เรียนเชิญอนุโมทนาการอบรมพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ครั้งที่ ๑/๕๓ วันมาฆบูชา

ในห้อง 'อนุโมนาบุญ - อุทิศบุญส่วนกุศล' ตั้งกระทู้โดย บุญญสิกขา, 4 มีนาคม 2010.

  1. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    การปฏิบัติธรรม วันมาฆบูชา
    แนววิชชากรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ครั้งที่ ๑/๒๕๕๓
    ระหว่างวันที่ ๒๗ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓
    ณ สำนักศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    คณะ ๕ วัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร (วัดพลับ)
    แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ


    [​IMG]

    ตามที่สำนักศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ จัดกิจกรรมการปฏิบัติธรรมบำเพ็ญ เนื่องในวันมาฆบูชา วันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ หรือวันจาตุรงคสันนิบาต สืบเนื่องพระพุทธองค์สมณโคดมได้แสดงโอวาทปาติโมกข์ ในที่ประชุมสงฆ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นการประกาศหลักการอุดมการณ์ และวิธีการปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา เป็นพุทธบูชา และบำเพ็ญน้อมถวายเป็นพระกุศลเฉลิมพระเกียรติพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ



    [​IMG]


    สำนักศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ คณะ ๕ วัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร (วัดพลับ) เป็นสำนักการเรียนรู้ฝึกจิตภาวนา เพื่อการดำรงชีวิตที่ดีงามแห่งสุขภาวะทางปัญญา และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

    ตามสายวิชชาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ วัดราชสิทธาราม วรวิหาร (วัดพลับ) ศูนย์กลางสายวิชชาประจำกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นสายวิชชาที่สืบสานมาแต่โบราณ นับแต่สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร มหาเถรเจ้า (เจ้าประคุณสุก ไก่เถื่อน) บรมครูฝ่ายวิปัสสนาธุระ ประจำรัตนโกสินทร์



    [​IMG]

    โดย พระสิทธิสังวร (วีระ ฐานวีโร ผจล. ชอ.วิ.) พระอาจารย์บอกพระกรรมฐาน และคณะธรรมทายาท ระหว่างวันที่ ๒๗ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ถึงวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๓ ณ คณะ ๕ วัดราชสิทธาราม วรวิหาร (วัดพลับ)



    [MUSIC]http://palungjit.org/attachments/a.886083/[/MUSIC]​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มีนาคม 2010
  2. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ของ พระราหุลเถระเจ้า องค์ต้นพระกรรมฐานมัชฌิมา

    [​IMG]


    เนื่องด้วยต้นมาแห่งสายวิชชาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    สืบสานมาแต่พระราหุลเถระเจ้า

    ขออนุญาตอัญเชิญพระอริยประวัติพระองค์ท่านในฐานะผู้ทรงธรรมบริบูรณ์ด้วยคุณสมบัติ ๒ ประการ คือ ชาติสมบัติ ๑ และปฏิบัติสมบัติ ๑

    ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระศาสดา และเป็นอริยสาวกเจ้าที่มี เอกทัคคะเลิศทางการใฝ่ศึกษา ทรงสร้างสมพระสาวกบารมีมาหลายอสงไขย แสนมหากัปป นับชาติไม่ถ้วน ซึ่ง ศีล สมาธิ ปัญญา


