"สนามแม่เหล็กโลกใกล้วิปริต"

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย พนมกุเลน, 9 ธันวาคม 2011.

  1. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    www.thaiastro.nectec.or.th/

    7 กุมภาพันธ์ 2547 รายงานโดย: วิมุติ วสะหลาย wimut@hotmail.com

    ......เป็นที่ทราบกันมาเป็นเวลานานว่า ขั้วเหนือของแกนหมุนของโลกกับขั้วเหนือของสนามแม่เหล็กโลกไม่ได้อยู่ที่เดียวกัน

    ขั้วเหนือของแกนหมุน อยู่ที่ละติจูด 90 องศา บนแผ่นน้ำแข็งของมหาสมุทรอาร์กติก ส่วนขั้วเหนือแม่เหล็กโลก อยู่ในเขตของประเทศแคนาดา

    เจมส์ รอสส์ สำรวจตำแหน่งของขั้วเหนือแม่เหล็กโลกเป็นครั้งแรกในปี 1831 ในการสำรวจครั้งต่อมา ในปี 1904 โดย โรอาลด์ อามุนด์เซน พบว่า ตำแหน่งของขั้วเหนือเปลี่ยนไปจากเดิมราว 50 กิโลเมตร

    จึงได้ทราบว่า ขั้วแม่เหล็กโลกมีการเปลี่ยนตำแหน่งด้วย

    [​IMG]

    <TABLE class=normal cellSpacing=0 cellPadding=3 width="99%" align=left bgColor=#e9faf4 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2>ในช่วงศตวรรษที่ 20 ที่ผ่านมา ตำแหน่งขั้วเหนือก็ยังคงเคลื่อนที่เรื่อย ๆ ด้วยอัตรา 10 กิโลเมตรต่อปี แต่ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ เคลื่อนที่เร็วถึง 40 กิโลเมตรต่อปี

    หากอัตราเคลื่อนที่ยังคงเป็นเช่นนี้ต่อไป ขั้วเหนือจะหลุดพ้นออกจากทวีปอเมริกาเหนือ และไปอยู่ที่ไซบีเรีย ภายในอีกไม่กี่สิบปีเท่านั้น


    </TD></TR><TR><TD width="3%"></TD><TD colSpan=2>แลร์รี นูวิตต์จากคณะสำรวจทางธรณีวิทยาของแคนาดา กล่าวว่า เดิมตนมีหน้าที่ไปสำรวจวัดตำแหน่งของขั้วเหนือหลายๆ ปีต่อครั้ง แต่ในช่วงหลัง จะต้องไปบ่อยขึ้น เนื่องจาก ขั้วแม่เหล็กโลกเคลื่อนที่เร็วมาก

    ไม่เพียงแต่ตำแหน่งของขั้วเปลี่ยนไปเท่านั้น ความเข้มของสนามแม่เหล็กโลกยังลดลงประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมาอีกด้วย

    หลังจากที่ข้อมูลนี้เผยแพร่ต่อสื่อมวลชน ในที่ประชุมสหภาพธรณีฟิสิกส์อเมริกัน เรื่องถึงกับเป็นข่าวพาดหัวใหญ่ทันทีว่า สนามแม่เหล็กโลกกำลังหมดหรือ?

    แกรี แกลตซ์มายเยอร์ ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ได้ออกมายับยั้งกระแสว่า คงไม่ถึงขนาดนั้น เพราะการเปลี่ยนแปลงนี้ ถือว่าน้อยมาก เมื่อเทียบกับในอดีต

    ในอดีตสนามแม่เหล็กโลก เคยมีการเปลี่ยนแปลง ขนานใหญ่กว่านี้มาก ถึงขนาด สนามแม่เหล็กสลับขั้วก็เคยเกิดมาแล้ว ขั้วเหนือกลายเป็นขั้วใต้ ขั้วใต้กลายเป็นขั้วเหนือ

    หลักฐานของการเปลี่ยนแปลงนี้ ปรากฏชัดในหินโบราณ การเปลี่ยนแปลงนี้ไม่ได้เพียงครั้งเดียว แต่เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า และคาดการณ์ไม่ได้

    ปรกติการสลับขั้วแม่เหล็กเกิดขึ้นทุก 300,000 ปีโดยเฉลี่ย ครั้งล่าสุดที่เกิดขึ้นคือเมื่อ 780,000 ปีที่แล้ว

    หรือว่า การเร่งความเร็วของขั้วแม่เหล็กโลกในช่วงหลังนี้ จะเป็นสัญญาณว่าถึงเวลาที่สนามแม่เหล็กโลกจะสลับขั้วอีกครั้งแล้ว?

    จากการศึกษาบันทึกแม่แหล็กในแผ่นหินพบว่า ความเข้มสนามแม่เหล็กโลกมีการเพิ่มขึ้นและลดลงอยู่ตลอดเวลา และความจริงแล้ว สนามแม่เหล็กโลกในขณะนี้ มีความเข้ม มากกว่าความหนาแน่นเฉลี่ย ในช่วงหนึ่งล้านปีที่ผ่านมาถึงสองเท่า

    ใจกลางโลก มีแกนชั้นในเป็นเหล็กแข็ง ที่มีอุณหภูมิสูง ใกล้เคียงกับพื้นผิวดวงอาทิตย์ ห่อหุ้มด้วยแกนชั้นนอก ที่เป็นเหล็กหลอมเหลว

    แกนชั้นในหมุนรอบตัวเอง เช่นเดียวกับผิวโลก แต่เร็วกว่า ภายใต้แกนชั้นนอกที่ปั่นป่วน การเคลื่อนที่ของเหล็กหลอมเหลว ที่แกนโลกชั้นนอก ทำให้เกิดการเหนี่ยวนำไฟฟ้าขึ้น สนามแม่เหล็กจึงเกิดขึ้น

    ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า ปรากฏการณ์ไดนาโม แกลตซ์มายเยอร์ และ พอล รอเบิตส์ ได้สร้างแบบจำลองของโครงสร้างภายในโลก ด้วยซูเปอร์คอมพิวเตอร์

    โดยให้ความร้อน กับแกนชั้นใน และแกนชั้นนอก ปั่นป่วนเช่นเดียวกับของจริง หลังจากให้โปรแกรมวิ่งผ่านไป โดยจำลองให้เวลาผ่านไป เป็นเวลานับแสนปี พบว่า สนามแม่เหล็กของโลกจำลองนี้ มีการเพิ่มและลดลง

    ขั้วแม่เหล็ก มีการเคลื่อนที่ และบางครั้ง ก็มีการสลับขั้ว ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่เกิดกับโลกจริง

    นอกจากนี้ ยังพบว่า ช่วงที่สนามแม่เหล็กสลับขั้ว ใช้เวลานานหลายพันปี จึงจะเสร็จสิ้น

    [​IMG]

    และสิ่งที่เหนือความคาดการณ์ของคนทั่วไปก็คือ ช่วงนี้สนามแม่เหล็กไม่ได้หายไป แต่มีความปั่นป่วนซับซ้อนมากขึ้น เส้นแรงแม่เหล็กบริเวณพื้นผิวโลก มีการบิดเบี้ยวและขมวดปม

    ขั้วแม่เหล็กเกิดขึ้นใหม่ได้ทุกที่ ขั้วใต้อาจเกิดขึ้นที่แอฟริกา หรือขั้วเหนืออาจผุดขึ้นที่ตาฮีตี

    แต่ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใด สนามแม่เหล็กก็ยังคงมีเหมือนเดิม และยังคงปกป้องโลก จากรังสีอันตรายจากดวงอาทิตย์

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ธันวาคม 2011
  2. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    สร้างความตื่นตะลึงไม่น้อย กับข้อมูลเตือนภัยพิบัติของ ศ.นพ.เทพนม เมืองแมน

    ที่ระบุว่าภายในปี 2557 นี้ โลกจะเผชิญกับ การเปลี่ยนขั้วแม่เหล็กโลกแบบกลับเหนือ - ใต้

    [​IMG]

    ซึ่งจะทำให้เกิดพายุหมุน แผ่นดินไหว อุณหภูมิโลกเปลี่ยน และไทยยังต้องเผชิญกับหิมะตก โดยโลก เผชิญภาวะแม่เหล็กเปลี่ยนขั้วมาแล้ว 8 ครั้ง

    [​IMG]

    เชื่อกันว่า การกลับขั้วของแม่เหล็กโลกนั้น เกิดขึ้นเมื่อการไหลเวียนของนิกเกิลเหลว (liquid nickel) และเหล็กเหลว (liquid iron) ในแกนกลางชั้นนอกของโลก กระจัดกระจาย จากนั้น ก็จัดเรียงตัวใหม่ ในทิศทางตรงกันข้าม

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    แต่ยังไม่มีใครทราบ ถึงสาเหตุของการกระจัดกระจายดังกล่าว หลักฐานการกลับขั้วพบได้ในสันเขากลางมหาสมุทร (mid-ocean ridges) ซึ่งแผ่นเปลือกโลกเทคโทนิค (tectonic plates) ได้แยกออกจากกัน

    และที่ก้นมหาสมุทร ก็เต็มไปด้วยแมกมาซึ่งไหลซึม ออกมาจากเปลือกโลกชั้นใน (mantle) อนุภาคแม่เหล็กในของเหลวร้อนดังกล่าว ได้พลิกทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกในเวลานั้น

    ทั้งนี้ขั้วแม่เหล็กโลกกับขั้วโลก (Geographic pole) นั้น เป็นคนละขั้วและไม่ได้อยู่ตำแหน่งเดียวกัน

    จากข้อมูลของหน่วยงานสำรวจทางธรณีวิทยาแห่งแคนาดา (Geological Survey of Canada) ระบุว่า ในช่วง 330 ล้านปีที่ผ่านมา มีการกลับขั้วของขั้วแม่เหล็กโลก มากกว่า 400 ครั้ง โดยเฉลี่ย 700,000 ปี จะเกิดขึ้นสักครั้ง

    แต่ช่วงเวลา ระหว่างการกลับขั้ว ก็ไม่คงที่ บางครั้ง เกิดห่างกันน้อยกว่า 100,000 ปี และการคำนวณพบว่า ช่วงหลัง การกลับขั้ว เกิดขึ้นทุกๆ 200,000 ปี แต่การกลับขั้วครั้งล่าสุด เกิดขึ้นเมื่อ 780,000 ปีที่แล้ว

    [​IMG]

    ขณะเดียวกัน นายวรวุฒิ ตันติวนิช ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ให้ข้อมูลว่า การเปลี่ยนแปลงขั้วแม่เหล็กเป็นเรื่องปกติ โดยพบมาหลายพันครั้งแล้ว ในอดีต

    แต่ขั้วแม่เหล็กโลก ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมานานพอสมควร โดยครั้งสุดท้าย เกิดขึ้นประมาณ 2 ล้านปี ซึ่งเป็นช่วงที่มีมนุษย์คนแรก เกิดขึ้นแล้ว และการเปลี่ยนแปลงครั้งนั้น ก็ไม่ได้ทำให้มนุษย์สูญพันธุ์แต่อย่างใด

    [​IMG]

    "นักวิทยาศาสตร์ จึงคาดกันว่า การเปลี่ยนแปลงขั้วแม่เหล็กโลก ไม่น่าจะทำให้เกิดภัยพิบัติรุนแรงถึงมนุษย์ขั้นสูญพันธุ์ แต่ผลกระทบ อาจเกิดแก่เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ต้องอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


    อาทิ การสื่อสารวิทยุ โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์ที่มีมอเตอร์และได้นาโม เป็นต้น รวมทั้งสุขภาพของคน


    เนื่องจาก สนามแม่เหล็กโลก จะช่วยปกป้องสิ่งมีชีวิตจากรังสีนอกโลก หากมีการเปลี่ยนแปลง ก็อาจทำให้พลังงานจากนอกโลก เข้ามาทำอันตรายสิ่งมีชีวิตได้" นายวรวุฒิกล่าว

    พร้อมระบุว่า มีการศึกษาเรื่องการกลับขั้วแม่เหล็กโลกไม่มากนัก จึงยังไม่แน่ในว่า การเปลี่ยนแปลงขั้วแม่เหล็กโลกนั้น เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป หรือเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน แต่ก็พบว่า ขั้วแม่เหล็กโลก กำลังค่อยๆ เคลื่อนที่ออกจากแคนาดา

    เมื่อปี 2374 นักวิทยาศาสตร์ของแคนาดา ได้เดินเรือสำรวจขั้วแม่เหล็กเหนือ (North Magenetic Pole) ของโลกเป็นครั้งแรก และคาดว่า มีตำแหน่งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันตกของคาบสมุทรบูเธีย (Boothia Peninsula) ซึ่งอยู่ตอนเหนือสุดของแคนาดา

    [​IMG]

    จากนั้น ก็มีการสำรวจตำแหน่งของขั้วแม่เหล็กเหนือมาเรื่อยๆ และพบตำแหน่งที่ต่างกัน

    โดยระหว่างศตวรรษที่ 20 นี้ ขั้วแม่เหล็กเหนือ ได้เปลี่ยนตำแหน่งไปราว 1,100 กิโลเมตรแล้ว ปัจจุบันพบว่า การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งขั้วแม่เหล็กโลก ได้เพิ่มขึ้นเป็น 41 กิโลเมตรต่อปี

    หากการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง เกิดขึ้นด้วยความเร็วเท่าเดิม ในทิศทางเดิม ขั้วแม่เหล็กเหนือ จะไปอยู่บริเวณไซบีเรียในอีก 50 ปีข้างหน้า

    อย่างไรก็ดี ยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่า การเปลี่ยนแปลงของขั้วแม่เหล็กโลกนั้น จะส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง ขณะที่การสำรวจตำแหน่งของแม่เหล็กโลก ก็ยังคงดำเนินต่อไป

    [​IMG]

    www.manager.com
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 9 ธันวาคม 2011
  3. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
  4. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    คนเหนือรุ่นเก่า บันทึกไว้ว่า น้ำปิงจะกลายเป็นสันดอย
     
  5. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    อีกรหัสที่น่าสนใจ " คนจะเปลี่ยนสภาพจากเดิน เป็นคลาน "

    [​IMG]
     
  6. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ส่วนเรื่องโลกร้อน ก็ยังมาแรง เพราะอาจจะทำให้ กทม. และภาคกลาง กลายเป็นเมืองบาดาล ตามที่นักวิชาการเขาว่ามา

    [​IMG]


    www.nurnia.com/nuke/html/modules.php?name=News&file=print&sid=2978

    โลกร้อน

    หลายปีที่ผ่านมา ธรรมชาติได้ส่งสัญญาณเตือนถึงมหันตภัยภัยที่จะเกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า จากปรากฏการณ์เรือนกระจก ก๊าซเรือนกระจก

    ที่ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง หรือ Climate Change แต่คนส่วนใหญ่กลับไม่สำเหนียก ถึงหายนะภัยที่กำลังคืบคลานเข้ามาใกล้ตัว และพร้อมจะคุกคามโลก


    <CENTER></CENTER>

    ขนาดเกิดกรณี น้ำแข็งที่ขั้วโลกละลายและจะทำให้น้ำทะเลสูงขึ้น รวมถึงปรากฏการณ์อื่นๆที่ส่งผลกระทบต่อความสมดุลทางธรรมชาติ หลายคนยังฟังเพียงผ่านๆ และคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว

    แต่ยิ่งนานวันผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศจากสภาวะโลกร้อน ก็ยิ่งพ่นพิษรุนแรง และลุกลามเพิ่มขึ้น แม้จะแตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่

    เช่น เกิดสภาวะเย็นจัดผิดปกติ

    น้ำท่วมมากอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน

    เกิดไฟป่าบ่อยขึ้น

    ความแห้งแล้งยาวนานขึ้น

    ฤดูหนาวไม่หนาวจัด

    ฤดูใบไม้ผลิมาถึงเร็วขึ้น

    ฤดูใบไม้ร่วงมาถึงช้าลง

    ต้นไม้ออกดอกเร็วขึ้น

    โรคภัยไข้เจ็บลุกลาม

    ปะการังฟอกขาว

    การทับถมของหิมะลดลง

    สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกหายไป

    พืชและสัตว์ต่างถิ่นรุกราน

    แนวชายฝั่งสึกกร่อน

    ป่าในเขตภูเขาสูงแห้งแล้ง ฯ


    <CENTER></CENTER>

    ความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สิน จากภัยทางธรรมชาติเหล่านี้เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่า และทุกครั้งก็เหมือนจะยิ่งเพิ่มความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ คือ การยืนยัน และตอกย้ำชัดเจนจนไม่อาจปฏิเสธได้แล้วว่า

    วิกฤตการณ์โลกร้อน....เปิดฉากคุกคามมนุษยชาติอย่างหฤโหด!

