็มตลอดสายยาง<o:p></o:p>
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; WIDTH: 75pt; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top width=100>การใช้<o:p></o:p>
    </TD><TD style="BORDER-BOTTOM: #ece9d8; BORDER-LEFT: #ece9d8; PADDING-BOTTOM: 0cm; BACKGROUND-COLOR: transparent; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-RIGHT: 0cm; BORDER-TOP: #ece9d8; BORDER-RIGHT: #ece9d8; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>ใช้มือหมุนกวนน้ำในภาชนะประมาณ 2-3 รอบจะเห็นว่าตะกอนสกปรกที่กระจัดกระจายอยู่ในภาชนะจะถูกแรงหมุนเหวี่ยงของน้ำ กวาดไล่มา
    รวมอยู่ที่กึ่งกลางของพื้นภาชนะ จากนั้นจึงใช้สายยางที่เตรียมไว้ดูดเอาลูกน้ำ ตัวโม่ง และตะกอนกำจัดทิ้งไปพร้อมๆ กัน “ตุ่มสะอาดปลอดลูก
    น้ำยุงลายใน 5 นาที”<o:p></o:p>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    จะเห็นได้ว่า การกำจัดยุงลายบริเวณรอบ ๆ บ้านของท่านเองนั้นไม่มีอะไรยุ่งยากอย่างที่คิด เพราะมีวิธีการต่าง ๆ ให้เลือกใช้อย่างครบวงจรตามความพอใจและสะดวกใช้ของแต่ละครัวเรือนดังกล่าวข้างต้น ซึ่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้ต่าง ๆ เหล่านี้หากชุมชน/ครัวเรือนได้ตระหนักถึงมหันตภัยของโรคไข้เลือดออกตามที่ทราบกันโดยทั่วไปแล้วนั้น และเลือกนำเอาวิธีการต่าง ๆ ไปใช้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวันแล้ว เชื่อว่าจะช่วยลดความชุกชุมของยุงลายบริเวณบ้านท่านลงและลดความเสี่ยงจากการถูกยุงลายกัดและติดเชื้อโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืนต่อไป นอกจากนี้ท่านยังสามารถนำองค์ความรู้ต่าง ๆนี้ ไปประยุกต์ใช้กำจัดแมลงชนิดอื่น ๆ ในบริเวณครัวเรือนของท่านได้
    เกือบทุกชนิดอีกด้วย<o:p></o:p>
     
  11. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    สารทาป้องกันยุง (repellent) <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    <HR align=center SIZE=2 width="100%">
    สารทาป้องกันยุง หมายถึง สมุนไพรหรือสารเคมีที่มีคุณสมบัติในการป้องกันการกัดของยุง และมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้ สามารถนำมาใช้ทาผิวหนังได้

    กลไกในการไล่ยุง<o:p></o:p>
    1. - สารทาป้องกันยุงไม่ใช่สารฆ่าแมลง
      - สารทาป้องกันยุงที่ดีต้องเคลือบผิวหนังของผู้ใช้ ทำให้ยุงไม่ได้กลิ่นเหยื่อ หรือมีกลิ่นไปหยุดยั้งการกัดของยุง โดยไปรบกวนกลไกการรับรู้กลิ่นเหยื่อ
      - สารทาป้องกันยุงช่วยป้องกันไม่ให้ยุงกัด แต่ไล่ยุงได้ในระยะแค่ 2-3 นิ้วจากผิวหนังที่ทา ฉะนั้นผู้ใช้จะยังคงเห็นยุงมาบินอยู่รอบๆ ตัว ตราบใดที่ยุงไม่กัดไม่ต้องทาสารซ้ำ
    เหตุใดจึงต้องใช้สารทาป้องกันยุง<o:p></o:p>
    สารทาป้องกันยุงช่วยไม่ให้ยุงกัด ขณะที่ทำกิจกรรมนอกบ้านจะได้ไม่เป็นโรคที่นำโดยยุง เช่น ไข้เลือดออก มาลาเรีย ไข้สมองอักเสบ และเท้าช้าง <o:p></o:p>
    • เมื่อสารทาป้องกันยุงหมดฤทธิ์ สามารถทาซ้ำที่เดิมได้ <o:p></o:p>
    • ไม่จำเป็นต้องทาสารป้องกันยุง เมื่ออยู่ในบ้านที่มีมุ้งลวด <o:p></o:p>
    สารอะไรที่อยู่ในผลิตภัณฑ์สารทาป้องกันยุง<o:p></o:p>
    • deet <o:p></o:p>
    • picaridin <o:p></o:p>
    • IR-3535 <o:p></o:p>
    • Volatile oils <o:p></o:p>
    ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของสารทาป้องกันยุง<o:p></o:p>
    • เหงื่อ ชะล้างสารทา ทำให้หมดฤทธิ์เร็ว นอกจากนี้สารในเหงื่อยังสามารถดึงดูดยุง <o:p></o:p>
    • อุณหภูมิ & ความชื้น อุณหภูมิสูงสารระเหยเร็วยุงมีอัตราการกัดสูง ความชื้นสูงการระเหยจะช้ากว่าความชื้นต่ำ <o:p></o:p>
    • กระแสลม ลมแรงสารระเหยเร็ว หมดฤทธิ์เร็ว <o:p></o:p>
    • ชนิดของยุง ประสิทธิภาพของสารทาป้องกันยุงต่อยุงต่างชนิดกันจะไม่เท่ากัน <o:p></o:p>
    • ผู้ใช้ ผิวหนังแต่ละคนจะดูดซึมสารทาป้องกันยุงได้ไม่เหมือนกัน คนอายุมากผิวหยาบสารทาหมดฤทธิ์เร็วกว่าคนอายุน้อยที่ผิวละเอียด คนที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ที่ผิวมากจะถูกยุงกัดได้เร็วกว่าคนอื่นที่ทาสารป้องกันยุงชนิดเดียวกัน <o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
     
