Album: วีธีดูหลวงปู่ เก่าๆ

จาก http://www.luangporngoen.com/index.php?topic=438.0<br /> ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนว่า ผมไม่ใช่เซียนพระเป็นเพียงผู้นิยมสะสมพระเครื่องเท่านั้น สำหรับหลักการดูที่จะเสนอแนะนี้ ก็ศึกษามานานพอสมควร จากผู้รู้และศึกษาดูจากของตนเองที่มีอยู่บ้าง..ผมจะไม่พูดถึงพิมพ์เพราะมี ให้ดูอยู่แล้วมากมาย แต่จะพูดเฉพาะที่เซียนไม่ยอมกล่าวถึงเท่านั้น..<br /> <br /> 1. เนื่องจากพระหลวงพ่อเงินเป็นพระหล่อโบราณ และบางพิมพ์เป็นเบ้าทุบ ฉะนั้นจะไม่มีพระองค์ใดที่เหมือนกันทุกประการ ถ้ามีก็ต้องเก๊องค์หนึ่งล่ะ ผิวพระหล่อจะต้องไม่เรียบและมีรูพรุนของฟองอากาศอยู่ทั่วไป..<br /> <br /> 2. ผิวพระจะต้องเก่าแห้งซีด(ดูเทียบกับผิวระฆังอายุ 100 ปีขึ้นไป) จะมีสนิมเขียวเกือบดำจับแน่นมาก บางบริเวณอาจจะมีสนิมสีน้ำตาลเข้มหรือแดงปนน้ำตาลเข้มจับที่ผิว โดยสนิมนี้จะเกิดมาจากด้านในและมาจับแน่นที่ผิวอีกที สนิมเขียวเกิดจากทองเหลือง ส่วนสนิมสีน้ำตาลหรือแดงปนน้ำตาลนี้จะเกิดจากผงแร่เหล็กน้ำพี้ที่ผสมลงไป..<br /> <br /> 3. ไม่ว่าจะมองด้านบน หรือด้านข้าง เมื่อหมุนองค์พระไปรอบๆ จะต้องเห็นศรีษะของหลวงพ่อกลมคล้ายบาตรพระคว่ำตลอดเวลา ไม่มีการเปลี่ยนรูปทรง หรืือเปลี่ยนแปลงก็น้อยมาก..จุดนี้เป็นจุดตาย..<br /> <br /> 4. ใบหูทั้งสองข้างจะจดไหล่ จึงทำให้ดูใบหน้าหลวงพ่อยื่นออกมาคล้ายๆกับกษัตริย์ฟาโรห์ของอียิปต์<br /> <br /> 5. ก้านช่อจะเล็กกลม(พิมพ์นิยม) และส่วนมากจะอยู่ตรงกลาง ไม่มีการตะไบข้างๆ ไม่ว่าจะเป็นพิมพ์ไหน..<br /> <br /> 6. เนื่องจากมีการใส่ทองคำและโหละอื่นลงไปผสม จึงทำให้เนื้อพระค่อนข้างหยาบเพราะความไม่เข้ากัน จึงทำให้เห็นเกล็ดทองคำหรือเกล็ดกระดี่ทองคำตามซอกต่างๆอย่างขัดเจน หรือบางท่านเรียกว่า ทองคำลอยหรือจับที่ผิวพระ ไม่ใช่กะหลั่ยทองเพราะทองคำจะติดแน่นกับเนื้อพระ ดูองค์ของผมเป็นตัวอย่างได้ (กรณีที่ ล้างสนิมออกจะเห็นชัดเจนที่สุด) และเกล็ดผงแร่เหล็กน้ำพี้บนองค์พระเป็นจุดๆ..<br /> <br /> 7. ถ้าใครได้เคยเห็นภาพถ่ายรูปหล่อหลวงพ่อเงินยุคเก่าๆ เช่น องค์แชมป์ของกำนันวิรัตน์ จะเห็นว่า ผิวพระหลวงพ่อเงินไม่ได้เรียบเหมือนที่โชว์กันอยู่ตามเวป อาจจะเป็นเพราะ มีโลหะผสมหลายอย่าง และไฟที่ใช้หลอมไม่สูงเหมือนปัจจุบันที่ใช้แก๊ส..องค์ของผมก็ใช้ดูเป็นตัวอย่างได้เฃ่นกัน<br /> <br /> 8. ถ้าส่องดูแล้วเห็นเนื้อพระเป็นมันวาว ก็แสดงว่าเป็นพระหล่อใหม่ ถ้าพระสึกยิ่งดูง่ายถ้ามองเห็นเป็นเนื้อทองเหลืองก็เรียบร้อย จะต้อง