    และวันนี้ภัยธรรมชาติ กลายเป็นภัยใกล้ตัวของสังคมโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เสียแล้ว

    ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นอย่างมากมาย และเกือบจะทั่วทุกมุมโลก ทั้งเพิ่มความซับซ้อนยากต่อการทำนาย

    แต่ที่แน่นอนที่สุด คือ ปัญหาโลกร้อนที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะหาต้นเหตุหรือต้นตอของปัญหาจากทฤษฎีใดก็ตาม คำตอบสุดท้าย คือ มนุษย์เป็นตัวการสำคัญของปัญหาโลกร้อน!



    <CENTER></CENTER>
    <H>
    พวกเราต่างพากันปล่อยปละละเลย ไม่ดูแลปกป้องรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซ้ำร้ายกลับช่วยกันคนละไม้คนละมือสร้างมลพิษ

    จากการใช้น้ำมัน การปล่อยสารพิษ สารเคมี การตัดไม้ทำลายป่า เป็นต้น ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือก๊าซเรือนกระจกเพิ่มขึ้นในชั้นบรรยากาศอย่างรวดเร็ว และก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกที่ผิดปกติขึ้น

    รวมทั้งก๊าซชนิดอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติดักจับความร้อนออกไปยังบรรยากาศของโลก ก๊าซเหล่านี้จะรวมตัวกันจนกลายเป็นผ้าห่มหนาๆ ดักจับความร้อนของดวงอาทิตย์ และทำให้โลกมีอุณหภูมิร้อนขึ้น

    ยิ่งก๊าซเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ความร้อนก็จะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งกลายเป็นปัญหาโลกร้อน หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ผิดปกติ หรือมีความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นทั่วโลก
    </H>



    <CENTER></CENTER>
    ประเทศไทยเองก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงจากภาวการณ์นี้ไปได้ จากความผิดปกติของปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา

    นั่นก็คือ ภาวะฝนตกน้ำท่วมขนาดหนักในหลายพื้นที่ การไม่มีฤดูหนาวและฤดูร้อนที่ร้อนมาก หรือกระทั่งแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง


    ขณะที่แนวโน้มของสภาพภูมิอากาศในระยะเวลาประมาณ 40 ปี และ 70 ปีข้างหน้า นักวิชาการจากหลายสำนัก ระบุไปในทิศทางใกล้เคียงกันว่า

    ประเทศไทยจะมีฝนมากขึ้นในเกือบทุกภาค

    ส่วนอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดในประเทศไทย จะไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากนัก

    อาจเพิ่มสูงขึ้นหรือลดลง ประมาณ 1-2 องศาเซลเซียส แต่จำนวนวัน ที่อากาศเย็น จะลดลงอย่างเห็นได้ชัด

    ในทางกลับกันจำนวนวันที่อากาศร้อน ก็จะเพิ่มขึ้น

    ขณะที่ในช่วงเวลาปีต่อปี จะยังคงมีความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศอยู่ เช่น บางปีฝนชุก บางปีแล้งจัด หรือบางปีร้อนมาก เป็นต้น

    แต่ที่น่าห่วง คือ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศเหล่านี้อาจจะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต


    ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผอ.ศูนย์ เครือข่ายงานวิเคราะห์วิจัยและฝึกอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลก แห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (START) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวถึงผลกระทบจากปัญหาโลกร้อนว่า

    สภาพภูมิอากาศของประเทศไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นเรื่อยๆ จากการศึกษาแบบจำลองสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในอีก 30-80 ปี พบว่า จำนวนวันร้อนที่สูงกว่า 33 องศาเซลเซียส จะมีมากขึ้นประมาณ 30-60 วันต่อปี จากปกติ 20 วันต่อปี

    จังหวัดที่มีวันร้อนมากที่สุด คือ อุทัยธานี เนื่องจากมีพื้นที่อยู่ในหุบเขา รองลงมาคือ นครสวรรค์ สำหรับจำนวนวันเย็นที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียส จะมีประมาณ 20-30 วันต่อปี จากเดิมประมาณ 30-40 วันต่อปี

    โดยจังหวัดที่อยู่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกจะมีจำนวนวันเย็นมากที่สุด


    “ภาวะโลกร้อน ยังส่งผลกระทบต่อแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้ฤดูน้ำหลากเปลี่ยนแปลงไป

    โดยในเดือน พ.ย. - ธ.ค. จะมีปริมาณน้ำมากกว่าที่ผ่านมา ถึงร้อยละ 40 เนื่องจาก ทั้งปริมาณน้ำฝน น้ำเหนือ และน้ำทะเลหนุน

    ระดับน้ำทะเลจะสูงขึ้นกว่าที่ผ่านมา จะส่งผลทำให้กรุงเทพฯ และปริมณฑล เกิดน้ำท่วมง่าย และถี่ขึ้น” ดร. อานนท์กล่าวย้ำ

    วิกฤติโลกร้อน ไม่เพียงแต่ ส่งผลกระทบต่อมนุษย์โดยตรง แต่ยังส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศต่างๆ รวมถึงผลผลิตทาง การเกษตร การแพร่ระบาดของแมลงศัตรูพืชหลายชนิด

    และที่หลายคนอาจจะลืมนึกถึง นั่นคือผลกระทบที่สำคัญอันเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเชิงสุขภาพอนามัย จากภาวะโลกร้อน ที่จะนำมาซึ่งโรคอุบัติใหม่

    ศ.ดร.นพ.สมชัย บวรกิตติ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน กล่าวถึงสถานการณ์โรคที่มากับภาวะโลกร้อนว่า

    ภาวะโลกร้อนจะทำให้อัตราการเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มสูงขึ้น อันเนื่องมาจากการสูดก๊าซเรดอน (Radon) ซึ่งเป็นภาวะก๊าซที่เกิดขึ้นในพื้นดินแทรกซึมผ่านรอยแตกของตึก อาคาร บ้านเรือนที่ก่อสร้างพื้นบ้านติดดิน เป็นที่นิยมกันทั่วไป

    หากเทียบอัตรา ส่วนกับบ้านเรือนสมัยก่อนที่นิยมสร้างบ้านลักษณะยกพื้นสูง คนสมัยก่อนจึงมีความเสี่ยงต่ำในการเป็นมะเร็งปอด น่าตกใจว่าปัจจุบันมีคนเป็นโรคนี้เพิ่มขึ้นถึงวันละ 5 ราย


    <CENTER></CENTER>

    ศ.ดร.นพ.สมชัย อธิบายด้วยว่า ภาวะพิษทางอากาศจะส่งผลกระทบต่อมนุษย์ผ่านทางระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะ ผู้ที่ไวต่อสารเหล่านั้นจะมีผลให้มีอาการของโรคทางเดินหายใจ และที่เป็นอยู่แล้วจะมีอาการรุนแรงมากขึ้น

    ในผู้ที่มีโรคปอดหรือโรคหัวใจจะมีความอึดต่อการออกกำลังลดลง สำหรับผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโลกร้อน จะเป็นปัญหาสำคัญของชุมชนเมืองใหญ่และเมืองอุตสาหกรรม


    ภาวะโลกร้อนยังเป็นสาเหตุให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคเขตร้อน ทำให้เกิดความชุกเพิ่มขึ้นในประเทศ และแพร่ขยายออกไปสู่ประเทศที่อยู่เหนือขึ้นไปที่ไม่เคยมีการระบาดมาก่อน

    ทั้งนี้ เนื่องจากผลของการเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยาของพาหะนำโรค เช่น โรคมาลาเรีย โรคไข้เลือดออกเดงกี โรคสมองอักเสบติดเชื้ออาร์บอไวรัส ที่มียุงเป็นพาหะนำโรค เพราะยิ่งอุณหภูมิโลกสูงขึ้นก็ยิ่งเหมาะแก่การนำพาโรคและออกหากินบ่อยขึ้น


    ขณะที่ นพ.ธวัช สุนทราจารย์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ระบุว่า จากการประชุมประเมินสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อ จากภาวะโลกร้อนในระดับนานาชาติ มีความกังวลถึงผลกระทบด้านสุขภาพ

    เนื่องจากอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ เช่น ไข้เลือดออก มาลาเรีย รวมทั้งโรคจากอาหารและน้ำ เช่น อหิวาห์ตกโรค ไทฟอยด์ บิด อาหารเป็นพิษ เป็นต้น

    นอกจากนี้สภาพอากาศที่ร้อนชื้นยังทำให้แบคทีเรียในอากาศมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ มีโอกาสในการแพร่ระบาดสูง ในอนาคตมีความเป็นไป ได้ว่าโรคเหล่านี้หากไม่รีบรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ อาจมีโอกาสเสียชีวิตสูงถึง 60%

    “โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่ต้องจับตามองมากที่สุด เพราะนอกจากยังไม่มียาหรือวัคซีนในการรักษาแล้ว

    ปัจจุบันยังพบว่ายุงลายซึ่งเป็นพาหะสำคัญของโรค ซึ่งเคยออกหากินเฉพาะแต่ในเวลากลางวัน ได้เปลี่ยนมาออกหากินในเวลาพลบค่ำจนถึง 5 ทุ่ม ทำให้ยากต่อการป้องกันหรือวินิจฉัยโรค

    ปัญหาโลกร้อนจึงเป็น มหันตภัยแห่งอนาคตของมนุษยชาติ อย่างแท้จริง และสังคมไทยกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายของสภาพอากาศ” นพ.ธวัช แสดงความห่วงใย


    <CENTER></CENTER>

    จากวิกฤติมหันตภัยทางธรรมชาติที่เพิ่มความรุนแรงและขยายวงมากขึ้นทุกที ทีมข่าวสิ่งแวดล้อม มองว่า การยุติปัญหาโลกร้อนเป็นหน้าที่ของมนุษยชาติทุกคน โดยไม่มีการแบ่งแยกเชื้อชาติ ศาสนา อายุ อาชีพ หรือฐานะความร่ำรวย หรือยากจน

    แต่ทุกคนต้องมีจิตสำนึกและเริ่มต้นปรับตัว ปรับใจ และปรับวิธีการใช้ชีวิตเพื่อร่วมกันป้องกัน และแก้ไขมหันตภัยที่คืบคลานเข้าคุกคามมนุษยชาติ

    โดยเฉพาะเรามองว่า หัวใจในการแก้วิกฤติครั้งนี้ คือ การดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้วยการรู้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง

    ที่เริ่มได้ตั้งแต่ส่วนเล็กที่สุด คือ ตัวเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศ และสังคมโลก ด้วยการร่วมแรงร่วมใจลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

    ปรับเปลี่ยนวิธีการใช้พลังงานน้ำมัน หาพลังงานทดแทน สกัดกั้นการตัดไม้ทำลายป่า ทั้งต้องปลูกป่าเพิ่มมากขึ้น

    ที่สำคัญคือ มนุษย์ ต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วม และรักธรรมชาติ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ธันวาคม 2011
  7. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    www.ainews1.com/article593.html


    ในอนาคตอีกไม่นานจากนี้ไป อาจเกิดเหตุธรรมชาติเปลี่ยนแปลง เมืองร่างกุ้ง ที่พระมหาเจดีย์ชเวดากองตั้งอยู่ อาจจมลงใต้ทะเลไปได้ เนื่องจาก พื้นที่ทางภาคใต้ของพม่า อยู่สูงจากน้ำทะเลไม่มากนัก


    และยังมีแนวโน้มสูงทีเดียว ที่พื้นที่ประเทศพม่ามากกว่าครึ่งประเทศ ทางด้านทิศตะวันตก ตั้งแต่เหนือ ลงมาใต้ติดทะเล มีโอกาสที่เปลือกโลกส่วนนี้ จะทรุดตัวลงไปทั้งแถบ


    พร้อมๆ กับพื้นที่ภาคใต้ และภาคกลางของประเทศไทย ในวิบัติกาลของโลก ที่ใกล้จะครบรอบเต็มทนทุกๆ 3,657 ปี โดยประมาณ


    ซึ่งเป็นภัยธรรมชาติที่ร้ายแรงทั่วโลก ในการเก็บเกี่ยวชีวิตผู้ที่เป็นคนดี ให้ผ่านเข้าไปใน 4 th density


    ตรงกับพระพุทธทำนาย ที่ทรงบอกเอาไว้ล่วงหน้าว่า ในปี 2555 มนุษย์จะเปลี่ยนจากเดิน เป็นคลาน
     
  8. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    ประวัติศาสตร์มันก็ซ้ำรอยเดิมๆ เหมือนแฟชั่นนั่นแหละ พอครบรอบ รึถึงเวลาของมัน ก็จะเวียนกลับมาอย่างเก่าอีก

    แผ่นดินไหวที่โยนกนคร
    www.reurnthai.com/index.php?topic=4310.0;wap2

    [​IMG]

    นักโบราณคดีชาวบ้านแบบผม ได้กลับไปค้นคว้าประวัติศาสตร์ของเมืองเชียงราย และพบว่า ในแถบนี้สมัยโบราณ กว่า 700 ปีมาแล้ว ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาแล้วหลายครั้ง


    การบันทึกประวัติศาสตร์ในสมัยก่อน คุณพ่อผม ได้เคยบอกเล่าไว้ว่า การจะสืบค้นประวัติศาสตร์เก่าๆให้ตามดูตำนาน หรือเรื่องเล่า เพราะเป็นหนึ่งในการบันทึกประวัติศาตร์ในรูปแบบเรื่องเล่า เช่น ประวัติเมืองเชียงแสน (ทิศเหนือของ อ.เมืองเชียงราย)

    เวียงหนองหล่ม ตั้งอยู่ที่เขตติดต่อระหว่างตำบลโยนก อำเภอเชียงแสน กับตำบลจันจว้าอำเภอแม่จัน จากหลักฐานที่ได้จากการสำรวจ สันนิษฐานว่า อยู่ระหว่างยุคหินใหม่ ถึงไม่เกินพุทธศตวรรษที่ ๑๙


    ตำนานและพงศาวดารหลายเล่มกล่าวตรงกันว่า เจ้าชายสิงหนวัติ พาผู้คนมาหาที่ตั้งเมือง พอมาถึงแม่น้ำโขง ก็พบนาคจำแลงเป็นชาย มาบอกสถานที่สร้างเมือง จึงตั้งเมืองโยนกนาคพันสิงหนวัติ โดยเอาชื่อองค์ผู้สร้างเมืองรวมกับชื่อนาค หรือโยนกนครหลวง
    มีกษัตริย์ปกครองสืบจนถึงสมัยพระเจ้ามหาไชยชนะ


    ต่อมา ผู้คนจับปลาไหลเผือกได้ที่แม่น้ำกก จึงนำมาแบ่งกันกินทั่วเมือง เว้นแต่หญิงม่ายนางหนึ่ง ไม่มีลูกหลานไม่มีใครให้กิน ตกกลางคืน เกิดแผ่นดินไหว เมืองถล่มลง เหลือแต่บริเวณบ้านของหญิงม่าย จึงเรียกน้ำนั้นว่าเกาะแม่ม่าย และเรียกเมืองนั้นว่าเวียงหนองล่ม หรือเวียงหนอง


    จากโครงการอนุรักษ์เมืองโบราณและประวัติศาสตร์เชียงแสน มีการสำรวจพื้นที่ของเวียงหนองล่มหลายครั้ง


    เกาะดอนแท่น หรือเกาะหลวง เป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่มีความคลุมเครือในเรื่องสถานที่ตั้ง แต่มีปรากฏในตำนานและพงศาวดารหลายเล่ม ต่างกล่าวตรงกันว่า


    เมื่อพระเจ้าแสนภูสร้างเมืองเชียงแสน ทรงประทับอยู่ในวังบนเกาะดอนแท่น ที่บริเวณหน้าเมืองเชียงแสน จนสวรรคต และตั้งพระบรมศพบนเกาะดอนแท่นระยะหนึ่ง


    นอกจากนี้ เกาะดอนแท่นยัง มีความสำคัญในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาด้วย กล่าวคือ สมัยพระเจ้ากือนาครองเมืองเชียงใหม่ ทรงนำพระสีหลปฏิมาทำพิธีอภิเษกพระบนเกาะดอนแท่น แล้วนำไปประดิษฐานไว้ ณ วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงราย


    ราว พ.ศ. ๑๙๒๖ พระมหาเถรเจ้าศิริวัง นำเอาพระพุทธรูปสององค์ เรียกว่า พระแก้วและพระคำ มาสร้างเป็นวัดพระแก้ว และวัดพระคำบนเกาะดอนแท่น


    สมัยพระเจ้าอติโลกราช ทรงให้ร้อยขุนกับสิบอ้านนิมนต์พระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์องค์หนึ่งจากจอมทอง เมืองเชียงใหม่ ที่เอามาจากเมืองลังกา มาประดิษฐานไว้ที่เกาะดอนแท่น พร้อมทั้งปลูกต้นโพธิ์ไว้ด้วย เป็นที่เคารพสักการะของชาวเชียงแสน