    ทรงได้รับพระมหากรุณาพุทธิคุณในการอบรมพระกรรมฐาน จาก พระเถระสารีบุตรในฐานะพระพี่เลี้ยง และจากพระมหาเถระอริยะสาวกเจ้าพระองค์อื่นๆ อาทิ พระปิติ ๕ พระยุคล ๖ พระอานาปานสติ ๙ พระกายคตาสติ ๓๒ กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ อนุสติ ๗ พรหมวิหาร ๔ วิสุทธิ ๗ วิปัสสนาญาณ ๑๐ อรูปญาณ ๔ พระมหาสติปัฏฐาน ๔ พระโพธิปักขิยธรรม ๓๗ พระไตรลักษณ์ ๓ เบญขันธ์และอายตนภายในภายนอกทั้ง ๕ ธาตุ ๔ เป็นต้น
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    จนกระทั่ง พระองค์บ่มวิมุติแก่กล้า ด้วยอิริยาบถไม่เคยเหยียดหลังบนเตียงตลอดช่วงปฏิบัติธรรมก่อนเป็นพระอเสขบุคคล ทรงเผยแพร่พระกรรมฐานมัชฌิมา และบรรลพระอรหันตเจ้า พร้อมด้วยมรรค ๔ ผล ๔ อภิญญา ๖ ปฏิสัมภิทา ๔ แล้ว กาลต่อมาก็มีกุลบุตรที่ได้รับทราบกิตติศัพท์ ได้เข้ามาเป็นสัทธวิหาริก และอันเตวาสิก ศึกษาตามแบบอย่างในสำนักของพระราหุลเถระเจ้าที่ท่านได้ทรงศึกษามา เพื่อสืบทอดการตั้งความปรารถนาและเจตนารมณ์ของพระองค์ท่าน


    ก่อนที่พระราหุลเถระเจ้าท่านจะเข้าสู่ขันธปรินิพพานนั้น พระองค์ท่านได้เจริญอิทธิบาทภาวนา อธิษฐานขอจิตนี้กายนี้ ของพระองค์ท่าน แบ่งเป็นสองภาค คือ กายเนื้อเดิม ๑ กับกายทิพย์ใหม่ ๑ เมื่อกายเนื้อแตกดับสู่นิพพาน จึงเหลือแต่กายอธิษฐานทิพย์ คอยดูแลพระบวรพุทธศาสนาไปอีก ๕๐๐ ปี หลังท่านนิพพาน โดยมีพระเถระรุ่นสืบต่อ ๆ กันมา เป็นผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ จากนั้น กายทิพย์อันเกิดจากการอธิษฐานจิตก็อันตรธานหายไป จึงกล่าวได้ว่า พระราหุลเถระเจ้าท่าน จะมีกายก็ไม่ใช่ จะไม่มีกายก็ไม่ใช่
     
  3. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เหตุที่เรียก พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ เพราะเป็นพระกรรมฐานที่ไม่เอนเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง ในพระสมถะกรรมฐานทั้ง ๔๐ กอง และเรียนเป็นลำดับไปจนครบ ๔๐ กอง จนถึงลำดับสู่วิปัสสนากรรมฐาน จึงเป็นการรวบรวมเอาพระสมถะกรรมฐานทั้ง ๔๐ กอง และวิปัสสนากรรมฐานทั้งมวลไว้ในที่เดียวกัน เพื่อมิให้แตกกระจายไปในทางปฏิบัติ มิต้องให้ความสำคัญกับพระกรรมฐานกองใดกองหนึ่ง


    [​IMG]

    การขึ้นครูกรรมฐาน เป็นธรรมเนียมพิธีมีมาแต่โบราณ อุบายเพื่อกำหนดจิตน้อมเหนี่ยวขมาพระรัตนตรัยทั้ง ๓ คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ เป็นองค์คุณ และ บูชาพระคุณครูบาอาจารย์ผู้ให้การสั่งสอนอบรมวิชชา บนถาดเครื่องนมัสการ ประกอบด้วย เทียน ๕ ข้าวตอก ๕ และดอกไม้บูชา ๕ เพื่อความเจริญก้าวหน้าแห่งธรรมปัญญาญาณ


    (กราบอนุโมนา สาธุการ คณะศิษย์ศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ทุก ๆ ท่านที่ได้เอื้อเฟื้อภาพประกอบ)<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->
     
  4. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


     
  5. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]



    การฝึกอบรมพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    ผ่านพระอาจารย์ผู้บอกพระกรรมฐาน

    เบื้องต้น เพื่อปูพื้นฐาน ทำความเข้าใจสายวิชชา

    เริ่มต้นจาก การกำหนดฐานใต้สะดือ ๒ นิ้ว



    (กราบอนุโมนา สาธุการ คณะศิษย์ศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ทุก ๆ ท่านที่ได้เอื้อเฟื้อภาพประกอบ)