วีธีดูหลวงปู่ เก่าๆ

อัปเดต 25 กรกฎาคม 2013
IMG 9234  
IMG 9232  
IMG 9258  
IMG 9257  
IMG 9255  
DSCN9388  
IMG 9159  
นิยม หลวงปู่  
DSCN9279  
DSCN9285  
DSCN9241  
user319532 pic129850 1361540148  
DSCN9706  
DSCN9604  
DSCN9694  
DSCN9739  
DSCN9147  
DSCN9149  
DSCN9150  
DSCN9151  
DSCN9152  
DSCN9153  
Collages  
2013 10 09  
หลวงปู่  
Pic 842354 3  
resized ReplyID0000602 PIC1  
DSCN9070  
DSCN9067  
DSCN6635  
DSCN6742  
12  
124  
DSCN6747  
6pcBly (1)  
DSCN7648  
123  
DSCN8964  
DSCN8974  
ปืน56  
Loading Photos......
Loading Photos......
psom
จาก http://www.luangporngoen.com/index.php?topic=438.0
ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนว่า ผมไม่ใช่เซียนพระเป็นเพียงผู้นิยมสะสมพระเครื่องเท่านั้น สำหรับหลักการดูที่จะเสนอแนะนี้ ก็ศึกษามานานพอสมควร จากผู้รู้และศึกษาดูจากของตนเองที่มีอยู่บ้าง..ผมจะไม่พูดถึงพิมพ์เพราะมี ให้ดูอยู่แล้วมากมาย แต่จะพูดเฉพาะที่เซียนไม่ยอมกล่าวถึงเท่านั้น..

1. เนื่องจากพระหลวงพ่อเงินเป็นพระหล่อโบราณ และบางพิมพ์เป็นเบ้าทุบ ฉะนั้นจะไม่มีพระองค์ใดที่เหมือนกันทุกประการ ถ้ามีก็ต้องเก๊องค์หนึ่งล่ะ ผิวพระหล่อจะต้องไม่เรียบและมีรูพรุนของฟองอากาศอยู่ทั่วไป..

2. ผิวพระจะต้องเก่าแห้งซีด(ดูเทียบกับผิวระฆังอายุ 100 ปีขึ้นไป) จะมีสนิมเขียวเกือบดำจับแน่นมาก บางบริเวณอาจจะมีสนิมสีน้ำตาลเข้มหรือแดงปนน้ำตาลเข้มจับที่ผิว โดยสนิมนี้จะเกิดมาจากด้านในและมาจับแน่นที่ผิวอีกที สนิมเขียวเกิดจากทองเหลือง ส่วนสนิมสีน้ำตาลหรือแดงปนน้ำตาลนี้จะเกิดจากผงแร่เหล็กน้ำพี้ที่ผสมลงไป..

3. ไม่ว่าจะมองด้านบน หรือด้านข้าง เมื่อหมุนองค์พระไปรอบๆ จะต้องเห็นศรีษะของหลวงพ่อกลมคล้ายบาตรพระคว่ำตลอดเวลา ไม่มีการเปลี่ยนรูปทรง หรืือเปลี่ยนแปลงก็น้อยมาก..จุดนี้เป็นจุดตาย..

4. ใบหูทั้งสองข้างจะจดไหล่ จึงทำให้ดูใบหน้าหลวงพ่อยื่นออกมาคล้ายๆกับกษัตริย์ฟาโรห์ของอียิปต์

5. ก้านช่อจะเล็กกลม(พิมพ์นิยม) และส่วนมากจะอยู่ตรงกลาง ไม่มีการตะไบข้างๆ ไม่ว่าจะเป็นพิมพ์ไหน..

6. เนื่องจากมีการใส่ทองคำและโหละอื่นลงไปผสม จึงทำให้เนื้อพระค่อนข้างหยาบเพราะความไม่เข้ากัน จึงทำให้เห็นเกล็ดทองคำหรือเกล็ดกระดี่ทองคำตามซอกต่างๆอย่างขัดเจน หรือบางท่านเรียกว่า ทองคำลอยหรือจับที่ผิวพระ ไม่ใช่กะหลั่ยทองเพราะทองคำจะติดแน่นกับเนื้อพระ ดูองค์ของผมเป็นตัวอย่างได้ (กรณีที่ ล้างสนิมออกจะเห็นชัดเจนที่สุด) และเกล็ดผงแร่เหล็กน้ำพี้บนองค์พระเป็นจุดๆ..

7. ถ้าใครได้เคยเห็นภาพถ่ายรูปหล่อหลวงพ่อเงินยุคเก่าๆ เช่น องค์แชมป์ของกำนันวิรัตน์ จะเห็นว่า ผิวพระหลวงพ่อเงินไม่ได้เรียบเหมือนที่โชว์กันอยู่ตามเวป อาจจะเป็นเพราะ มีโลหะผสมหลายอย่าง และไฟที่ใช้หลอมไม่สูงเหมือนปัจจุบันที่ใช้แก๊ส..องค์ของผมก็ใช้ดูเป็นตัวอย่างได้เฃ่นกัน

8. ถ้าส่องดูแล้วเห็นเนื้อพระเป็นมันวาว ก็แสดงว่าเป็นพระหล่อใหม่ ถ้าพระสึกยิ่งดูง่ายถ้ามองเห็นเป็นเนื้อทองเหลืองก็เรียบร้อย จะต้อง

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...