    ต่อมา เกาะดอนแท่น พังทลายลงในแม่น้ำโขง เมื่อใดไม่มีผู้ใดทราบ เนื่องจาก เมืองเชียงแสนร้างไป ตั้งแต่รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ถึงรัชกาลที่ ๕ จึงฟื้นฟูขึ้นมาเป็นบ้านเมืองอีกครั้ง


    ส่วนพระแก้วพระคำนั้นมีผู้สันนิษฐานว่า พระแก้วนั้น อาจจะไปอยู่กับผู้อพยพชาวไทยวนเมืองเชียงแสน ไปอยู่ที่เมืองลำปาง สำหรับพระคำ ไม่มีปรากฏว่าไปอยู่ที่ใด


    เคยมีการสำรวจหาที่ตั้งของเกาะดอนแท่นหลายครั้ง แต่ไม่สำเร็จ เนื่องจากกระแสน้ำเชี่ยวกราก น้ำเย็นจัด ประกอบทัศนวิสัยใต้น้ำของแม่น้ำโขง เท่ากับศูนย์ ไม่สามารถมองเห็นใต้น้ำด้วยตาเปล่า


    จนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีการสำรวจหาที่ตั้งของเกาะดอนแท่น อย่างเป็นทางการ เนื่องจาก แม่น้ำโขงเป็นเส้นทางแบ่งพรมแดนธรรมชาติระหว่างไทย - ลาว เมื่อมิได้มีการขออนุญาตอย่างเป็นทางการ การสำรวจไม่สามารถกระทำได้ เพราะจะกระทบกระเทือนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ


    การเกิดแผ่นดินไหวที่เชียงรายนั้น น่าจะเกิดต่อเนื่องกันมานาน


    และโดยเหตุนี้กระมังครับ ที่กว่า 700 ปีมาแล้ว นักสร้างเมืองอย่าง พ่อขุนเม็งรายมหาราชจึงได้ทำการย้ายเมืองถึง 3 ครั้ง


    กล่าวคือ เชียงราย เวียงกุมกาม และ เชียงใหม่ในที่สุด


    ข่าวจากทีวี ช่อง 9 เมื่อค่ำวันที่ 25 มีนาคม 2554 คุณสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พูดถึงเรื่องแผ่นดินไหวในภาคเหนือว่า ในปี พ.ศ. 2003 เกิดแผ่นดินไหวใหญ่ที่เชียงแสน


    และพูดต่อว่า ตรงกว๊านพะเยานั้น เกิดจากแผ่นดินไหว ทำให้ดินยุบตัวลงไปกลายเป็นกว๊านพะเยา

    [​IMG]


    ประวัติศาสตร์น้ำท่วมเวียงกุมกาม
    www.th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A1


    เวียงกุมกาม เป็นเมืองโบราณ ที่พญามังราย (พ่อขุนเม็งราย) ทรงโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1829 โดยโปรดให้ขุดคูเวียงทั้ง 4 ด้าน ไขน้ำแม่ปิงให้ขังไว้ ในคูเมืองโบราณสถานที่ปรากฏอยู่ในเวียงกุมกามและใกล้เคียง เป็นเวียง (เมือง) ทดลองที่สร้างขึ้น


    ก่อนที่จะมาเป็นเมืองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีระยะห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร


    หลังจากที่พญามังรายได้ปกครองและพำนักอยู่ในนครหริภุญชัย (ลำพูน) อยู่ 2 ปี พระองค์ทรงศึกษาสิ่งหลายๆอย่าง และมีพระราชดำริที่จะลองสร้างเมืองขึ้น เมืองนั้นก็คือ เวียงกุมกาม


    แต่พระองค์ก็ทรงสร้างไม่สำเร็จ เพราะเวียงนั้นมีน้ำท่วมอยู่ทุกปี จนพญามังรายจึงทรงต้องไปปรึกษาพระสหาย นั่นก็คือ พ่อขุนรามคำแหง แห่ง สุโขทัย และ พญางำเมือง แห่ง พะเยา


    หลังจากทรงปรึกษากันแล้ว จึงทรงตัดสินใจไปหาที่สร้างเมืองใหม่ ในที่สุดจึงได้พื้นที่นครพิงค์เชียงใหม่เป็นเมืองใหม่ และ เป็นเมืองหลวงแห่งอาณาจักรล้านนาต่อมา จึงสรุปได้ว่าเวียงกุมกามนั้น เป็นเมืองที่ทดลองสร้าง


    เวียงกุมกามล่มสลายลง เพราะเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่

    โดยช่วงเวลานี้อยู่ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2101 - 2317 ซึ่งตรงกับสมัยพม่าปกครองล้านนา พม่าปกครองล้านนาเป็นเวลาสองร้อยกว่าปี


    แต่ไม่ปรากฏหลักฐานที่กล่าวถึงเวียงกุมกามทั้งๆ ที่เหตุการณ์น้ำท่วมครั้งใหญ่นี้เป็นเรื่องร้ายแรงมากและสมควรที่จะบันทึกไว้ แต่ก็ไม่มีการบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ใดเลย


    ผลของการเกิดน้ำท่วมนี้ ทำให้เวียงกุมกามถูกฝังจมลงอยู่ใต้ตะกอนดิน จนยากที่จะฟื้นฟูกลับมา

    สภาพวัดต่างๆ และโบราณสถานที่สำคัญเหลือเพียงซากวิหารและเจดีย์ร้าง ที่จมอยู่ดินในระดับความลึกจากพื้นดิน ลงไปประมาณ 1.50 -2.00 เมตร
    <!-- google_ad_section_end -->__________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->
     
  9. ชัยบวร

    ชัยบวร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2011
    โพสต์:
    928
    ค่าพลัง:
    +1,642
    ยอดเยี่ยมครับ...บางข้อมูลตรงกับสิ่งที่คุณสันติรักษ์ เศวตอาชาเคยบอกไว้เลยครับ
     
  10. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    [​IMG]

    นาซ่า พบวิธีเตือนแผ่นดินไหว ล่วงหน้า 3 วัน

    เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 54 เว็บไซต์เดลิเมล ของอังกฤษ รายงานว่า องค์การนาซ่า (NASA) ตรวจพบปริมาณอิเล็กตรอน ในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ ในระดับสูงผิดปกติ บริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว ช่วง 3 วัน ก่อนเกิดภัยพิบัติสึนามิที่ญี่ปุ่น

    เชื่อว่า เป็นปฏิกิริยาของพื้นผิวโลก ซึ่งสามารถใช้ผลตรวจวัดดังกล่าวเป็นสัญญาณเตือนภัยแผ่นดินไหวครั้งต่อไปได้ ดีเลยทีเดียว

    รายงานระบุว่า นักวิทยาศาสตร์จากองค์การนาซ่าในรัฐแมรี่แลนด์ ของสหรัฐฯ ได้นำรายงานบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับชั้นบรรยากาศบริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว ช่วงเกิดภัยพิบัติสึนามิในญี่ปุ่น มาวิเคราะห์ และพบว่า

    ก่อนหน้าที่จะเกิดภัยพิบัติสึนามิ 3 วัน คือในวันที่ 8 - 10 มีนาคม นั้น ปริมาณอิเล็กตรอน ในชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ ได้มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น อย่างน่าตกใจ

    ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ก่อนเกิดเหตุแผ่นดินไหว แรงดันภายในเปลือกโลกจะทำให้เกิดการปล่อย ก๊าซเรดอน ออกมาในปริมาณที่สูงมาก ทำให้เกิดความร้อนในช่วงเวลาดังกล่าว

    ซึ่งความร้อนที่ถูกปล่อยออกมานี้ จะกลายเป็นความร้อนส่วนเกิน ที่จะถูกบันทึกเป็นรังสีอินฟาเรด ที่แสดงให้เห็นผ่านภาพจากดาวเทียมของนาซ่า


    [​IMG]


    ทั้งนี้ ภาพถ่ายจากดาวเทียมดังกล่าว ถือว่าเป็นประโยชน์สำหรับนักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก เพราะมันสามารถทำให้นักวิทยาศาสตร์ ได้รู้ถึงเหตุการณ์ภัยพิบัติ หรือความผิดปกติทางธรณี ที่อาจจะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้

    และหลังจากนี้ นักวิทยาศาสตร์ ก็จะนำการตรวจปริมาณความร้อน ในพื้นที่ทั่วโลก ไปใช้ในการประกาศเตือนภัย ในพื้นที่ซึ่งกำลังจะประสบเหตุต่อไป

    ข้อมูลของชั้น บรรยากาศไอโอโนสเฟียร์

    ชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ห่างจากผิวโลกมากที่สุด รวมถึง เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายคลื่นในย่านความถี่ HF มากที่สุดอีกด้วย

    สิ่งน่าสนใจเกี่ยวกับบรรยากาศไอโอโนสเฟียร์ คือ ความสามารถหักคลื่นวิทยุให้สะท้อนกลับมาที่โลก เป็นการเพิ่มระยะทางส่งได้มากขึ้น

    นิยมใช้งานกันในย่านความถี่ HF ลงไป ถ้าสูงกว่านี้อย่างย่าน VHF ไม่สามารถส่งโดยวิธีนี้ได้เพราะจะทะลุชั้นไอโอโนสเฟียร์ออกไป

    การแพร่กระจายของรังสีอุลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตย์ เข้าหาชั้นบรรยากาศของโลก ทำให้เกิดการถ่ายเทพลังงาน เข้าสู่โมเลกุลของชั้นบรรยากาศ ไอโอโนเฟียร์ ให้เกิดการไอออนไนซ์ ของโมเลกุลขึ้น

    ข้อมูลของก๊าซเรดอน

    ก๊าซเรดอน เป็นกาซไม่มีสี ไม่มีกลิน ไม่มีรส และมองไม่เห็น เกิดจากการสลายตัวของยูเรเนียม-238

    อะตอมของเรดอน เป็นอะตอมของก๊าซเฉื่อย มีครึ่งชีวิตสัน แหล่งกำเนิดของเรดอน แบ่งเป็น 3 ประเภทคือ

    ก๊าซในดิน สามารถแพร่ผ่านช่องว่างเล็ก ระหว่างดินเข้าสูที่พักอาศัย น้ำใต้ดิน

    เรดอนที่เจือปนในน้ำ จะออกมาจากน้ำ และเข้าสู่อากาศภายในอาคาร และวัสดุกอสร้าง ที่อาจทํามา จากสารกัมมันตรังสี

    ประเทศไทยพบก๊าซเรดอน มากในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในฤดูหนาว

    เนื่องจาก มีลมพัดจากแผ่นดินใหญ่จีน เข้าสูประเทศไทยทางทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะนําก๊าซเรดอนเข้ามาด้วย โดยมีค่าเฉลี่ย 186 pCi / L

    ส่วนในฤดูร้อนและฤดูฝน มีลมพัดมาจากทิศใต้ ผ่านทะเลเป็นสวนใหญ่ ผ่านแผ่นดินน้อย จากการวัดพบว่า มีความเข้มข้นกาซเรดอน น้อยกว่าในฤดูหนาว

    ก๊าซเรดอน เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด เป็นอันดับสอง รองจากบุหรี่

    อนุภาคกัมมันตรังสี ที่เกิดจากเรดอน เมื่อเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ จะเกิดการสลายตัวต่อไป ให้รังสีแอลฟา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อปอด เป็นสาเหตุที่ทําให้เกิดโรคมะเร็งได้

    www.moosuper.com/blog392-(NASA)%20%E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A7%20%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%203%20%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99.html<!-- google_ad_section_end -->
     
  11. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    บ้านไข่สู้ภัยพิบัติ

    www.eureka.bangkokbiznews.com/detail/419069

    [​IMG]

    ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกว่า บ้านหลังแรกหรือหลังใหม่ จะเป็นสไตล์อะไร ระหว่างแบบคลาสสิก อลังการหรูหรา ไทยประยุกต์ หรือจะเป็นสไตล์โมเดิร์น ที่เน้นประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก และบ้านแบบร่วมสมัย ที่ไม่หรูเกินไป ไม่เรียบเกินไป

    ไม่ว่าจะเป็นสไตล์ไหน สิ่งสำคัญสุดในการออกแบบ ตั้งแต่เหตุการณ์น้ำท่วม ปี 54 เป็นต้นมา จำเป็นต้องคำนึงถึงประเด็น "สู้น้ำท่วม" หนึ่งในคุณสมบัติหลัก ของบ้านในยุคสมัยนี้

    [​IMG]


    : ดีไซน์รับภัยธรรมชาติ

    บ้านสู้ภัยพิบัติ เป็นแนวคิดการออกแบบที่ยึดประเด็น "สู้น้ำ สู้ลม สู้แรงสะเทือน" เป็น
    โจทย์หลัก โดย "ชาติชาย สุภัควนิช" ได้รับแรงบันดาลใจจาก คำถามนักศึกษาว่า

    [​IMG]

    "ทำไมไม่มีใครคิดสร้างบ้าน ที่ลดข้อจำกัดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ความร้อน ประหยัดพลังงานและต้านภัยพิบัติได้"

    การออกแบบบ้าน รับมือภัยพิบัตินั้น มีความแตกต่างจากการออกแบบบ้านทั่วไป ใน 3 เรื่องหลัก คือ วัสดุที่ใช้ เทคนิคการก่อสร้าง และโครงสร้างความแข็งแรง

    [​IMG]

    บ้านทรงกลมคล้ายไข่ แม้จะดูแปลกตา แต่เป็นโครงสร้างที่มีความปลอดภัยที่สุด จากภัยธรรมชาติ เมื่อมีแรงลมปะทะ ความโค้งมนของตัวบ้าน จะกระจายแรงปะทะออกไป

    [​IMG]

    หรือเมื่อเกิดแผ่นดินไหว ก็ไม่มีมุมเหลี่ยมกระแทกให้แตกหัก เพราะไม่มีรอยเชื่อมต่อ

    ฉะนั้น กรณีเกิดภัยพิบัติ จึงสามารถเป็นที่หลบภัยได้ เพราะแข็งแรง เปรียบเสมือนบังเกอร์เนื่องจาก เป็นวัสดุชิ้นเดียว

    [​IMG]

    "หากเทียบกับรูปทรงบ้านสี่เหลี่ยมแล้ว ทรงกลม จะมีเส้นรอบรูปน้อยกว่า เมื่อเส้นรอบรูปน้อย ทำให้ใช้วัสดุลดลง และทำให้ความร้อน เข้าสู่ตัวอาคารน้อยลงด้วย เมื่อความร้อนน้อยลง ก็ช่วยประหยัดไฟจากค่าแอร์"

    [​IMG]

    นอกจากรูปทรงที่แตกต่าง วิธีก่อสร้างบ้าน ยังไม่เหมือนใครอีกด้วย เริ่มต้นจาก ไม่ต้องตอกเสาเข็ม แต่จะใช้วิธีเทคานแทน

    [​IMG]

    จากนั้น ใช้ผ้าเต็นท์อัดลมเข้าไป ขึ้นรูปแล้วฉีดโฟม เสริมเหล็กเส้นตามรูปทรง แล้วพ่นคอนกรีต เพื่อยึดโครงสร้างภายนอก

    จากนั้น เลาะผ้าเต็นท์ออก แล้วตกแต่งสีสัน ให้ความสวยงามตามต้องการ หรือจะใช้วิธีผสมสีลงในซีเมนต์ ทำให้สีติดคงทนถาวรไม่ลอกร่อน

    นอกจากนี้ บ้านไข่ยังสามารถลอยน้ำได้ เมื่อเกิดอุทกภัย เนื่องจาก พื้นบ้าน ทำมาจากโฟม
    : วิชาความรู้ต้องลงทุนลงแรง

    การออกแบบบ้านสู้ภัยพิบัติของชาติชาย ไม่ได้มาจากการนั่งวาดฝันบนโต๊ะ แต่เขาเริ่มศึกษาหาความรู้ ด้านเทคโนโลยีสู้ภัยธรรมชาติ อย่างจริงจัง

    ถึงขั้น ลงทุนไปเรียนรู้เพิ่มเติมในสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่เผชิญกับภัยธรรมชาติทุกรูปแบบ เช่น พายุ แผ่นดินไหว ลูกเห็บ เพลิงไหม้ เพื่อหาวิธีสร้างบ้าน รับมือกับภัยธรรมชาติ

    หลังจากเรียนรู้กระบวนการ ก็ได้นำทักษะความรู้ มาประยุกต์ใช้ กับการออกแบบบ้าน วิธีการทำงานและผลิตวัสดุหนีน้ำ ทดแทนการนำเข้า ซึ่งมีราคาแพง เกินกำลังซื้อของคนไทย


    : สะเทินน้ำสะเทินบก

    นวัตกรรมโครงสร้างนี้ เป็นที่นิยมในต่างประเทศ โดยเฉพาะ นำไปใช้ในทางธุรกิจ เช่น คีออส รูปทรงต่างๆ และเมื่อจบงาน ก็สามารถเคลื่อนย้ายนำไปใช้ใหม่ได้ ไม่ต้องทุบทิ้ง