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]
    <O:p</O:p
     
  6. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]
     
  7. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471

    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]





     
  8. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]



    การอบรมกรรมฐานแนวปฏิบัติ จะอยู่ในความดูแลของครูบาอาจารย์ใกล้ชิด
    สลับการบรรยายธรรมจาก พระพี่เลี้ยง
    พระพี่เลี้ยง เสมือนผู้คอยรดน้ำพรวนดิน ช่วยปรับสภาพพื้นฐานการตั้งสภาวะจิต เตรียมพร้อมตั้งมั่น อบอุ่นใจ
    (บรรดาพระพี่เลี้ยง คือ พระผู้หมั่นฝึกเพียรประสบการณ์ พร้อมเป็น ผู้เอื้อ)


    (กราบอนุโมนา สาธุการ คณะศิษย์ศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ทุก ๆ ท่านที่ได้เอื้อเฟื้อภาพประกอบ)



    [​IMG]




    [​IMG]



    [​IMG]




    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]




    [​IMG]



    [​IMG]




    [​IMG]

    <O:p</O:p
     
  9. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ปฏิบัติกรรมฐานภาวนา @ ได้ฟังธรรมตามกาล

    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]



     
  10. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ภาคทฤษฎี ผู้เข้ารับการอบรมได้ศึกษาสดับพระอภิธรรม จากท่านอาจารย์

    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]

     
  11. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]



    นอกจากการฝึกนั่งกรรมฐานกำหนดจิตภาวนาแล้ว
    จะยังได้ฝึกศึกษาพิจารณาทุกขณะจิต เช่น
    การกำหนดสติอิริยาบถยืน และเดินจงกรม



    (กราบอนุโมนา สาธุการ คณะศิษย์ศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ทุก ๆ ท่านที่ได้เอื้อเฟื้อภาพประกอบ)



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    อานิสงส์ของการ“เดินจงกรม”

    (๑) เดินทางบ่มีเจ็บแข้งเจ็บขา
    (๒) ทำให้อาหารย่อยได้ดี
    (๓) ทำให้เลือดลมเดินสะดวก
    (๔) เวลาเดินจงกรมไปๆ มาๆ จิตจะลงเป็นสมาธิได้ สมาธิของผู้นั้นไม่เสื่อม
    (๕) เทพยดาถือพานดอกไม้มา สาธุๆ มาอนุโมทนา


    [​IMG]



    [​IMG]




    [​IMG]


    [​IMG]


    <O:p</O:p
    <!-- google_ad_section_end -->
     
  12. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    สมัยพุทธกาลนั้น

    สถานปฏิบัติจะต้องมี สัปปายะ คือ เป็นที่อยู่อาศัยสบาย เช่น ในป่า โคนต้นไม้ เรือนว่างเป็นที่สงบ สนับสนุนเหมาะกัน สิ่งที่เกื้อกูล ช่วยสนับสนุนในการบำเพ็ญภาวนาให้ได้ผลดี ช่วยให้สมาธิตั้งมั่น ไม่เสื่อมถอย

    ๑. อาวาสสัปปายะ (ที่อยู่ซึ่งเหมาะกัน เช่น ไม่พลุกพล่านจอแจ)
    ๒. โคจรสัปปายะ (ที่หาอาหาร ที่เที่ยวบิณฑบาตที่เหมาะดี เช่น มี<WBR>หมู่<WBR>บ้าน <WBR>หรือ<WBR>ชุมชน<WBR>ที่มีอาหารบริบูรณ์อยู่ไม่ใกล้ไม่ไกลเกินไป)
    ๓. ภัสสสัปปายะ (การพูดคุยที่เหมาะกัน เช่น พูดคุยเล่าขานกันแต่ในกถาวัตถุ ๑๐ และพูดแต่พอประมาณ)
    ๔. ปุคคลสัปปายะ (บุคคลที่ถูกกันเหมาะกัน เช่น มีท่านผู้ทรงคุณธรรม ทรง<WBR>ภูมิ<WBR>ปัญญา<WBR>เป็นที่ปรึกษาเหมาะใจ)
    ๕. โภชนสัปปายะ (อาหารที่เหมาะกัน เช่น ถูกกับร่างกาย เกื้อกูลต่อสุขภาพ )
    ๖. อุตุสัปปายะ (ดินฟ้าอากาศธรรมชาติแวดล้อมที่เหมาะกัน เช่น ไม่หนาวเกินไป ไม่ร้อนเกินไป เป็นต้น)
    ๗. อิริยาปถสัปปายะ (อิริยาบถที่เหมาะกัน เช่น บางคนถูกกับจงกรม บางคนถูกกับนั่ง ตลอดจนมีการเคลื่อนไหวที่พอดี)

