Album: การประเมินโครงการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร

บทคัดย่อ<br /> <br /> เรื่อง การประเมินโครงการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร<br /> ผู้ประเมิน นางสุทธินันท์ บุญศักดิ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28<br /> ปีที่พิมพ์ 2553<br /> <br /> การประเมินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร <br /> ปีการศึกษา 2553 ในด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน ครูผู้สอนจำนวน 30 คน นักเรียนจำนวน540 คน และผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 540 คน รวมประชากรทั้งหมด 1,112 คน กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม(Cluster Random Sampling) จากผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน และ ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต 1 โดยใช้ตาราง Crejcie and Morgan (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล 2550: 562)ในการกำหนดกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน ครูจำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 226 คนและผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 226 คน รวมทั้งหมด 484 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยครั้งนี้เป็นแบบประเมิน จำนวน 2 ชุด ชุดที่ 1 สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และผู้ปกครองนักเรียน ชุดที่ 2 สำหรับนักเรียนผู้วิจัยสร้างเครื่องมือเป็นแบบประเมินความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างตามรูปแบบการประเมินตนเองของ Stufflebeam ประกอบด้วยด้านสภาพแวดล้อม การประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น การประเมินด้านกระบวนการ และการประเมินด้านผลผลิต โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยคำนวณหา ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br /> สรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้<br /> 1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อมการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณ<br /> สังวรจังหวัดยโสธร อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย( ) เท่ากับ 4.50 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S) เท่ากับ .63<br /> 2. ผลการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้นการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณ<br /> สังวรจังหวัดยโสธร อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย( ) เท่ากับ 4.18 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S) เท่ากับ .70<br /> 3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ การดูแลช่วยเหลื

การประเมินโครงการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร

อัปเดต 25 พฤศจิกายน 2011
DSCN1647 resize  
Loading Photos......
Loading Photos......
sudthinan
บทคัดย่อ

เรื่อง การประเมินโครงการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร
ผู้ประเมิน นางสุทธินันท์ บุญศักดิ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
ปีที่พิมพ์ 2553

การประเมินระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดยโสธร
ปีการศึกษา 2553 ในด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน ครูผู้สอนจำนวน 30 คน นักเรียนจำนวน540 คน และผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 540 คน รวมประชากรทั้งหมด 1,112 คน กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม(Cluster Random Sampling) จากผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน และ ผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายโสธร เขต 1 โดยใช้ตาราง Crejcie and Morgan (บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูล 2550: 562)ในการกำหนดกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน ครูจำนวน 30 คน นักเรียน จำนวน 226 คนและผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 226 คน รวมทั้งหมด 484 คนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยครั้งนี้เป็นแบบประเมิน จำนวน 2 ชุด ชุดที่ 1 สำหรับผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน และผู้ปกครองนักเรียน ชุดที่ 2 สำหรับนักเรียนผู้วิจัยสร้างเครื่องมือเป็นแบบประเมินความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างตามรูปแบบการประเมินตนเองของ Stufflebeam ประกอบด้วยด้านสภาพแวดล้อม การประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น การประเมินด้านกระบวนการ และการประเมินด้านผลผลิต โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยคำนวณหา ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้
1. ผลการประเมินด้านสภาพแวดล้อมการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณ
สังวรจังหวัดยโสธร อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย( ) เท่ากับ 4.50 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S) เท่ากับ .63
2. ผลการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้นการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนสมเด็จพระญาณ
สังวรจังหวัดยโสธร อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย( ) เท่ากับ 4.18 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S) เท่ากับ .70
3. ผลการประเมินด้านกระบวนการ การดูแลช่วยเหลื

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...