    สำหรับจุดเด่นของนวัตกรรมนี้ คือ สามารถลดขั้นตอนการก่อสร้าง จากปกติทั่วไป ลงกว่าครึ่งหนึ่ง ไม่ต้องพึ่งพา เสาเข็ม ผนัง คาน หลังคา ทำให้ระยะเวลาการทำงานสั้นลง

    เช่น จากเดิมใช้เวลา 4 เดือน เหลือแค่ 20 วัน ส่วนค่าใช้จ่ายลดลง 20% จากราคาบ้านปกติ

    ส่วนผลทดสอบในต่างประเทศ พบว่า สามารถป้องกันแผ่นดินไหว ได้ถึงระดับความรุนแรง 7- 8 ริกเตอร์

    ทนไฟได้ถึง 3 - 4 ชั่วโมง

    ทนแรงพายุได้ถึง ระดับ 5 ซึ่งถือว่าเป็นระดับสูงสุด

    ส่วนคนที่มีบ้านอยู่แล้ว แต่ต้องการอุปกรณ์ป้องกันน้ำเข้าบ้าน อย่าเพิ่งหมดหวัง วิศวกรโยธา เตรียมพัฒนานวัตกรรม ออกมานำเสนอ

    เริ่มจาก วาล์วเปิดปิดท่อน้ำภายในบ้าน ซึ่งในต่างประเทศเรียกว่า Backflow เพื่อป้องกันน้ำที่ไหลมาตามท่อ

    รวมทั้ง แผ่นเหล็กหล่อ เพื่อป้องกันน้ำทะลักเข้าบ้าน
     
  12. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"อานนท์"คาด ไทยจะอยู่กับน้ำ 5-10 ปี ตามวงรอบ ชี้ น้ำมาก</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=middle align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=middle align=left>10 ธันวาคม 2554 </TD><TD vAlign=middle align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT>

    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT>

    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=center><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=center><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=center></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=middle align=center>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=center>ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (แฟ้มภาพ)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=middle width=165 align=center>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=center><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>"อานนท์" ชี้ ปีหน้าปริมาณน้ำจะมากเหมือนกับปีนี้ เผย ยังไม่มีปัจจัยใดคาดการณ์ได้ล่วงหน้า ขณะที่ดาวเทียมมองเห็นแค่พายุก่อตัว เตือนภัยได้ล่วงหน้าเท่านั้น คาด ไทยจะอยู่ในภาวะน้ำมากอีก 5-10 ปี ตามวงรอบ เหตุจากภาวะโลกร้อน

    วันนี้ (10 ธ.ค.) นายอานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ คาดการณ์ถึงสภาพอากาศในปีหน้าว่า จะมีปริมาณน้ำมาก คือฝนจะมากกว่าค่าเฉลี่ย

    โดยปริมาณน้ำมาจากฝนมรสุมที่พอกับปีนี้ และยังเป็นห่วงว่าสถานการณ์ที่มีน้ำมาเติมนอกจากมรสุมอาจเกิดขึ้นได้อีก

    นอกจากนี้ ยังไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่า จะมีพายุหรือร่องความกดอากาศต่ำที่เข้ามาอย่างไม่ทราบสาเหตุ จนทำให้เกิดฝนตกหนักอย่างในปีนี้หรือไม่

    เนื่องจาก ไม่มีปัจจัยใดนำมาคาดการณ์ได้ ส่วนดาวเทียมที่ใช้คาดการณ์พายุจะมองเห็นเมื่อพายุเริ่มก่อตัวขึ้นแล้ว และสามารถใช้ในการเตือนภัยได้ 5 - 10 วันล่วงหน้าเท่านั้น ไม่สามารถบริการจัดการน้ำหรือป้องกันอย่างอื่นได้ทัน

    นายอานนท์ กล่าวีอกว่า ขณะที่ประเทศไทยจะต้องอยู่ในภาวะน้ำมากแบบนี้อีกราว 5-10 ปีตามวงรอบ ซึ่งปัจจัยจากโลกร้อนอาจเป็นผลในการเสริมบ้างเล็กน้อยเท่านั้น แต่อยู่ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ที่ต้องจับตาหลังจาก 10 ปีไปแล้ว สภาพอากาศอาจจะเปลี่ยนรูปแบบไป

    สำหรับหน้าแล้งปีนี้ จะเริ่มต้นขึ้นเร็วกว่าปกติ เนื่องจาก มีการระบายน้ำไว้มากในช่วงนี้ จึงอาจส่งผลกระทบกับพื้นที่นอกเขตชลประทานเป็นหลัก

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    การรวมตัวของกูรูด้านภัยพิบัติ

    [​IMG]
     
  14. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>"แหลมตะลุมพุก" เจอคลื่นถล่มน้ำทะเลท่วมอีกรอบ เร่งอพยพ ปชช.หนี</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>11 ธันวาคม 2554 </TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT>

    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT>

    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=1 vAlign=top width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>นครศรีธรรมราช - "แหลมตะลุมพุก" เจอคลื่นถล่มอีกรอบน้ำทะเลท่วมอีกระลอกแทบกลายเป็นหมู่บ้านร้าง น้ำทะเลยิ่งรุกกลืนหนัก ชาวบ้านวอนทางการเร่งจัดการพื้นที่ย้ายหมู่บ้าน

    วันนี้ (11 ธ.ค.54) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลังจากที่กรมอุตุนิยมวิทยาได้แจ้งเตือนถึงภาวะฝนตกหนักและคลื่นลมแรงในชายฝั่งภาคใต้ ล่าสุดบรรยากาศในบ้านแหลม ต.แหลมตะลุมพุก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช

    ได้ตกอยู่ในภาวะวิกฤตประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านต่างอยู่ในสภาพเดือดร้อนอย่างแสนสาหัสอีกครั้ง น้ำทะเลได้ยกตัวขึ้นสูง คลื่นลมรุนแรงได้พัดโหมเข้าท่วมหมู่บ้านอย่างหนัก บ้านที่พังบางส่วนอยู่แล้วเมื่อคราวคลื่นถล่มเมื่อ 2 สัปดาห์ก่อน

    มาครั้งนี้ได้พังลงอย่างสิ้นเชิง ศาลาในหมู่บ้านที่เสียหาย และเอียงลงไปในทะเล ได้พังลงอย่างสิ้นเชิง

    ต้นมะพร้าวจำนวนมากล้มระเนระนาดเพิ่มมากขึ้น ซากสวะกระจัดกระจายราวกับเป็นหมู่บ้านร้าง แนวกัดเซาะของคลื่นได้รุกเข้าเพิ่มอีกหลายเมตรข้ามถนนกลางหมู่บ้านเข้ามาจนเต็มหมู่บ้าน ประชาชนยังต้องอาศัยอยู่ในหมู่บ้านต่อไปอย่างยากลำบาก

    ครอบครัวไหนที่บ้านพังเสียหายต้องหลบไปอาศัยบ้านญาติในละแวกตัวตำบลชั้นใน โดยต่างเรียกร้องขอให้ทางการเร่งในการจัดการพื้นที่ 150 ไร่ อย่างเร่งด่วน

    เพื่อย้ายทั้ง 2 หมู่บ้านออกจากพื้นที่เนื่องจากขณะนี้ทั้งสองหมู่บ้านแทบจะอาศัยไม่ได้แล้ว

    นายทรงฤทธิ์ ฐานะวัฒนา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมตะลุมพุก เปิดเผยว่า คลื่นพัดรุนแรง น้ำทะเลเข้าท่วมครั้งนี้มีความรุนแรงไม่ต่างจากคราวที่แล้วการกัดเซาะพังทลายของผืนดินมีมากขึ้นเรื่อยๆ

    ความเสียหายขยายวงกว้างมากขึ้น การช่วยกันในขณะนี้คือการอพยพเรือ สิ่งของต่างๆ ออกจากบ้านเรือนไปยังที่ปลอดภัยก่อน.

    “อบต.พยายาม ที่จะเร่งรัดในเรื่องของการย้ายหมู่บ้านทั้ง 2 หมู่บ้าน ซึ่งต้องการดำเนินการอยู่หลายส่วน ขณะนี้กำลังรอทางการเรียกประชุมอีกครั้งเพื่อทราบถึงความคืบหน้า หากจะให้ชาวบ้านเข้าไปเลยคงลำบากมาก

    เพราะไม่มีทุนที่จะไปหักร้างถางพง จึงต้องรอให้ทางการเข้ามาจัดทำผังถนนหนทาง ที่ดินต่างๆ ให้เรียบร้อยจึงจะย้ายกันไปได้

    วันนี้มีความรุนแรงแค่นี้แต่อีก 2-3 วันข้างหน้าน้ำจะมากกว่านี้อย่างแน่นอน น้ำทะเลจะยกตัวเพิ่มสูงขึ้นมากกว่านี้” นายก อบต.แหลมตะลุมพุกกล่าว


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ชายหาดชลาทัศน์ แหลมสมิหลาอ่วม คลื่นซัดชายหาดเสียหายยับ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>11 ธันวาคม 2554 </TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT>

    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT>
    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=bottom width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD><TD><TABLE border=0 cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center background=/images/linedot_vert.gif width=1 align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD height=1 vAlign=top width=1 align=right>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top background=/images/linedot_hori.gif align=middle>[​IMG]</TD><TD height=1 vAlign=top width=1 align=left>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=12 vAlign=bottom align=left>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top width=160 align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=1 vAlign=center width=165 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=/images/linedot_vert3.gif width=4>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=7 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>ศูนย์ข่าวหาดใหญ่ - คลื่นในอ่าวไทยที่มีกำลังแรงอีกระลอกได้ซัดชายหาดชลาทัศน์แหลมสมิหลาเสียหาย ต้นสนล้มอีก 6 ต้น แม้จะมีการป้องกันทั้งนำหินและกระสอบทรายมาวางเป็นแนวกันคลื่นแต่ก็ไม่สามารถต้านทานได้

    วันนี้ (11 ธ.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากสภาพคลื่นลมในทะเลอ่าวไทยที่มีกำลังแรงขึ้นในระยะนี้จากอิทธิพลของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมอ่าวไทย ได้สร้างความเสียหายให้กับพื้นที่บริเวณชายหาดชลาทัศน์ แหลมสมิหลา จ.สงขลา อีกครั้ง

    เนื่องจากคลื่นได้กัดเซาะชายหาดทำให้ต้นสนขนาดใหญ่ที่อยู่ติดริมทะเลล้มอีก 6 ต้นและอยู่ในสภาพที่เอียงใกล้ล้มอีก 10 ต้น แม้ทางเทศบาลนครสงขลาจะเตรียมการป้องกัน

    โดยนำหินขนาดใหญ่รวมทั้งกระสอบทราบมาวางเป็นแนวกันคลื่นไว้แล้ว แต่ก็ไม่สามารถต้านทานความแรงของคลื่นที่ซัดข้ามแนวหินและกระสอบทรายขึ้นมา

    และเหลือไม่ถึง 6 เมตร ก็จะกินพื้นที่ชายหาดลึกเข้าไปจนถึงแนวถนนชลาทัศน์ซึ่งเป็นถนนสายเลี่ยงเมืองเลียบชายทะเล

    โดยในเบื้องต้น นายสมชาย เมฆาอภิรักษ์ รองนายกเทศมนตรีนครสงขลา ได้มาตรวจสภาพพื้นที่เพื่อเร่งหาทางป้องกันโดยเฉพาะบริเวณที่ยังไม่ได้มีการนำหินหรือกระสอบทรายมาวางเป็นแนวกั้น

    พร้อมกับแจ้งเตือนประชาชนที่จะเดินทางมาเที่ยวพักผ่อนที่บริเวณชายหาดชลาทัศน์ให้ระวังต้นสนริมชายหาดล้ม และห้ามลงเล่นน้ำทะเลอย่างเด็ดขาด

    เนื่องจาก ขณะนี้คลื่นแรงจัด อาจถูกคลื่นซัดจมน้ำเสียชีวิตได้

    ขณะที่ทางศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออกได้ประกาศเตือนให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยตั้งแต่ จ.นครศรีธรรมราช ลงมา ระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดจากฝนตกหนักในระหว่างวันที่ 11-12 ธันวาคมนี้

    สำหรับคลื่นลมในอ่าวไทยยังคงมีกำลังแรง ทะเลมีคลื่นสูง 2-4 เมตร ขอให้ประชาชนที่อาศัยตามแนวชายฝั่งทะเลภาคใต้ฝั่งตะวันออก ระมัดระวังอันตรายจากคลื่นที่ซัดเข้าหาฝั่ง

    ชาวเรือและชาวประมงเดินเรือด้วยความระมัดระวัง เรือเล็กควรงดออกจากฝั่ง

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  15. พนมกุเลน

    พนมกุเลน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,455
    ค่าพลัง:
    +7,618
    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER> </CENTER><CENTER></CENTER>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER></CENTER>

    <DD> <DD>พระ<WBR>ปรีชา<WBR>ญาณ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>แก้<WBR>ปัญหา<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>และ<WBR>อุทก<WBR>ภัย<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>บาท<WBR>สมเด็จ<WBR>พระ<WBR>เจ้า<WBR>อยู่<WBR>หัว<WBR>เริ่ม<WBR>จาก<WBR>พร<WBR><WBR>ะราช<WBR>ปณิธาน<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ท่าน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>บำบัด<WBR>ทุกข์ บำรุง<WBR>สุข<WBR>ราษฎร<WBR>ของ<WBR>ท่าน<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>ภัย<WBR>พิบัติ<WBR>จาก<WBR>ภัย<WBR>แห้ง<WBR>และ<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม<WBR>เป็น<WBR>ประจำ <DD> <DD><DD>พระ<WBR>ปรีชา<WBR>ญาณ<WBR>และ<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ปณิธาน<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ปัญหา<WBR>ภัย<WBR>ธรรม<WBR>ชาติ<WBR>ทั้ง<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>ตอน<WBR>บน ตอน<WBR>กลาง และ<WBR>ตอน<WBR>ล่าง<WBR>ของ<WBR>ลุ่ม<WBR>น้ำ<WBR>สำคัญ<WBR>ของ<WBR>ประเทศ<WBR>ไทย<WBR>โดย<WBR>ละเอียด ปรากฎ<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>วาร<WBR>สาร<WBR>สมาคม<WBR>เศรษฐศาสตร์ ธรรม<WBR>ศาสตร์ ปี<WBR>ที่ ๗ ฉบับ<WBR>ที่ ๒ เมษายน - มิถุนายน ๒๕๓๙ <DD> <DD><DD>เพื่อ<WBR>เป็น<WBR>การ<WBR>แสดง<WBR>พระ<WBR>ปรีชา<WBR>ญาณ<WBR>ให้<WBR>ปรากฎ คณะ<WBR>ผู้<WBR>จัด<WBR>ทำ<WBR>หนังสือ<WBR>นี้<WBR>ขอ<WBR>อนุญาต<WBR>นำ<WBR>บาง<WBR>ส่วน<WBR>ของ<WBR>บท<WBR>ความ<WBR>เรื่อง "พระ<WBR>ราช<WBR>ปณิธาน<WBR>การ<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ปัญหา<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR><WBR>" มา<WBR>เสนอ<WBR>ไว้ ณ ที่<WBR>นี้ ดัง<WBR>นี้ <DD> <DD><DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>หลาย<WBR>ต่อ<WBR>หลาย<WBR>ปี<WBR>มา<WBR>แล้ว<WBR>ที่<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>พิจารณา<WBR>และ<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ปัญหา<WBR>น้ำ พระ<WBR>องค์ ทรง<WBR>หยั่ง<WBR>ด้วย<WBR>วิทยา<WBR>การ<WBR>ได้<WBR>ว่า ปัญหา<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>อย่าง<WBR>แน่<WBR>นอน <WBR>ต่อ<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>อัน<WBR>กว้าง<WBR>ใหญ่<WBR>ใน<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>อาณา<WBR>จักร ระยะ<WBR>เวลา<WBR>กว่า ๔๗ ปี ที่<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>ตรากตรำ<WBR>พระวรกาย<WBR>บำเพ็ญ<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>กรณียกิจ<WBR>นานัปการ<DD> <DD><DD><WBR>โดย<WBR>ได้<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ทาน<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำ<WBR>ริ<WBR>ต่าง ๆ มา<WBR>แล้ว ๒,๐๐๐ โครง<WBR>การ โดย<WBR>เฉพาะ<WBR>เรื่อง<WBR>น้ำ หาก<WBR>เรา<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ตาม<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำริ<WBR>สถาน<WBR>การณ์<WBR>จะ<WBR>เลว<WBR>ร้าย<WBR>ไป<WBR>กว่า<WBR>นี้<WBR>เพียง<WBR>ใด <DD>