    ที่มาข้อมูล : http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=286




    [​IMG]




    [​IMG]



    [​IMG]




    [​IMG]



    [​IMG]

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มีนาคม 2010
  13. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]

    นอกจากการอบรมกรรมฐานภาวนาแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้ร่วมสวดมนต์ทำวัตรเย็น ด้วยอานิสงฆ์แห่งการสาธยายเจริญมนต์ สมบุญกิริยาวัตถุ ๒๐ และกำหนดจิตแผ่เมตตาอัปมัญญาร่วมกัน


    สำนึกในพระคุณครูบาอาจารย์ สมเด้จพระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) ต้นตำหรับพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ แห่งยุคกรุงรัตนโกสินทร์



    (กราบอนุโมนา สาธุการ คณะศิษย์ศูนย์กลางพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ทุก ๆ ท่านที่ได้เอื้อเฟื้อภาพประกอบ)<O:p</O:p


    [​IMG]

    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]

    <!-- google_ad_section_end -->
     
  14. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ท่านไต้ซือ และ พระไทยที่ไปจำพรรษา ๑๖ ปี จากพม่า สนใจศึกษาสืบสาน

    ขั้นตอนของการปฏิบัติ สายวิชชามัชฌิมากรรมฐาน แบบลำดับ จะรวมทั้งลำดับหมวดสมถะกรรมฐาน และลำดับหมวดวิปัสสนากรรมฐานเข้าไว้ด้วยกัน อย่างต่อเนื่อง

    โดยเริ่ม ผู้มีจิตศรัทราในการปฏิบัติพระกรรมฐาน
    เมื่อแรกเรียน จิตยังไม่ตั้งมั่น เพื่อให้จิตตั้งมั่นเป็นสมาธิได้ง่าย แรกเรียนใหม่ๆ จะต้องได้รับฝึกฝนให้เรียนเอายังพระกรรมฐานที่มีอานุภาพเล็กน้อย มีอารมณ์เล็กน้อย มีอารมณ์แคบสั้น เป็นอนุสติ เป็นราก เป็นเง้า เป็นเค้า เป็นมูล ของพระกรรมฐานที่จะเปิดบานประตูไปสู่พระกรรมฐานอื่นๆ ได้ง่าย

    ผู้ปฏิบัติจะต้องได้รับการฝึกฝนเริ่มจากลำดับสมถะ ( ซึ่งจะประกอบไปด้วยพระกรรมฐาน จำนวน ๓ ห้องพระกรรมฐาน ) เป็นการฝึกฝนตั้งกำลังสมาธิ เป็นพระกรรมฐานอย่างต่อเนื่อง ของจิต จากจิตหยาบ ไปหาจิตที่ละเอียด จนสมาธิเต็มขั้น หรือรูปเทียมของปฐมญาณ เพื่อจะยังอารมณ์ใจเข้าถึงองค์ปิติธรรม ซึ่งแต่ละองค์ก็มีอารมณ์ที่ต่างกัน เพื่อเป็นราก เป็นเค้า เป็นมูล เป็นบาทฐานสมาธิเบื้องสูงต่อ ๆ ไป

    คัดความจากหนังสือ “หลักปฏิบัติสมถะ วิปัสสนากรรมฐาน สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุก ไก่เถื่อน) สุดยอดแนวทางปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ขององค์ปฐมวิปัสสนาจารย์ประจำยุครัตนโกสินทร์


