Album: โลหะ หล่อโบราณ

จาก หนุ่ย พุทธบูชา (http://www.web-pra.com/Article/Show/1283)<br /> <br /> - พระโลหะหล่อโบราณที่เราคุ้นเคยและเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในวงการพระฯเรานี้เช่น หลวงพ่อเงิน บางคลานพิมพ์ลอยองค์, พิมพ์จอบใหญ่,จอบเล็ก,หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง พิมพ์จอบใหญ่,พิมพ์รูปใข่, หลวงพ่อเดิมวัดหนองหลวง, พระปิดตา มหาอุดต์, พระกริ่ง,พระชัยต่างๆ ฯลฯ<br /> - พระโลหะหล่อโบราณนี้ ในวงการพระถือว่าเป็นพระที่เล่นยากที่สุด เพราะนอกจากการพิจารณาความเก่าจะยุ่งยากซับซ้อนแล้ว การถอดพิมพ์เพื่อทำเทียมเลียนแบบ และการทำผิวความเก่าเลียนแบบก็ทำได้ใกล้เคียงมาก<br /> - การพิจารณาพระหล่อโบราณนี้จะต้องพิถีพิถัน รัดกุม และจิตใจหนักแน่น หาไม่แล้วท่านจะหัวปั่นเหมือนจิ้งหรีดโดนปั่นหัว เนื่องจากหาคนรู้จริงในเรื่องนี้ยาก และมีน้อย ส่วนคนชอบสวดให้เสียมีมาก ฉะนั้นการเล่นพระกลุ่มนี้จึงควรเลือกเอาแต่องค์ที่ดูง่าย จะได้สบายใจ ซื้อ-ขายง่าย แต่บางองค์แม้จะดูยากสักหน่อย แต่เข้าตามหลักเกณฑ์ก็น่าจะรับเอาไว้ศึกษาบ้าง ถ้ามูลค่าไม่แพงนัก.<br /> ทีนี้เรามาทำความรู้จัก เนื้อโลหะกันดีกว่าว่ามีอะไรบ้าง<br /> 1. โลหะเดี่ยว เช่น เงิน ทอง ทองแดง ตะกั่ว เป็นต้น<br /> 2. โลหะผสม แบ่งเป็น<br /> 2.1 นวโลหะ ก็คือโลหะผสมชั้นดี หรือจะเรียกว่าสัมฤทธิ์ชั้นดีก็ได้ โลหะกลุ่มนี้จะมี ทองคำและเงินผสมอยู่มากกว่าปกติทั่วไป ทำให้เนื้อโลหะแลดูนุ่มและเนียนมัน ผิวเมื่อกลับออกสีดำหรือน้ำตาลไหม้เข้ม เมื่อถูกขัดถูจะเห็นเนื้อในเป็นสีนาก และเมื่อปล่อยทิ้งไว้ไม่นานผิวโลหะจะกลับดำมันเช่นเดิม เช่น พระกริ่งของสมเด็จฯพระสังฆราชฯ (แพ), พระฯเจ้ามา พิมพ์ล้มลุก,พระปิดตาวัดทอง เป็นต้น<br /> 2.2 สัมฤทธิ์ ก็คือโลหะผสมชั้นดี แต่มีส่วนผสมของทองคำ และเงิน น้อยกว่านวโลหะ เนื้อดูนุ่มเนียนคล้ายนวโลหะแต่อ่อนกว่า ผิวพระเมื่อกลับเป็นสีน้ำตาลเข้ม (เนื้อในสีชมพู) หรือกลับเป็นสีเทา (เนื้อในสีเหลืองอ่อน) ผิวกลับช้ากว่านวโลหะ เช่น พระกริ่งเจ้าคุณศรีฯ(สนธิ์),พระกริ่งชินบัญชร เป็นต้น พระเนื้อสัมฤทธิ์นี้เมื่อนานๆไปผิวพระจะหนาพอกพูนไปเรื่อยๆ ปรากฏอาการผุกร่อนเห็นได้ชัดเจนกว่าเนื้อนวโลหะ<br /> 2.3 ประแจจีน คือโลหะเนื้อสัมฤทธิ์อย่างอ่อน เนื้อในเป็นสีชมพู เพราะมีส่วนผสมของทองแดงมาก ผิวพระกลับจะหม่นเข้มน้อยๆ ตามผิวจะปรากฏพรายของโลหะต่างชนิดเป็นเหลือบประปราย เพราะเป็นโลหะผสมอย่างหนึ่งและเนื้อโลหะนี้เข้ากันไม่ค่อยสนิทดี เช่น พร