    <DD>วัน<WBR>นี้<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ได้<WBR>ทรง<WBR>ระบาย<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>แล้ว ในวโร<WBR>กาสเฉลิม<WBR>พระ<WBR>ชนมพรรษา<WBR>ต่อ<WBR>หน้า<WBR>นายก<WBR>รัฐมนตรี ข้า<WBR>ราช<WBR>การ และ<WBR>พสก<WBR>นิกร <DD> <DD>

    <DD>"วัน<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ขอ<WBR>พูด ขอ<WBR>อนุญาต<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>พูด เพราะ<WBR>ว่า<WBR>อั้น<WBR>มา<WBR>หลาย<WBR>ปี<WBR>แล้ว เคย<WBR>พูด<WBR>เมื่อ<WBR>หลาย<WBR>ปี<WBR>ใน<WBR>วิธี<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ปฏิบัติ<WBR>เพื่อ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>ทรัพยากร<WBR>น้ำ<WBR>พอ<WBR>เพียง<WBR>และ<WBR>เหมาะ<WBR>สม <DD> <DD><DD>คำ<WBR>ว่า<WBR>พอ<WBR>เพียง<WBR>ก็<WBR>หมาย<WBR>ความ <WBR>ให้<WBR>มี<WBR>พอ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>บริโภค ใน<WBR>การ<WBR>ใช้<WBR>ทั้ง<WBR>ใน<WBR>ด้าน<WBR>การ<WBR>ใช้<WBR>บริโภค<WBR>ใน<WBR>บ้าน ทั้ง<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ใช้<WBR>เพื่อ<WBR>การ<WBR>เกษตร<WBR>กรรม อุตสาหกรรม<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>พอ <DD> <DD><DD>ถ้า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>พอ<WBR>ทุก<WBR>สิ่ง<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>ก็<WBR>ชะงัก<WBR>ลง แล้ว<WBR>ก็<WBR>ทุก<WBR>สิ่ง<WBR>ทุก<WBR>อย่าง<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>จะ<WBR>ภูมิ<WBR>ใจ<WBR>ว่า<WBR>ประเทศ<WBR>เรา<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>เจริญ<WBR>ก็<WBR>ชะงัก<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ทางที่<WBR>จะ<WBR><WBR>เจริญ ถ้า<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR><WBR>" <DD>

    <DD>พระบรม<WBR>ราโชวาท<WBR>ที่<WBR>ทรง<WBR>ระบาย<WBR>ความ<WBR>ใน<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>หฤทัย อีก<WBR>ตอน<WBR>หนึ่ง มี<WBR>ดัง<WBR>นี้ <DD> <DD>

    <DD>"ปัญหา<WBR>เรื่อง<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>นี้ ดู<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ปัญหา<WBR>ที่<WBR>แก้<WBR>ไม่<WBR>ได้ และ<WBR>ก็<WBR>หมู่<WBR>นี้<WBR>พูด<WBR>กัน<WBR>อย่าง<WBR>ขวัญ<WBR>เสีย<WBR>ว่า อีก<WBR>หน่อย<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ปัน<WBR>ส่วน<WBR>น้ำ <WBR>หรือ<WBR>แม้<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ตัด<WBR>น้ำ<WBR>ประปา อัน<WBR>นี้<WBR>สำหรับ<WBR>กรุง<WBR>เทพฯ ฉะนั้น <WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>หา<WBR>ทางแก้<WBR>ไข และ<WBR>ซึ่ง<WBR>ปัญหา<WBR>นี้<WBR>ได้<WBR>วาง<WBR>แผน<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>หลาย<WBR>ปี<WBR>แล้ว <DD> <DD><DD>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>ได้<WBR>ปฏิบัติ<WBR>วัน<WBR>นี้<WBR>เรา<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>พูด<WBR>ถึง<WBR>การ<WBR>ขาด<WBR>แคลน<WBR>น้ำ โครง<WBR>การ<WBR>โดย<WBR>เฉพาะ<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>แล้ว โครง<WBR>การ<WBR>นั้น<WBR>ได้<WBR>ยืน<WBR>ยัน<WBR>มา<WBR>เมื่อ<WBR>เดือน<WBR>ที่<WBR>แล้ว ที่<WBR>ไป<WBR>เดือน<WBR>กว่า<WBR>ที่นราธิวาส ก็<WBR>ได้<WBR>วาง<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>และ<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>แม้<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ปัญหา<WBR>ปี<WBR>นี้<WBR>หรือ<WBR>ปี<WBR>หน้า <DD> <DD><DD>แต่<WBR>ถ้า<WBR>ทำ<WBR>อย่าง<WBR>ดี<WBR>ประมาณ ๕ หรือ ๖ ปี ปัญหา<WBR>น้ำ<WBR>ขาด<WBR>แคลน<WBR>ใน<WBR>กรุง<WBR>เทพฯ จะ<WBR>หมด<WBR>ไป<WBR>อย่าง<WBR>โดย<WBR>สิ้น<WBR>เชิง อาจ<WBR>จะ<WBR>นึก<WBR>ว่า ๕ - ๖ ปี ปัญหา<WBR>นี้<WBR>หมด<WBR>ไป ก็<WBR>คง<WBR>มี<WBR>กำลัง<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ฟัน<WBR>ฝ่า<WBR>ชีวิต<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ที่<WBR>ว่า ๕ - ๖ ปี<WBR>นี้ ความ<WBR>จริง<WBR>ได้<WBR>เริ่ม<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>คิด<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>บอก<WBR>ได้<WBR>ไม่<WBR>กล้า<WBR>พูด<WBR>มา<WBR>หลาย<WBR>ปี<WBR>แล้ว <DD> <DD><DD>เพราะ<WBR>ว่าเดี๋ยวนี้ <WBR>มี<WBR>การ<WBR>คัด<WBR>ค้าน<WBR>จาก<WBR>ทั้ง<WBR>ผู้<WBR>เชี่ยว<WBR>ชาญ <WBR>ทั้ง<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>ต่อ<WBR>ต้าน<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>โครง<WBR>การ แต่<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>ได้<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>วิสัย<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ได้<WBR>แม้<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>เสีย<WBR>ค่า<WBR>ใช้จ<WBR>่ายไม่<WBR>ใช่<WBR>น้อย แต่<WBR>ก็<WBR>ทำเดี๋ยวนี้<WBR>ดำ<WBR>เนิน<WBR>ไปเดี๋ยวนี้<WBR>อีก ๕ - ๖ ปี<WBR>ข้าง<WBR>หน้า<WBR>เรา<WBR>สบาย <DD> <DD><DD>และ<WBR>ถ้า<WBR>ไม่<WBR>ทำ<WBR>อีก ๕ - ๖ ปี<WBR>ข้าง<WBR>หน้า<WBR>ราคา<WBR>ค่า<WBR>ก่อ<WBR>สร้าง<WBR>ค่า<WBR>ดำ<WBR>เนิน<WBR>การ<WBR>ก็<WBR>ขึ้น<WBR>ไป<WBR>สอง<WBR>เท่า<WBR>สาม<WBR>เท่า ลง<WBR>ท้าย<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ประวิง<WBR>ต่อ<WBR>ไป และ<WBR>เมื่อ<WBR>ประวิง<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>ไม่<WBR>ได้ เรา<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>อด<WBR>น้ำ<WBR>แน่ จะ<WBR>กลาย<WBR>เป็น<WBR>ทะเล<WBR>ทราย แล้ว<WBR>เรา<WBR>จะ<WBR>อพยพ<WBR>ไป<WBR>ที่<WBR>ไหน<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>โครง<WBR>การ<WBR>นี้<WBR>คือ สร้าง<WBR>อ่าง<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>สอง<WBR>แห่ง แห่งหนึ่ง<WBR>คือ "ที่<WBR>แม่<WBR>น้ำ<WBR>ป่า<WBR>สัก<WBR><WBR>" อีก<WBR>แห่งหนึ่ง<WBR>ที่ "แม่<WBR>น้ำ<WBR>นคร<WBR>นายก<WBR><WBR>" สอง<WBR>แห่งรวม<WBR>กัน<WBR>จะ<WBR>เก็บกักน้ำ<WBR>เหมาะ<WBR>สม<WBR>พอ<WBR>เพียง<WBR>สำหรับ<WBR>การ<WBR>บริโภค การ<WBR>ใช้<WBR>ใน<WBR>เขต<WBR>กรุง<WBR>เทพ<WBR>มหา<WBR>นคร และ<WBR>เขต<WBR>ใกล้<WBR>เคียง<WBR><WBR>" <DD> <DD><DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    <DD>นี่<WBR>ถ้า<WBR>เป็น<WBR>เรา<WBR>เป็น<WBR>ท่าน คง<WBR>จะ<WBR>ถอน<WBR>หาย<WBR>ใจ<WBR>โล่ง<WBR>อก<WBR>ไป<WBR>ที<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ระบาย<WBR>ออก<WBR>มา แต่<WBR>สำหรับ<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ท่าน<WBR>ด้วย<WBR>ทศพิธ<WBR>ราช<WBR>ธรรม<WBR>ที่<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>เคร่งครัด<WBR>อย่าง<WBR>ยิ่ง<WBR>นั้น เรา<WBR>ท่าน<WBR>จึง<WBR>มิ<WBR>ได้<WBR>ล่วง<WBR>รู้<WBR>เลย<WBR>ว่า<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ท่าน<WBR>ทรง<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>อย่าง<WBR>ไร นั่น<WBR>เพราะ<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>อธิบาย<WBR>ถึง<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ปณิธาน<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>อย่าง<WBR>มั่น<WBR>คง<WBR>ว่า <DD> <DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER><DD><CENTER></CENTER>


    <DD>"เขื่อน<WBR>ป่า<WBR>สัก<WBR>ที่<WBR>ตอน<WBR>แรก<WBR>นึก<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ได้ ๑,๓๕๐ ล้าน<WBR>ลูกบาศก์<WBR>เมตร แต่<WBR>ว่า<WBR>แก้<WBR>ไป<WBR>แก้<WBR>มา<WBR>ก็<WBR>เหลือ ๗๕๐ ล้าน<WBR>กว่า ๆ แม้<WBR>เขื่อน<WBR>ป่า<WBR>สัก<WBR>เขื่อน<WBR>เดียว<WBR>อย่าง<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ตาม ตัว<WBR>เลข<WBR>ที่<WBR>ให้<WBR>ไว้<WBR>ตะ<WBR>กี้<WBR>ก็<WBR>พอ พอ<WBR>สำหรับ<WBR>การ<WBR>บริโภค <DD> <DD><DD>แน่<WBR>นอน<WBR>ไม่<WBR>แห้ง ถ้า<WBR>ไป<WBR>เติม<WBR>อีก<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>นคร<WBR>นายก<WBR>อีก ๒๔๐ ล้าน คือ นั่น<WBR>คน<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>เริ่ม<WBR>เอะอะ เวลา<WBR>ฟัง<WBR>ดู<WBR>ว่า<WBR>แม่<WBR>น้ำ<WBR>นคร<WBR>นายก<WBR>เพราะ<WBR>ว่า เอะอะเดี๋ยวจะ<WBR>ทำ<WBR>ที่<WBR>ต้อง<WBR>บุก<WBR>ป่า<WBR>ต้อง<WBR>บุก<WBR>อุทยาน<WBR>แห่งชาติ ไม่<WBR>ใช่<WBR>ตอน<WBR>นี้ ระยะ<WBR>นี้ จะ<WBR>ไม่<WBR>สร้าง<WBR>ใน<WBR>ป่า<WBR>สงวน ใน<WBR>ป่า<WBR>ของ<WBR>อุทยาน <DD> <DD><DD>หรือ<WBR>ถ้า<WBR>เข้า<WBR>ไป<WBR>หน่อย<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ต้น<WBR>ไม้ มี<WBR>แต่<WBR>กล้วย<WBR>ไม้ อัน<WBR>นี้<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>สร้าง<WBR>ที่<WBR>ใกล้<WBR>บ้าน<WBR>ท่า<WBR>ด่าน<WBR>ที่<WBR>บ้าน<WBR>ท่า<WBR>ด่าน<WBR>นี้ มี<WBR>คน<WBR>เค้า<WBR>มี<WBR>การ<WBR>คัด<WBR>ค้าน<WBR>บอก<WBR>ว่า มี<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำริ<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>นั่น มี<WBR>ฝาย<WBR>ท่า<WBR>ด่าน<WBR>ซึ่ง<WBR>สร้าง<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>เกิน ๑๐ ปี<WBR>แล้ว บริการ<WBR>เกษตร<WBR>กร<WBR>ใน<WBR>เขต<WBR>ของ<WBR>นคร<WBR>นายก <DD> <DD><DD>ทำ<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>น้ำ<WBR>สำหรับ<WBR>การ<WBR>เกษตร<WBR>กรรม<WBR>ประมาณ<WBR>หมื่น<WBR>กว่า<WBR>ไร่ ฝาย<WBR>อัน<WBR>นั้น<WBR>เป็น<WBR>ฝาย<WBR>ที่<WBR>ใหญ่ ฝาย<WBR>อัน<WBR>นั้น<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ถูก<WBR>กรอบ เพราะ<WBR>ว่า<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำริ<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>ราชา ถ้า<WBR>หาก<WBR>ความ<WBR>คิด<WBR>ของ<WBR>พระ<WBR>ราชา<WBR>นั้น<WBR>แตะ<WBR>ต้อง<WBR>ไม่<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>ก็<WBR>หมาย<WBR>ความ<WBR>ว่า เมือง<WBR>ไทย<WBR>นี้<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ก้าว<WBR>หน้า แต่<WBR>ว่า<WBR>ฝาย<WBR>อัน<WBR>นั้น<WBR>ตาม<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำริ<WBR>ได้<WBR>บริการ<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>นาน<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ผล<WBR>คุ้ม<WBR>ค่า<WBR>แล้ว ตอน<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>สร้าง<WBR>อะไร<WBR>ที่<WBR>มาก<WBR>ลบ<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำริ<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>อนุญาต<WBR><WBR>" <DD> <DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>แล้ว<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>ยัง<WBR>ทรง<WBR>อธิบาย<WBR>พระ<WBR>ราช<WBR>ปณิธาน<WBR>ที่<WBR>ล้ำ<WBR>ลึก<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ดัง<WBR>นี้ <DD> <DD>

    <DD>"อนุญาต<WBR>ให้<WBR>รื้อ<WBR>ฝาย<WBR>นั้น<WBR>ได้ และ<WBR>สร้าง<WBR>เขื่อน<WBR>อัน<WBR>ที่<WBR>ใหญ่<WBR>โต<WBR>สูง<WBR>และ<WBR>จุ<WBR>น้ำ<WBR>ถึง ๒๔๐ ล้าน<WBR>ลูกบาศก์<WBR>เมตร<WBR>จะ<WBR>ช่วย ถ้า<WBR>ใน<WBR>เวลา<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR>พอ<WBR>สม<WBR>ควร<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>ก็<WBR>สามารถ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>เพาะ<WBR>ปลูก<WBR>เป็น<WBR>จำนวน<WBR>แสน<WBR>ไร่<WBR>และ<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>สร้าง<WBR>ระบบ<WBR>เพราะ<WBR>ระบบ<WBR>มี<WBR>แล้ว <DD> <DD><DD>ฉะนั้น <WBR>การ<WBR>สร้าง<WBR>เขื่อน<WBR>เฉพาะ<WBR>ตัว<WBR>เขื่อน<WBR>และ<WBR>อาคาร<WBR>ประกอบ จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ปัญหา<WBR>ไป<WBR>ได้<WBR>เยอะ และ<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ท่วม<WBR>ที่<WBR>ของ<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>มาก<WBR>นัก มี<WBR>ที่<WBR>ที่<WBR>ตรง<WBR>นั้น<WBR>ประมาณ 500 ไร่ เป็น<WBR>ของ<WBR>กรม<WBR>ชลประทาน<WBR>อยู่<WBR>แล้ว ตรง<WBR>นั้น<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>เวน<WBR>คืน ไม่<WBR>ต้อง<WBR>รื้อ ไม่<WBR>ต้อง<WBR>เดือด<WBR>ร้อน<WBR>ก็<WBR>คง<WBR>เหลือ<WBR>ที่ <WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ที่<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>มา<WBR>หา<WBR>กิน<WBR>เล็ก<WBR>น้อย<WBR>ของ<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>ใน<WBR>หมู่<WBR>บ้าน<WBR><WBR>ท่า<WBR>ด่าน<WBR>นั้น <DD> <DD><DD>หมู่<WBR>บ้าน<WBR>เอง<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>ถูก<WBR>ต้อง ฉะนั้น<WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>ทำ<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>การ<WBR>ช่วย<WBR>ขจัด<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>ได้ สำหรับ<WBR>เฉพาะ<WBR>เขื่อน<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>ทำ<WBR>โดย<WBR>เร่ง<WBR>ด่วน<WBR>จริง ๆ เข้า<WBR>ใจ<WBR>ว่า ๔ ปี<WBR>ทำ<WBR>เสร็จ ไม่<WBR>ใช่ ๖ ปี แต่<WBR>ต้อง<WBR>เอา<WBR>จริง<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>ยอม <DD> <DD><DD>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>เขื่อน<WBR>นี้<WBR>สูง<WBR>ถึง ๗๐ เมตร ซึ่ง<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>น้อย<WBR>เพื่อ<WBR>ให้<WBR>จุ<WBR>น้ำ<WBR>ได้<WBR>เต็ม<WBR>ที่<WBR>ใน<WBR>ลุ่ม<WBR>น้ำ<WBR>นั้น มี<WBR>น้ำ<WBR>ลง<WBR>มา<WBR>เฉลี่ย ๒๕๐ ล้าน<WBR>ลูกบาศก์<WBR>เมตร ฉะนั้น<WBR>ก็<WBR>รู้<WBR>สึก<WBR>ว่า จะ<WBR>แน่<WBR>นอน<WBR>พอ<WBR>สม<WBR>ควร<WBR>ว่า<WBR>อ่าง<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ประสิทธิภาพ<WBR><WBR>" <DD>