    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]




    <!-- google_ad_section_end -->
     
  15. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เวียนเทียน คืนเพ็ญมาฆบูชา วันกตัญญูแห่งชาติ

    [​IMG]

    วันมาฆบูชา “วันกตัญญูแห่งชาติ"
    ต ร ง กั บ วั น ขึ้ น ๑ ๕ ค่ำ เ ดื อ น ๓
    <O:p


    <TABLE style="BACKGROUND: #cccccc; mso-cellspacing: .7pt; mso-yfti-tbllook: 1184; mso-table-lspace: 2.25pt; mso-table-rspace: 2.25pt; mso-table-anchor-vertical: paragraph; mso-table-anchor-horizontal: column; mso-table-left: right; mso-table-top: middle; mso-padding-alt: 2.25pt 2.25pt 2.25pt 2.25pt" class=MsoNormalTable border=0 cellSpacing=1 cellPadding=0 align=right><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes; mso-yfti-lastrow: yes"><TD style="BORDER-BOTTOM-COLOR: #f0f0f0; PADDING-BOTTOM: 2.25pt; BORDER-TOP-COLOR: #f0f0f0; PADDING-LEFT: 2.25pt; PADDING-RIGHT: 2.25pt; BACKGROUND: white; BORDER-RIGHT-COLOR: #f0f0f0; BORDER-LEFT-COLOR: #f0f0f0; PADDING-TOP: 2.25pt"></TD></TR></TBODY></TABLE>

    "มาฆะ" เป็นชื่อของเดือน ๓ มาฆบูชานั้น ย่อมาจากคำว่า "มาฆบุรณมี" แปลว่าการบูชาพระในวันเพ็ญ เดือน ๓ วันมาฆบูชา จึงตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๓ แต่ถ้าปีใดมีเดือน อธิกมาส คือมีเดือน ๘ สองครั้ง วันมาฆบูชาก็จะเลื่อนไปเป็นวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ เป็นวันสำคัญวันหนึ่ง ในวันพุทธศาสนา คือวันที่มีการประชุมสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพุทธศาสนา ที่เรียกว่า "จาตุรงคสันนิบาต" และเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโอวาทปฎิโมกข์ แก่พระสงฆ์สาวกเป็นครั้งแรก ณ เวฬุวันวิหาร กรุงราชคฤห์ เพื่อให้พระสงฆ์นำไปประพฤติปฏิบัติ เพื่อจะยังพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป



    [​IMG]


    คำว่า "จาตุรงคสันนิบาต" แยกศัพท์ได้ดังนี้ คือ "จาตุร" แปลว่า ๔ "องค์" แปลว่า ส่วน "สันนิบาต" แปลว่า ประชุม ฉะนั้นจาตุรงคสันนิบาตจึงหมายความว่า "การประชุมด้วยองค์ ๔" กล่าวคือมีเหตุการณ์พิเศษที่เกิดขึ้นพร้อมกันในวันนี้ คือ
    ๑. เป็นวันที่ พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า จำนวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันที่เวฬุวันวิหารในกรุงราชคฤห์ โดยมิได้นัดหมาย
    ๒. พระภิกษุสงฆ์เหล่านี้ล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" คือเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น
    ๓. พระภิกษุสงฆ์ทุกองค์ที่ได้มาประชุมในครั้งนี้ ล้วนแต่เป็นผุ้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆองค์
    ๔. เป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวงกำลังเสวยมาฆฤกษ
    การปฎิบัติตนสำหรับพุทธศาสนาในวันนี้ก็คือ การทำบุญ ตักบาตรในตอนเช้า หรือไม่ก็จัดหาอาหารคาวหวานไปทำบุญฟังเทศน์ที่วัด ตอนบ่ายฟังพระแสดงพระธรรมเทศนา ในตอนกลางคืน จะพากันนำดอกไม้ ธูปเทียน ไปที่วัดเพื่อชุมนุมกันทำพิธีเวียนเทียน รอบพระอุโบสถ พร้อมกับพระภิกษุสงฆ์โดยเจ้าอาวาสจะนำว่า นะโม ๓ จบ จากนั้นกล่าวคำ ถวาย ดอกไม้ธูปเทียน ทุกคนว่าตาม จบแล้วเดิน เวียนขวา ตลอดเวลาให้ระลึกถึง พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ จนครบ ๓ รอบ แล้วนำดอกไม้ ธูปเทียนไปปักบูชาตามที่ทางวัด เตรียมไว้ เป็นอันเสร็จพิธี
    <O:p
    ปัจจุบันวันมาฆบูชาได้รับการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทย
    <O:p</O:p
    ในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ รัฐบาลไทยได้ประกาศให้วันมาฆบูชา ให้เป็น "วันกตัญญูแห่งชาติ" เนื่องจากปัจจุบันสังคมไทยวัยรุ่นสาวมักจะเสียตัวในวันวาเลนไทน์ หลายหน่วยงานจึงพยายามรณรงค์ให้วันมาฆบูชาเป็นวันแห่งความรัก (อันบริสุทธิ์) แทน
    <O:p</O:p
    สำหรับในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ นี้ วันมาฆบูชาจะตรงกับ วันอาทิตย์ที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ตามปฏิทินสุริยคติ
    <O:p</O:p
    อนุโมทนาที่มาข้อมูล: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี<O:p</O:p<!-- google_ad_section_end -->