  12. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ผมขออนุโมทนาบุญแก่
    กลุ่มกีฏวิทยาทางการแพทย์เป็นหน่วยงานหนึ่งในสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
    ที่กรุณาเผยแพร่ข้อมูลไว้
     
  13. sisal

    sisal เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    363
    ค่าพลัง:
    +298
    อนุโมทนาค่ะ
    แต่ยังไงก็ต้องรักษาสุขภาพด้วยนะคะ
    'การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ'
     
  14. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ในยุคหลังล้างโลก ความรู้นี้จะมีการต่อยอดไปอีกครับ

    ท่านทั้งหลาย ต่อไปกระทู้นี้จะเป็นหลักปฏิบัติตน

    ใช้รักษาผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั่วไป อย่างแพร่หลาย

    แต่คงเป็นในยุคหลังการล้างโลกแล้วครับ
    คนบาปจะมองไม่เห็น เห็นเป็นเรื่องไร้สาระ

    ผมขอทำนายเรื่องในอนาคตไว้ ในกระทู้นี้ครับ

    ขออนุโมทนาครับ

    สาธุ
    สาธุ
    สาธุ
     
  15. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    โอ้โห...ยุงเยอะแยะเลยระวังตัว
    เดี๋ยวจะมึนหัวกันอีก
     
  16. devbara

    devbara เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    1,086
    ค่าพลัง:
    +5,400
    ติดตามความรู้ที่คุณวสุธรรมมอบให้ดีจริงๆ มันทำได้ง่าย ไม่ยาก ขอบคุณมากๆ ขออนุโมทนาด้วย มีความรู้แบบนี้อีกขอรบกวนด้วย
     
  17. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
  18. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    ขอประชาสัมพันธ์ให้ผู้อ่านทุกๆท่าน
    นำความรู้นี้ไปเผยแพร่ให้กับพ่อแม่ที่มีเด็กๆ
    กำลังไม่สบาย ได้ทดลองปฏิบัติดู
    จะได้รับผลบุญเป็นอย่างมากครับ
    ดีกว่าเสียเวลาไปนอนที่โรงพยาบาลหลายๆวัน

    ในปัจจุบันยังมีผู้ที่ไม่ทราบความรู้เรื่องนี้อีกมากมายครับ
     
  19. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    เนื่องจากเห็นข่าวไข้เลือดออกระบาดหนัก
    จึงขอเรียกกระทู้ขึ้นมาครับ
     
  20. วสุธรรม

    วสุธรรม พลังรักอมตะ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    2,323
    ค่าพลัง:
    +8,220
    มาเพิ่มพลังให้แก่กระทู้ครับ
    จะได้ช่วยเหลือคนไทยให้พ้นทุกข์จากโรคไข้เลือดออก
     

แชร์หน้านี้

Loading...