    <DD>"ปัญหา<WBR>ว่า เดี๋ยวนี้<WBR>มี<WBR>ภัย<WBR>แล้ง หมาย<WBR>ความ<WBR>ว่า<WBR>ฝน<WBR>ไม่<WBR>ลง แต่<WBR>ว่า<WBR>ใน<WBR>ละแวก<WBR>นี้<WBR>มี<WBR>ฝน<WBR>ลง<WBR>จน<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม<WBR>มา<WBR>เนือง ๆ ไม่<WBR>เหมือน<WBR>ภาค<WBR>เหนือ แต่<WBR>ว่า<WBR>ที่<WBR>นี่<WBR>เชื่อ<WBR>ว่า<WBR>น้ำ<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ได้ และ<WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>ปี<WBR>ไหน<WBR>ฤดู<WBR>ฝน<WBR>ดื้อ ไม่<WBR>ลง ก็<WBR>สามารถ<WBR>ทำ<WBR>ฝน<WBR>เทียม<WBR>ลง<WBR>มา<WBR>ได้<WBR>สะดวก<WBR>ง่า<WBR>ยก<WBR>ว่า<WBR>ที่<WBR>ภาค<WBR>เหนือ <DD> <DD><DD>ก็<WBR>นับ<WBR>ว่า<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ว่า<WBR>เขื่อน<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>แม้<WBR>สภาพ<WBR>อากาศ<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>เปลี่ยน<WBR>แปลง<WBR>แปรปรวน<WBR>ไป<WBR>ได้ ก็<WBR>จะ<WBR>เชื่อ<WBR>ได้<WBR>ว่า<WBR>แถว<WBR>ตรง<WBR>นี้<WBR>น้ำ<WBR>คง<WBR>มี<WBR>จำนวน<WBR>นี้ มิ<WBR>หนำ<WBR>ซ้ำ<WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>เรา<WBR>ดู<WBR>ว่า<WBR>น้ำ<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ผิด<WBR>ปกติ ก็<WBR>อาจ<WBR>จะ<WBR>ผิด<WBR>ปกติ<WBR>มาก<WBR>กว่า<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR>ประจำ<WBR>ปี<WBR>ตาม<WBR>ปกติ บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>มาก<WBR>กว่า<DD> <DD><DD><WBR>อย่าง<WBR>เคย<WBR>มี<WBR>มาก<WBR>จน<WBR>กระทั่ง<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม เขื่อน<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>บรรเทา<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม อาจ<WBR>จะ<WBR>น้อย<WBR>กว่า<WBR>บ้าง แต่<WBR>ว่า<WBR>โดย<WBR>ที่<WBR>เรา<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>เอา<WBR>ไว้ ก็<WBR>สามารถ<WBR>บริการ<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>สม่ำเสมอ<WBR>ทุก<WBR>ปี<WBR><WBR>" <DD>


    <DD>และ<WBR>เพื่อ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>สร้าง<WBR>ความ<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ระหว่าง<WBR>ผู้<WBR>ฟัง พระ<WBR>องค์<WBR>จึง<WBR>ทรง<WBR>อรรถาธิบาย<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>อีก <DD> <DD>

    <DD>"เรื่อง<WBR>ของ<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม<WBR>นั้น ปี<WBR>นี้<WBR>ไม่<WBR>พูด แต่<WBR>ลง<WBR>ท้าย<WBR>เทวดา<WBR>ก็<WBR>เตือน<WBR>ว่า<WBR>ต้อง<WBR>พูด เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ภาค<WBR>ใต้<WBR>ก็<WBR>ท่วม<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>นี้ ธรรม<WBR>ชาติ<WBR>เป็น<WBR>อย่าง<WBR>นี้ บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>มาก<WBR>บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>น้อย แต่<WBR>ถ้า<WBR>สร้าง<WBR>เขื่อน<WBR>บ้าง ไอ้<WBR>บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>มาก<WBR>บาง<WBR>ที<WBR>น้อย<WBR>นั้น เขื่อน<WBR>นั้น<WBR>จะ<WBR>เป็นเครื่องมือ<WBR>สำหรับ<WBR>เฉลี่ย <DD> <DD><DD>ปี<WBR>ไหน<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR>มาก<WBR>ก็<WBR>เก็บ<WBR>เอา<WBR>ไว้<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>น้ำ<WBR>ที่<WBR>ลง<WBR>มา<WBR>พอ<WBR>ใช้<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>เก็บ<WBR>เอา<WBR>ไว้ ปี<WBR>ไหน<WBR>ที่<WBR>น้ำ<WBR>น้อย<WBR>ก็<WBR>เอา<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ใช้ ทำ<WBR>ให้<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>บรรเทา<WBR>ลง ภัย<WBR>อุทก<WBR>ภัย<WBR>ก็<WBR>บรรเทา<WBR>ลง<WBR>ด้วย ข้อ<WBR>นี้<WBR>ได้<WBR>พูด<WBR>มา<WBR>หลาย<WBR>ปี<WBR>แล้ว แล้ว<WBR>ก็<WBR>ใน<WBR>ที่<WBR>ประชุม<WBR>เช่น<WBR>นี้<WBR>เหมือน<WBR>กัน<WBR><WBR>" <DD> <DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>"ฉะนั้น การ<WBR>ที่<WBR>มา<WBR>เล่า<WBR>ให้<WBR>ฟัง<WBR>ว่า คิด<WBR>จะ<WBR>สร้าง<WBR>เขื่อน<WBR>นคร<WBR>นายก<WBR>ก็<WBR>เพื่อ<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ต้อง<WBR>เสีย<WBR>ใจ<WBR>ว่า ทำไม<WBR>เมื่อ ๖ ปี<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ทำ ความ<WBR>จริง<WBR>เรื่อง<WBR>ของ<WBR>แม่<WBR>น้ำ<WBR>นคร<WBR>นายก<WBR>ก็<WBR>ตาม ได้<WBR>ศึกษา<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>แรม<WBR>ปี แต่<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ปฏิบัติ เพราะ<WBR>ว่า<WBR>กลัว<WBR>ว่า<WBR>คน<WBR>จะ<WBR>โจม<WBR>ตี <DD> <DD><DD>ฉะนั้น เดี๋ยวนี้<WBR>เรา<WBR>เสีย<WBR>ใจ<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>มา<WBR>ต้อง<WBR>มา<WBR>เผชิญกับภัย<WBR>แล้ง<WBR>นี้ ถ้า<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>กลัว<WBR>กล้า<WBR>ทำ<WBR>เมื่อ<WBR>แม้<WBR>จะ ๖ ปี ที่<WBR>จริง<WBR>ทำ<WBR>วาง<WBR>โครง<WBR>สร้าง<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>นี้<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>กว่า ๑๐ ปี ….. "<DD> <DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    <DD>" ด้วย<WBR>เหตุ<WBR>ต่าง ๆ นานา ซึ่ง<WBR>นัก<WBR>วิชา<WBR>การ<WBR>เอง<WBR>บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>นึก<WBR>ถึง<WBR>ว่า<WBR>ทำไม ก็<WBR>พูด<WBR>ถึง<WBR>ว่า เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ไป<WBR>ตัด<WBR>ต้น<WBR>ไม้ ไป<WBR>ตัด<WBR>ต้น<WBR>ไม้<WBR>นั้น<WBR>มัน<WBR>เป็น<WBR>ปัจจัย<WBR>หนึ่ง<WBR>เป็น<WBR>ปัจจัย<WBR>เดียว แต่<WBR>ว่า<WBR>อื่น ๆ ก็<WBR>มี<WBR>เหมือน<WBR>กัน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>น้ำ<WBR>น้อย<WBR>ลง แต่<WBR>วิธี<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>อย่าง<WBR>ทำ<WBR>ฝน<WBR>เทียม<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>หมาย<WBR>ความ<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ที่<WBR>ผ่าน<WBR>เหนือ<WBR>เขต<WBR>เรา<WBR>ดัก<WBR>ไว้<WBR>ให้<WBR>ลง ปี<WBR>นี้<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>มาก<WBR>พอ<WBR>ใช้ ทำ<WBR>เป็น<WBR>เวลา<WBR>ต่อ<WBR>เนื่อง<WBR>กัน<WBR>ไป<WBR>ประมาณ<WBR>เกือบ ๓ เดือน ซึ่ง<WBR>เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>นั้น<WBR>เขา<WBR>เหน็ด<WBR>เหนื่อย<WBR>มาก เพราะ<WBR>ว่าเครื่องบิน<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>น้อย อุปกรณ์<WBR>มี<WBR>น้อย <DD> <DD><DD>เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>ฝน<WBR>เทียม<WBR>นั้นน่ะเขา<WBR>ต้อง<WBR>เสี่ยง<WBR>อันตราย<WBR>มาก เพราะเครื่องบิน<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>ก็<WBR>เก่า<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ชำรุด ทา<WBR>งกองทัพ<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>เอื้อ<WBR>เฟื้อเครื่องบิน แต่เครื่องบิน<WBR>เหล่า<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>เก่า อย่าง<WBR>เช่นเครื่องบิน ซี ๑๒๓ ซึ่ง<WBR>เหมาะ<WBR>สมกับการ<WBR>ทำ<WBR>ฝน<WBR>เทียม เพราะ<WBR>ว่า<WBR>วาง<WBR>บรรทุก<WBR>มาก<WBR>พอ<WBR>ใช้<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>บิน<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ประสิทธิภาพ สมรรถนะ<WBR>ดี <DD> <DD><DD>แต่<WBR>ก็<WBR>มี ๒ ลำ<WBR>นั้น<WBR>นะ<WBR>เขา<WBR>ต้อง<WBR>ผลัด<WBR>กัน วัน<WBR>หนึ่ง<WBR>ก็<WBR>อาจ<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ลำ<WBR>หนึ่ง บาง<WBR>วัน<WBR>ก็<WBR>ศูนย์<WBR>ลำ เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ต้อง<WBR>แก้เครื่องยนต์ เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>เสี่ยง<WBR>อันตราย เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ถ้า<WBR>ขึ้น<WBR>ไป<WBR>แล้ว<WBR>ก็เครื่องยนต์<WBR>เสีย<WBR>จะ<WBR>มา<WBR>ลง<WBR>ที่<WBR>ไหน<WBR>มัน<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>ที่<WBR>ลง<WBR>ลำบาก<WBR>ก็<WBR>เลย<WBR>ทำ<WBR>ให้เ<WBR>ป็นอันตราย<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>ฉะนั้น <WBR>เขา<WBR>ได้<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ด้วย<WBR>ความ<WBR>เสีย<WBR>สละ<WBR>ใช้<WBR>คำ<WBR>ว่า<WBR>เสีย<WBR>สละ<WBR>ได้ เพราะ<WBR>ว่า<WBR>อันตราย<WBR>ฝ่า<WBR>อันตราย ส่วน<WBR>ของ<WBR>เกษตร<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>มีเครื่องบิน ๒ ลำ ซึ่ง<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ผลัด<WBR>กัน<WBR>ซ่อม ฉะนั้น<WBR>จำนวนเครื่องบิน<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ใช้<WBR>อาจ<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>พอ ถ้า<WBR>ไม่<WBR>พอ<WBR>ผล<WBR>มัน<WBR>ไม่<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ฝน<WBR>เทียม<WBR>นี้<WBR>ได้<WBR>ประ<WBR>โยชน์ จะ<WBR>ต้อง<WBR>มีเครื่องมือ<WBR>อุปกรณ์<WBR>ให้<WBR>พอ<WBR>สม<WBR>ควร ก็<WBR>ยาก<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>หา<WBR>มา<WBR>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ราคา<WBR>ก็<WBR>แพง เครื่องบิน<WBR>ลำ<WBR>หนึ่ง<WBR>ราคา<WBR>เป็น<WBR>ร้อย<WBR>ล้าน สอง<WBR>ร้อย<WBR>ล้าน แล้ว<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>ด้วย เจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>ฝึก<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>ฝน<WBR>เทียม<WBR>นี้ <DD> <DD><DD>บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>น่า<WBR>ท้อ<WBR>ใจ<WBR>เพราะ<WBR>ว่า อย่าง<WBR>เช่น<WBR>ตอน<WBR>หลัง ๆ นี้ ความ<WBR>ชื้น<WBR>ใน<WBR>อากาศ<WBR>น้อย ความ<WBR>จริง<WBR>ก็<WBR>พอ<WBR>ทำ<WBR>ได้ แต่<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ลำ<WBR>เป็น<WBR>สัน บาง<WBR>ที<WBR>ทำ<WBR>แล้ว<WBR>แทน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ลง<WBR>ใน<WBR>ลุ่ม<WBR>น้ำปิง คือ<WBR>เชียง<WBR>ใหม่ ลำ<WBR>พูน<WBR>แถว<WBR>นี้ กลับ<WBR>ไป<WBR>ลง<WBR>เชียง<WBR>ราย เชียง<WBR>ราย<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>อู่<WBR>น้ำ<WBR>อู่<WBR>ข้าว<WBR>มี<WBR>ผล<WBR>ดี<WBR>จะ<WBR>ประมาณ ๙๐ เปอร์เซ็นต์ <DD> <DD><DD>ก็<WBR>หมาย<WBR>ความ<WBR>ว่า <WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>ว่า<WBR>ประเทศ<WBR>ไทย<WBR>แห้ง<WBR>แล้ง<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ผลิต<WBR>ผล อย่าง<WBR>จังหวัด<WBR>เชียง<WBR>ราย<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>จังหวัด<WBR>ที่<WBR>ผลิต<WBR>ข้าว<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>แห่งหนึ่ง<WBR>ใน<WBR>ประเทศ<WBR>ไทย<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ประ<WBR>โยชน์ ได้<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>น้ำ ข้าว อย่าง<WBR>มาก<WBR>พอ<WBR>ใจ<WBR>ที่<WBR>เดียว <DD> <DD><DD>แล้ว<WBR>ก็<WBR>การ<WBR>ทำ<WBR>ฝน<WBR>เทียม<WBR>ก็<WBR>ได้<WBR>ผล<WBR>เพราะ<WBR>ว่า น้ำ<WBR>ก็<WBR>ไป<WBR>ลง<WBR>ที่<WBR>เชียง<WBR>ราย แล้ว<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>ผล<WBR>ผลิต<WBR>ของ<WBR>ประเทศ<WBR>ชาติ ทำ<WBR>ให้<WBR>เมือง<WBR>ไทย<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>ราย<WBR>ได้<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>อด<WBR>ข้าว <DD> <DD><DD>ฉะนั้น <WBR>การ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ให้<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ปัญหา<WBR>เรื่อง<WBR>น้ำ<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>มี<WBR>กิจ<WBR>กรรม<WBR>หลาย<WBR>ด้าน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ทำ<WBR>ระยะใกล<WBR><WBR>้และ<WBR>ระยะ<WBR>ไกล<WBR>อย่าง<WBR>เช่น ฝน<WBR>เทียม<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>ระยะ<WBR>ใกล้ ซึ่ง<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>น้ำ<WBR>ใน<WBR>เขื่อน<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>แห้ง<WBR>ที<WBR>เดียว ก็<WBR>ยัง<WBR>พอ<WBR>มีใช้<WBR>ถ้าระมัดระวัง" <DD> <DD><DD>