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]

    [​IMG]
     
  16. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    [​IMG]




    [​IMG]





    [​IMG]




    [​IMG]


    [​IMG]




    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]
     
  17. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    รวมกำลังกองบุญ เตรียมถวายสังฆทาน อุทิศกุศล




    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]





     
  18. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    กองทัพธรรม บำรุงขันธ์ เต็มกำลังอัตรา ก่อพลังบัวบาน

    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]







     
  19. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    ฝึกฝน พากเพียร แล้วผ่อนคลาย กันบ้าง เน้อ !!!

    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]


    [​IMG]



    [​IMG]




    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 มีนาคม 2010
  20. บุญญสิกขา

    บุญญสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2008
    โพสต์:
    2,863
    ค่าพลัง:
    +14,471
    เกี่ยวกับวิชชาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ

    [​IMG]



    "พระราหุลเถรเจ้า"


    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับนี้ เป็นของเก่าเล่าเรียนปฏิบัติสืบ ๆต่อ ๆ กันมาช้านานนับแต่ครั้งพุทธกาล โดย "พระราหุลเถรเจ้า" ท่านทรงเป็นต้นสาย ถึงครั้งตติยสังคายนา นำเข้ามาสู่ลังกา และนำเข้าสู่แผ่นดินสุวรรณภูมิ โดยพระโสณะเถรเจ้า พระอุตระเถรเจ้า พระองค์ท่านได้นำพระบวรพระพุทธศาสนา พร้อมพระสมถะ – วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ผ่านยุคผ่านสมัยเรื่อยมา จนถึงยุคศรีทวาราวดี

    การบอกพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ สืบต่อมาจนถึงยุคศรีทวาราวดี ยุคสุโขทัย ยุคศรีอยุธยา และยุคศรีกรุงรัตนโกสินทร์ และในยุคกรุงศรีรัตนโกสินทร์นี้เอง สายวิชชานี้ได้เริ่มเสื่อมถอยลงเรื่อยๆ ประมาณปีพระพุทธศักราช ๒๓๖๔ พระสงฆ์ สามเณร ปะขาว ชี เริ่มประพฤติปฏิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ออกนอกลู่ นอกทางจากต้นแบบแผนก่อนเก่า คือ ไม่ปฏิบัติเป็นขั้นตอน ทำให้พระพุทธศาสนาภาคปฏิบัติเสื่อมถอยลง

    จนปัจจุบัน จากความรู้ไม่ทั่วถึง จึงสมควรที่สาธุพุทธศาสนิกชนจะมาช่วยกันฟื้นฟู ผดุงรักษา แบบอย่างคำสอนแต่โบราณมิให้ถอยหาย เสื่อมสูญไป สาธุค่ะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...