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>อธิบาย<WBR>ไว้<WBR>อย่าง<WBR>ละเอียด<WBR>ละ<WBR>ออ ทั้ง<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>เพื่อ<WBR>สร้าง<WBR>ความ<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ให้<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR>ได้<WBR>รู้<WBR>โดย<WBR>ถูก<WBR>ต้อง เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>สามารถ<WBR>เห็น<WBR>จริง<WBR>โดย<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>พิสูจน์<WBR>อีก แล้ว<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>มี<WBR>พระ<WBR>กระแส<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ว่า <DD> <DD><DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>"อย่าง<WBR>ภาค<WBR>ใต้<WBR>ที่<WBR>ปัจจุบัน<WBR>นี้ พูด<WBR>ถึง<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>ไม่<WBR>มี มี<WBR>แต่<WBR>อุทก<WBR>ภัย อุทก<WBR>ภัย<WBR>นั้น<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>เดือด<WBR>ร้อน<WBR>มาก<WBR>พอ<WBR>สม<WBR>ควร แต่<WBR>ก็<WBR>นับ<WBR>ดู<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>รุน<WBR>แรง<WBR>เท่า<WBR>คราว<WBR>ก่อน ๆ ปัญหา<WBR>อยู่<WBR>ที่<WBR>ว่า เวลา<WBR>ฝน<WBR>ลง<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ท่วม แล้ว<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>รีบ<WBR>ให้<WBR>น้ำ<WBR>นั้น<WBR>ออก<WBR>ไป <DD> <DD><DD>ถ้า<WBR>ให้<WBR>น้ำ<WBR>ออก<WBR>ไป<WBR>แล้ว<WBR>ตอน<WBR>ที่<WBR>น้ำ<WBR>น้อย คือ<WBR>อีก<WBR>หน่อย<WBR>ใน<WBR>ปี<WBR>หน้า<WBR>น้ำ<WBR>จะ<WBR>น้อย<WBR>เกิน<WBR>ไป แม้<WBR>แต่<WBR>ภาค<WBR>ใต้<WBR>ก็<WBR>น้อย<WBR>เกิน<WBR>ไป ฉะนั้น<WBR>การ<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>ก็<WBR>สำคัญ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>เก็บ อัน<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ให้<WBR>ไป<WBR>คิด<WBR>ว่า<WBR>เก็บ<WBR>ที่<WBR>ไหน ให้<WBR>ท่าน<WBR>ทั้ง<WBR>หลาย<WBR>คิด<WBR>เอา<WBR>เอง<WBR>ว่า<WBR>เก็บ<WBR>ที่<WBR>ไหน เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ถ้า<WBR>เรา<WBR>ทำ<WBR>ที่<WBR>ไหน<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>การ<WBR>คัด<WBR>ค้าน เรา<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>อยาก<WBR>เผชิญ<WBR>การ<WBR>คัด<WBR>ค้าน มัน<WBR>เหนื่อย<WBR>เปล่า ๆ <DD> <DD><DD>แต่<WBR>ว่า<WBR>ความ<WBR>จริง <WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>เอา<WBR>ไว้<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม<WBR>อย่าง<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น<WBR>ก็<WBR>น้อย<WBR>ลง และ<WBR>หน้า<WBR>แล้ง<WBR>ก็<WBR>หมาย<WBR>ความ<WBR>ว่า<WBR>อีก ๒ - ๓ เดือน<WBR>ข้าง<WBR>หน้า<WBR>นี้ ซึ่ง<WBR>ฝน<WBR>ใน<WBR>จะ<WBR>ลง<WBR>น้อย ก็<WBR>เปิด<WBR>น้ำ<WBR>ที่กักเอา<WBR>ไว้<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>เพาะ<WBR>ปลูก แม้<WBR>ข้าว<WBR>ก็<WBR>ได้<DD> <DD><DD><WBR>ฉะนั้น <WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า คิด<WBR>ถึง<WBR>ว่า การ<WBR>บริหาร<WBR>ทรัพยากร<WBR>น้ำ<WBR>ใน<WBR>ระยะ<WBR>ไกล<WBR>นี้ มัน<WBR>ต้อง<WBR>คิด<WBR>ให้<WBR>ดี ๆ แล้ว<WBR>ก็<WBR>ถ้า<WBR>ไม่<WBR>คิด<WBR>แต่<WBR>ใกล้ ๆ เรา<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>เผชิญ<WBR>ภัย ทั้ง<WBR>อุทก<WBR>ภัย<WBR>ทั้ง<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>อย่าง<WBR>ซึ่ง<WBR>เรา<WBR>กำลัง<WBR>เผชิญ<WBR>อยู่เดี๋ยวนี้ ฉะนั้น<WBR>ก็<WBR>ต้อง<WBR>ช่วย<WBR>กัน<WBR>คิด<WBR>ดี ๆ<WBR>" <DD>

    <DD>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>ยก<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ที่ โครง<WBR>การ<WBR>ปาก<WBR>พนัง<WBR>ว่า ... <DD> <DD>

    <DD>"ส่วน<WBR>หนึ่ง<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>แจ้ง<WBR>ให้<WBR>ได้<WBR>ว่า<WBR>กำลัง<WBR>ทำ<WBR>อยู่ คือ<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>ปาก<WBR>พนัง ปาก<WBR>พนัง<WBR>เมื่อ<WBR>สอง<WBR>สาม<WBR>ปี<WBR>นี้<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>ช่วย<WBR>แล้ว ก็<WBR>มี<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ของ<WBR>ทางราช<WBR>การ<WBR>ทั้ง<WBR>ทางทหาร<WBR>พล<WBR>เรือน<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>ช่วย แม้<WBR>น้ำ<WBR>บริโภค<WBR>ของ<WBR>อำเภอ<WBR>ปาก<WBR>พนัง<WBR>นั้น ต้อง<WBR>บรรทุก<WBR>รถ<WBR>ไป<WBR>ให้ <DD> <DD><DD>การ<WBR>บรรทุก<WBR>รถ<WBR>ไป<WBR>ให้<WBR>นี่<WBR>ท่าน<WBR>นัก<WBR>เศรษฐกิจ<WBR>ต่าง ๆ ก็<WBR>ย่อม<WBR>ทราบ<WBR>ดี<WBR>ว่า มัน<WBR>ขาด<WBR>ทุน<WBR>แค่<WBR>ไหน ถ้า<WBR>หาก<WBR>สร้าง<WBR>เขื่อน<WBR>หรือ<WBR>อ่าง<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ สิ้น<WBR>เงิน<WBR>เป็น<WBR>สิบ ๆ ล้าน<WBR>หรือ<WBR>ร้อย<WBR>ล้าน ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>สร้าง<WBR>แล้ว<WBR>จะ<WBR>สามารถ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>บริการ<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>ได้ โดย<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>บรรทุก<WBR>ด้วย<WBR>รถ การ<WBR>บรรทุก<WBR>ด้วย<WBR>รถ<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>เงิน<WBR>งบ<WBR>ประมาณ<WBR>เป็น<WBR>ร้อย ๆ ล้าน <DD> <DD><DD>อย่าง<WBR>คน<WBR>ที่<WBR>ไม่<WBR>ได้<WBR>คิด<WBR>เมื่อ<WBR>ครั้ง<WBR>มี<WBR>ผู้<WBR>อพยพ<WBR>เขมร<WBR>ที่<WBR>เขา<WBR>อี<WBR>ด่าง อัน<WBR>นั้น<WBR>ต้อง<WBR>บรรทุก<WBR>น้ำ<WBR>มา<WBR>จาก<WBR>ห้วย<WBR>ชัน ใช้<WBR>รถ<WBR>บรรทุก<WBR>มา<WBR>ทุก<WBR>วัน หลาย ๆ คัน<WBR>รถ ซึ่ง<WBR>คำนวณ<WBR>ดู<WBR>แล้ว ค่า<WBR>น้ำ<WBR>มัน ค่า<WBR>บริการ ค่า<WBR>สึก<WBR>หรอ<WBR>นั้น<WBR>เป็น<WBR>ล้าน ๆ บาท จึง<WBR>ได้<WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>สร้าง<WBR>อ่าง<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>ใกล้กับเขา<WBR>อี<WBR>ด่าง <DD> <DD><DD>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ให้<WBR>ขอ<WBR>ทางสหประชาชาติ<WBR>ให้<WBR>ช่วย ลง<WBR>ท้าย<WBR>สร้าง<WBR>เท่ากับได้<WBR>น้ำ<WBR>ฟรี<WBR>เลย<WBR>ไม่<WBR>ต้อง<WBR>บรรทุก ต่อ<WBR>ท่อ<WBR>มา<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>อยู่<WBR>สบาย ประ<WBR>หยัด<WBR>ค่า<WBR>ใช้<WBR>จ่าย<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ขน<WBR>ส่ง<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>มาก<WBR>มาย เป็น<WBR>ล้าน ๆ บาท ก็<WBR>เช่น<WBR>เดียว<WBR>กัน<WBR>ที่<WBR>ภาค<WBR>ใต้<WBR>ที่<WBR>ปาก<WBR>พนัง<WBR>ทำ<WBR>โครง<WBR>การ เดี๋ยวนี้<WBR>กำลัง<WBR>ดำ<WBR>เนิน<WBR>อยู่<DD> <DD><DD><WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>หวัง<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>เสร็จ<WBR>ภาย<WBR>ใน ๓ ปี ภาย<WBR>ใน ๓ ปี<WBR>นี้ <WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>ระยะ<WBR>เทศกาล<WBR>ฉลอง<WBR>ปี<WBR>ที่ ๕๐ ใน<WBR>รัช<WBR>กาล<WBR>ปัจจุบัน<WBR>ซึ่ง<WBR>ก็<WBR>ใคร<WBR>ต่อ<WBR>ใคร<WBR>ก็<WBR>เริ่ม<WBR>คิด<WBR>ว่า อยาก<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>กัน<WBR>ฉลอง<WBR>ปี<WBR>ที่ ๕๐ ใน<WBR>รัช<WBR>กาล<WBR>ปัจจุบัน<WBR>ซึ่ง<WBR>จะ<WBR>เริ่ม<WBR>ใน<WBR>ปี ๓๘ คือ<WBR>ปี ๓๘ มัน<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>หมาย<WBR>ดี<WBR>และ<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ครึกครื้น<WBR>ดี<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ผู้<WBR>อื่น<WBR>ปลื้ม<WBR>ใจ<WBR>ดี<WBR>ทั่ว<WBR>ทั้ง<WBR>ประเทศ <DD> <DD><DD>โครง<WBR>การ<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>คือ <WBR>ควบ<WBR>คุม<WBR>ไม่<WBR>ให้<WBR>น้ำ<WBR>เค็ม<WBR>เข้า<WBR>มา<WBR>ใน<WBR>คลอง<WBR>ชะ<WBR>อวด แล้ว<WBR>สามารถ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>นา<WBR>ใน<WBR>อำเภอเชียรใหญ่<WBR>อย่าง<WBR>ดี แม้<WBR>จะ<WBR>ถูก<WBR>น้ำ<WBR>ท่วม<WBR>ก็<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>ไว้<WBR>ได้ เพื่อ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>นา<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ชด<WBR>เชย<WBR>หรือ<WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>ว่า<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ดี ๆ แม้<WBR>จะ<WBR>ฝน<WBR>ลง<WBR>มา<WBR>มาก น้ำ<WBR>จะ<WBR>ท่วม<WBR>เล็ก<WBR>น้อย <DD> <DD><DD>แต่<WBR>ก็<WBR>ข้าว<WBR>ใน<WBR>อำเภอเชียรใหญ่<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>อำเภอ<WBR>ใหญ่ เชียรใหญ่ หัว<WBR>ไทร ปาก<WBR>พนัง<WBR>มี<WBR>พื้น<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>นา<WBR>เป็น<WBR>แสน<WBR>ไร่ เดี๋ยวนี้ เวลา<WBR>นี้<WBR>ทำ<WBR>ข้าว<WBR>ไม่<WBR>ค่อย<WBR>มาก<WBR>ก็<WBR>เสีย<WBR>ด้วย<WBR>น้ำ<WBR>มาก<WBR>เกิน<WBR>ไป<WBR>หรือ<WBR>น้ำ<WBR>น้อย<WBR>เกิน<WBR>ไป<WBR>ทั้ง<WBR>สอง<WBR>อย่าง ถ้า<WBR>เรา<WBR>ลง<WBR>ทุน<WBR>เป็น<WBR>พัน<WBR>ล้าน แล้ว<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ควบ<WBR>คุม<WBR>น้ำ<WBR>นั้น<WBR>ได้<WBR>ให้<WBR>เป็น<WBR>น้ำ<WBR>จืด<WBR>น้ำ<WBR>ใช้<WBR>ได้ บาง<WBR>คน<WBR>อาจ<WBR>จะ<WBR>เอะอะ<WBR>ว่า นา<WBR>กุ้ง<WBR>ล่ะ นา<WBR>กุ้ง<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ทางอำเภอ<WBR>หัว<WBR>ไทร<WBR>อยู่<WBR>ใกล้<WBR>ทะเล และ<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>คลอง<WBR>ที่<WBR>เรียก<WBR>ว่า คลอง<WBR>ปาก<WBR>พนัง<WBR>ขนานกับฝั่ง<WBR>ทะเล<WBR>คลอง<WBR>นั้น<WBR>ยอม<WBR>ให้<WBR>เป็น<WBR>น้ำ<WBR>กร่อย<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>นา<WBR>กุ้ง<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>เป็น<WBR>ล่ำเป<WBR>็นสัน<WBR>ซึ่ง<WBR>ประเทศ<WBR>ไทย<WBR>สามารถ<WBR>จะ<WBR>ส่ง<WBR>นอก เมื่อ<WBR>เนื้อ<WBR>กุ้ง<WBR>ส่ง<WBR>นอก<WBR>ไป<WBR>จำนวน<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ใน<WBR>โลก ขาย<WBR>ไป<WBR>ประเทศ<WBR>ญี่ปุ่น<WBR>ถึง<WBR>อเมริกา <DD> <DD><DD>และ<WBR>นอก<WBR>จาก<WBR>กุ้ง <WBR>ก็<WBR>ปลา<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>ใน<WBR>นา<WBR>กุ้ง<WBR>นั้น <WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>สามารถ<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ราย<WBR>ได้<WBR>เข้า<WBR>ประเทศ<WBR>อย่าง<WBR>มาก<WBR>มา<WBR><WBR>ย ประชา<WBR>ชน<WBR>ที่<WBR>ทำ<WBR>กิจ<WBR>การ<WBR>เหล่า<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ร่ำ<WBR>รวย<WBR>ไม่<WBR>เสีย<WBR>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>แยก<WBR>น้ำ<WBR>กร่อยกับน้ำ<WBR>จืด<WBR>ใช้<WBR>ใน<WBR>โค<WBR>รง<WBR>การ<WBR>ที่<WBR>เล็ง<WBR>เอา<WBR>ไว้<WBR>ให้<WBR>สร้าง<WBR>ได้<WBR>ผล<WBR>ภาย<WBR>ใน ๓ ปี <DD> <DD><DD>ซึ่ง<WBR>ทา<WBR>งก<WBR>รม<WBR>ชลประทาน<WBR>และ<WBR>ทางเจ้า<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>ทหาร<WBR>และ<WBR>พล<WBR>เรือน<WBR>อื่น ๆ ก็<WBR>ได้<WBR>ร่วม<WBR>มือ กำลัง<WBR>ทำ<WBR>อยู่เดี๋ยวนี้ ซึ่ง<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ผล<WBR>และ<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>เกี่ยว<WBR>ข้องกับน้ำ<WBR>เหมือน<WBR>กัน<WBR><WBR>"<DD> <DD><DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>"ฉะนั้น ภัย<WBR>แล้ง<WBR>นี้<WBR>เรา<WBR>ดำ<WBR>เนิน<WBR>ไป<WBR>เรื่อย ต่อ<WBR>สู้<WBR>ไป<WBR>เรื่อย แล้ว<WBR>ก็<WBR>ที่<WBR>พูด<WBR>วัน<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>เป็น<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>อย่าง<WBR>สั้น ๓ ปี ๔ ปี ๕ ปี ๖ ปี และ<WBR>ถ้า<WBR>ไม่<WBR>ทำเดี๋ยวนี้ ก็<WBR>เป็น ๑๐ ปี ถ้า<WBR>ไม่<WBR>ทำ<WBR>ไป<WBR>ปี<WBR>เพิ่ม<WBR>อีก<WBR>ปี ฉะนั้น<WBR>ต้อง<WBR>ทำ<WBR>เรา<WBR>ต้อง<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ว่า <DD> <DD><DD>เงิน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>มา<WBR>ลง<WBR>ทุน<WBR>ใน<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>เหล่า<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ควร<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>พอ เพราะ<WBR>เหตุ<WBR>ว่า<WBR>เงิน<WBR>เหล่า<WBR>นี้<WBR>ผู้<WBR>เชี่ยว<WBR>ชาญ<WBR>ทางเศรษฐกิจ<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ทราบ<WBR>ดี<WBR>ว่า จะ<WBR>ได้<WBR>กำไร<WBR>เท่า<WBR>นั้น เท่า<WBR>นั้น<WBR>กลับ<WBR>คืน<WBR>มา ก็<WBR>สามารถ<WBR>จะ<WBR>ใช้<WBR>หนี้<WBR>เท่า<WBR>นั้น คือ บาง<WBR>ที<WBR>ก็<WBR>ใช้<WBR>หนี้<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>แต่<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>หลัก<WBR>กิจ<WBR>การ<WBR>ทางเศรษฐกิจ ถ้า<WBR>กฎ<WBR>บริษัท<WBR>ไหน หรือ<WBR>กิจ<WBR>การ<WBR>ไหน<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>หนี้ บริษัท<WBR>นั้น<WBR>ไม่<WBR>ดี เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ต้อง<WBR>เป็น<WBR>หนี้ ถ้า<WBR>ให้<WBR>บริษัท<WBR>นั้น<WBR>ก้าว<WBR>หน้า<WBR>ไอ้<WBR>นี่<WBR>ตาม<WBR>ทฤษฎี<WBR>ของ<WBR>เศรษฐกิจ <DD> <DD>

    <DD>แต่<WBR>สำหรับ<WBR>โครง<WBR>การ เช่น โครง<WBR>การ<WBR>ปาก<WBR>พนัง หรือ<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>นคร<WBR>นายก โครง<WBR>การ<WBR>ป่า<WBR>สัก โครง<WBR>การ<WBR>เหล่า<WBR>นี้ กำไร<WBR>นั้น<WBR>มา<WBR>ที่<WBR>ประชา<WBR>ชน ประชา<WBR>ชน<WBR>จะ<WBR>อยู่<WBR>ดี<WBR>กิน<WBR>ดี เมื่อ<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>อยู่<WBR>ดี<WBR>กิน<WBR>ดี ก็<WBR>สามารถ<WBR>จะ<WBR>เสีย<WBR>ภาษี<WBR>ให้<WBR>รัฐบาล รัฐบาล<WBR>ก็<WBR>เก็บ<WBR>เงิน<WBR>ภาษี<WBR>อากร<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>ดี <DD> <DD><DD>ประชา<WBR>ชน<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สุข<WBR>ความ<WBR>สบาย<WBR>ต้อง<WBR>ไป<WBR>เสีย<WBR>ภาษี ทั้ง<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ราย<WBR>ได้<WBR>ดี<WBR>ส่วน<WBR>มาก<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>เล่น<WBR>ขโมย<WBR>ไอ้<WBR>โน่น<WBR>ไอ้<WBR>นี่<WBR>คือ<WBR>ว่า พวก<WBR>ที่<WBR>ขโมย<WBR>ส่วน<WBR>มาก<WBR>พวก<WBR>แร้นแค้น ใคร<WBR>ไม่<WBR>แร้นแค้น ไม่<WBR>เล่น<WBR>การ<WBR>ปล้น<WBR>การ<WBR>ขโมย<WBR>เพราะ<WBR>มัน<WBR>ไม่<WBR>สนุก<WBR>และ<WBR>มัน<WBR>เสี่ยง<WBR>อันตราย และ<WBR>ถูก<WBR>จับ <DD> <DD><DD>อาจ<WBR>ถูก<WBR>ใส่<WBR>คุก<WBR>ลง<WBR>ไป<WBR>เป็น<WBR>แรม<WBR>ปี มัน<WBR>ไม่<WBR>สนุก ถ้า<WBR>เขา<WBR>ทำ<WBR>กิน<WBR>ได้<WBR>เขา<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>กิน แล้ว<WBR>ก็<WBR>เมื่อ<WBR>ทำ<WBR>กิน<WBR>ได้<WBR>แล้ว มี<WBR>ความ<WBR>สุข<WBR>เขา<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>ขโมย เขา<WBR>ก็<WBR>ไม่<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ร้าย เขา<WBR>ก็<WBR>ช่วย<WBR>กัน<WBR>สร้าง<WBR>ยิ่ง<WBR>เจริญ<WBR>ใหญ่ แล้ว<WBR>ที่<WBR>เล่า<WBR>เรื่อง<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>เหล่า<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>เพราะ<WBR>ว่า<WBR>มัน<WBR>เป็น<WBR>สิ่ง<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ใน<WBR>อนาคต<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>สุข<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>เจริญ<WBR>ได้<WBR><WBR>" <DD>


    <DD>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>ประสาท<WBR>ทั้ง<WBR>ความ<WBR>คิด วิชา<WBR>การ และ<WBR>แนว<WBR>ทางใน<WBR>ด้าน<WBR>ต่าง ๆ กัน<WBR>ไป<WBR>ทั้ง<WBR>ทางด้าน<WBR>เศรษฐกิจ สังคม การ<WBR>เมือง และ<WBR>จิตวิทยา ที่<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR>เข้า<WBR>ใจ<WBR>ได้<WBR>อย่าง<WBR>ง่าย ๆ แล้ว<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ก็<WBR>ทรง<WBR>สอน<WBR>ต่อ<WBR>ไป<WBR>ว่า<DD> <DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <DD> <DD>"เรื่อง<WBR>ปัจจุบัน โครง<WBR>การ<WBR>เหล่า<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>ช่วย<WBR>เหลือ<WBR>กัน แม้<WBR>จะ<WBR>ทุก<WBR>วัน<WBR>นี้<WBR>ถ้า<WBR>หาก<WBR>เรา<WBR>ลง<WBR>มือ<WBR>ทำ<WBR>เกิด<WBR>มี<WBR>งาน<WBR>ทำ<WBR>อย่าง<WBR>โครง<WBR>การ สมมุติ<WBR>ว่า<WBR>ที่<WBR>ที่<WBR>นคร<WBR>นายก ถ้า<WBR>เริ่ม<WBR>ทำ คือ ลง<WBR>มือ<WBR>ทำ<WBR>จริง ๆ คน<WBR>ที่<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>ขุด<WBR>ดิน<WBR>มา<WBR>เป็น<WBR>ช่วง มา<WBR>เป็น<WBR>ผู้<WBR>ที่<WBR>ปฏิบัติ<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>งาน<WBR>ทำ <DD> <DD><DD>ก็เดี๋ยวนี้<WBR>งาน<WBR>ทำ<WBR>ชัก<WBR>จะ<WBR>ยาก <WBR>เข้า<WBR>ทุก<WBR>ที มี<WBR>คน<WBR>ว่าง<WBR>งาน<WBR>มาก<WBR>ขึ้น เพราะ<WBR>ว่า<WBR>เศรษฐกิจ<WBR>ดี โรง<WBR>งาน<WBR>เขา<WBR>ก็<WBR>ใช้เครื่องจักร<WBR>อัตโนมัติ ก็<WBR>ต้อง<WBR>ปล่อย<WBR>คน<WBR>งาน<WBR>ออก<WBR>ไป คน<WBR>งาน<WBR>ที่<WBR>ออก<WBR>ไป<WBR>ไม่<WBR>มี<WBR>งาน<WBR>ทำ แต่<WBR>ถ้า<WBR>ทำ<WBR>โครง<WBR>การ<WBR>ใหญ่ ๆ เหล่า<WBR>นี้<WBR>จะ<WBR>สามารถ<WBR>เอา<WBR>แรง<WBR>งาน<WBR>มา<WBR>ทำ มาส<WBR>ร้าง แล้ว<WBR>ก็<WBR>เขา<WBR>มี<WBR>งาน เขา<WBR>ก็<WBR>มี<WBR>เงิน<WBR>ตอบ<WBR>แทน<WBR>เศรษฐกิจ<WBR>ของ<WBR>คน<WBR>เหล่า<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>ดี<WBR>ขึ้น <DD> <DD><DD>เมื่อ<WBR>เศรษฐกิจ<WBR>ดี<WBR>ขึ้น<WBR>เขา<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>ด้วย<WBR>ความ<WBR>ตั้ง<WBR>ใจ<WBR>มาก<WBR>ขึ้น มี<WBR>อาหาร<WBR>ใส่<WBR>ท้อง<WBR>ก็<WBR>แข็ง<WBR>แรง งาน<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>จะ<WBR>มี<WBR>ปริมาณ<WBR>และ<WBR>คุณภาพ<WBR>ดี<WBR>ขึ้น ฉะนั้น<WBR>ทางเศรษฐกิจ<WBR>แท้ ๆ จะ<WBR>เป็น<WBR>กำไร<WBR>ส่วน<WBR>รวม หรือ<WBR>ถ้า<WBR>พูด<WBR>ถึง<WBR>รัฐบาล<WBR>อยู่<WBR>ดี เพราะ<WBR>ว่า<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR>มี<WBR>งาน<WBR>ทำ ทำ<WBR>งาน<WBR>ได้ <DD> <DD><DD>แล้ว<WBR>ก็<WBR>พูด<WBR>ให้<WBR>ทางภาษี<WBR>อากร<WBR>ก็<WBR>เสีย<WBR>ภาษี<WBR>ได้ เพราะ<WBR>ฉะนั้น<WBR>ที่<WBR>พูด<WBR>อย่าง<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ปัญหา<WBR>ปัจจุบัน<WBR>นี้ จะ<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>การ<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ตั้ง<WBR>แต่<WBR>วัน<WBR>นี้<WBR>ไป<WBR>คือ<WBR>เช่น<WBR>เดียวกับที่<WBR>เคย<WBR>เล่า<WBR>ให้<WBR>ฟัง<WBR>ว่า โครง<WBR>การ<WBR>แห่งหนึ่ง<WBR>ที่<WBR>ภาค<WBR>เหนือ ที่<WBR>สัน<WBR>กำแพง ไป<WBR>ดู<WBR>สถาน<WBR>ที่<WBR>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ชาว<WBR>บ้าน<WBR>เอง<WBR>ก็<WBR>ขอ<WBR>อยาก<WBR>ให้<WBR>ทำ<WBR>อ่าง<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>ตรง<WBR>นี้ เขื่อน<WBR>ห้วย<WBR>ลาน <DD> <DD><DD>แล้ว<WBR>ก็<WBR>ช่าง<WBR>ก็<WBR>บอก<WBR>ว่า<WBR>ทำ<WBR>ได้<WBR>ทางส่วน<WBR>ราช<WBR>การ<WBR>ได้<WBR>แก่ กรม<WBR>ชลประทานกับสำนัก<WBR>งาน<WBR>เร่ง<WBR>รัด<WBR>พัฒนา<WBR>ชน<WBR>บท รพช. ร่วม<WBR>กัน<WBR>ช่วย<WBR>กัน<WBR>ทำ ไป<WBR>เยี่ยม<WBR>ที่<WBR>ตรง<WBR>นั้น<WBR>จะ<WBR>เป็น<WBR>ยี่<WBR>สิบ<WBR>เท่า<WBR>ไร<WBR>กุมภา ๒๗ กุมภา วัน<WBR>ที่ ๑ มี<WBR>นา ก็<WBR>ทำ<WBR>งาน<WBR>แล้ว ชาว<WBR>บ้าน<WBR>ที่<WBR>อยู่<WBR>ตรง<WBR>นั้น<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>เงิน<WBR>ตอบ<WBR>แทน<WBR>ใน<WBR>งาน<WBR>การ<WBR>ของ<WBR>เขา<WBR>แล้ว เศรษฐกิจ<WBR>เขา<WBR>เริ่ม<WBR>ดี<WBR>ขึ้น<WBR>แล้ว<WBR>ภาย<WBR>ใน ๓ วัน<DD> <DD><DD><WBR>คือ<WBR>มา<WBR>อัน<WBR>นี้<WBR>เป็น<WBR>ผล<WBR>โดย<WBR>ตรง<WBR>สำหรับ<WBR>ชาว<WBR>บ้าน เป็น<WBR>ผล<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>ทัน<WBR>ที ส่วน<WBR>อ่าง<WBR>เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>อัน<WBR>นั้น<WBR>ก็<WBR>เสร็จภาย<WBR>ใน ๗ - ๘ เดือน เก็บ<WBR>น้ำ<WBR>ได้<WBR>ใน<WBR>ปี<WBR>ต่อ<WBR>ไป ไป<WBR>ดู<WBR>แล้ว ปลูก<WBR>ข้าว<WBR>ได้<WBR>แล้ว น้ำ<WBR>ใน<WBR>หมู่<WBR>บ้าน<WBR>ดี ไม่<WBR>ต้อง<WBR>เดิน 3 กิโลเมตร ไป<WBR>ตัก<WBR>น้ำ<WBR>ที่<WBR>ที่<WBR>แหล่ง<WBR>น้ำ<WBR>อื่น <DD> <DD><DD>ภาย<WBR>ใน<WBR>ปี<WBR>หนึ่ง<WBR>ประชา<WBR>ชน<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>ผล<WBR>ประ<WBR>โยชน์<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>กำจัด<WBR>ภัย<WBR>แล้ง<WBR>ใน<WBR>ที่<WBR>ตรง<WBR>นั้น ก็<WBR>หมาย<WBR>ความ<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ช้า<WBR>เมื่อ<WBR>ทำ<WBR>ลง<WBR>มือ<WBR>ทำ<WBR>แล้ว<WBR>ได้<WBR>ผล<WBR>นับ<WBR>ว่า<WBR>ทัน<WBR>ที ฉะนั้น<WBR>ที่<WBR>พูด<WBR>อย่าง<WBR>นี้<WBR>ก็<WBR>ขอ<WBR>ให้<WBR>ช่วย<WBR>กัน<WBR>คิด<WBR>อาจ<WBR>จะ<WBR>ไม่<WBR>ใช่ แต่<WBR>ละ<WBR>คน<WBR>ก็<WBR>บอก<WBR>ว่า<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>เรื่อง<WBR>ไม่<WBR>ใช่<WBR>ธุระ แต่<WBR>ที่<WBR>จริง<WBR>เป็น<WBR>ธุระ<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR><WBR>"<DD> <DD>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER><DD><CENTER></CENTER>

    <DD> <DD>พระ<WBR>ราช<WBR>ดำรัส<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>เชิญ<WBR>มา<WBR>นี้ หาก<WBR>พิจารณา<WBR>ให้<WBR>ลึก<WBR>ซึ้ง<WBR>แล้ว<WBR>จะ<WBR>เห็น<WBR>ว่า นอก<WBR>จาก<WBR>พระ<WBR>องค์<WBR>ทรง<WBR>ห่วง<WBR>ใย<WBR>พสก<WBR>นิกร<WBR>แล้ว พระ<WBR>องค์<WBR>ยัง<WBR>แสดง<WBR>ออก<WBR>ถึง<WBR>พระ<WBR>ปรีชา<WBR>ญาณ<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>หา<WBR>หน<WBR>ทางแก้<WBR>ปัญหา<WBR>ที่<WBR>ลึก<WBR>ซึ้ง<WBR>ละเอียด<WBR>อ่อน ทรง<WBR>พิจารณา<WBR>ลึก<WBR>ลง<WBR>ไป<WBR>ถึง<WBR>ว่า <DD> <DD><DD>ปัญหา<WBR>ที่<WBR>เกี่ยว<WBR>ข้อง<WBR>ใน<WBR>เรื่อง<WBR>นี้<WBR>มิ<WBR>ใช่<WBR>ปัญหา<WBR>เฉพาะ<WBR>ด้าน<WBR>เทคนิค<WBR>แต่<WBR>เพียง<WBR>อย่าง<WBR>เดียว<WBR>เท่า<WBR>นั้น แต่<WBR>ปัญหา<WBR>ทางด้าน<WBR>สังคม<WBR>และ<WBR>วัฒนธรรม<WBR>อัน<WBR>เกิด<WBR>จาก<WBR>ความ<WBR>ขัด<WBR>แย้ง<WBR>ทางความ<WBR>คิด<WBR>ที่<WBR>เกิด<WBR>จาก<WBR>ทั้ง<WBR>นัก<WBR>วิชา<WBR>การ<WBR>และ<WBR>มวล<WBR>ชนก<WBR>ลุ่ม<WBR>ต่าง ๆ <DD> <DD><DD>ซึ่ง<WBR>ได้<WBR>ดำ<WBR>เนิน<WBR>มา<WBR>อย่าง<WBR>ตลอด ความ<WBR>ล่า<WBR>ช้า<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>พัฒนา<WBR>ต่าง ๆ จึง<WBR>เกิด<WBR>ขึ้น ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>เรื่อง<WBR>ที่<WBR>ทุก<WBR>คน<WBR>ใน<WBR>ประเทศ<WBR>จะ<WBR>ต้อง<WBR>ช่วย<WBR>กัน<WBR>แก้<WBR>ไข<WBR>ต่อ<WBR>ไป </DD>

    <DD><DD>

    <CENTER>คำประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ
    พระปรีชาญานในการจัดการลุ่มน้ำเพื่อพสกนิกร | ทรัพยากรป่าไม้ | ทรัพยากรดิน | ทรัพยากรน้ำ | การแก้ไขปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย | การบูรณาการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ำ | สรุป | </CENTER>
    </DD>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ธันวาคม 2011

แชร์หน้านี้

Loading...