โลหะ หล่อโบราณ

อัปเดต 7 สิงหาคม 2013
There is no photo in this album yet.
psom
จาก หนุ่ย พุทธบูชา (http://www.web-pra.com/Article/Show/1283)

- พระโลหะหล่อโบราณที่เราคุ้นเคยและเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในวงการพระฯเรานี้เช่น หลวงพ่อเงิน บางคลานพิมพ์ลอยองค์, พิมพ์จอบใหญ่,จอบเล็ก,หลวงพ่อไปล่ วัดกำแพง พิมพ์จอบใหญ่,พิมพ์รูปใข่, หลวงพ่อเดิมวัดหนองหลวง, พระปิดตา มหาอุดต์, พระกริ่ง,พระชัยต่างๆ ฯลฯ
- พระโลหะหล่อโบราณนี้ ในวงการพระถือว่าเป็นพระที่เล่นยากที่สุด เพราะนอกจากการพิจารณาความเก่าจะยุ่งยากซับซ้อนแล้ว การถอดพิมพ์เพื่อทำเทียมเลียนแบบ และการทำผิวความเก่าเลียนแบบก็ทำได้ใกล้เคียงมาก
- การพิจารณาพระหล่อโบราณนี้จะต้องพิถีพิถัน รัดกุม และจิตใจหนักแน่น หาไม่แล้วท่านจะหัวปั่นเหมือนจิ้งหรีดโดนปั่นหัว เนื่องจากหาคนรู้จริงในเรื่องนี้ยาก และมีน้อย ส่วนคนชอบสวดให้เสียมีมาก ฉะนั้นการเล่นพระกลุ่มนี้จึงควรเลือกเอาแต่องค์ที่ดูง่าย จะได้สบายใจ ซื้อ-ขายง่าย แต่บางองค์แม้จะดูยากสักหน่อย แต่เข้าตามหลักเกณฑ์ก็น่าจะรับเอาไว้ศึกษาบ้าง ถ้ามูลค่าไม่แพงนัก.
ทีนี้เรามาทำความรู้จัก เนื้อโลหะกันดีกว่าว่ามีอะไรบ้าง
1. โลหะเดี่ยว เช่น เงิน ทอง ทองแดง ตะกั่ว เป็นต้น
2. โลหะผสม แบ่งเป็น
2.1 นวโลหะ ก็คือโลหะผสมชั้นดี หรือจะเรียกว่าสัมฤทธิ์ชั้นดีก็ได้ โลหะกลุ่มนี้จะมี ทองคำและเงินผสมอยู่มากกว่าปกติทั่วไป ทำให้เนื้อโลหะแลดูนุ่มและเนียนมัน ผิวเมื่อกลับออกสีดำหรือน้ำตาลไหม้เข้ม เมื่อถูกขัดถูจะเห็นเนื้อในเป็นสีนาก และเมื่อปล่อยทิ้งไว้ไม่นานผิวโลหะจะกลับดำมันเช่นเดิม เช่น พระกริ่งของสมเด็จฯพระสังฆราชฯ (แพ), พระฯเจ้ามา พิมพ์ล้มลุก,พระปิดตาวัดทอง เป็นต้น
2.2 สัมฤทธิ์ ก็คือโลหะผสมชั้นดี แต่มีส่วนผสมของทองคำ และเงิน น้อยกว่านวโลหะ เนื้อดูนุ่มเนียนคล้ายนวโลหะแต่อ่อนกว่า ผิวพระเมื่อกลับเป็นสีน้ำตาลเข้ม (เนื้อในสีชมพู) หรือกลับเป็นสีเทา (เนื้อในสีเหลืองอ่อน) ผิวกลับช้ากว่านวโลหะ เช่น พระกริ่งเจ้าคุณศรีฯ(สนธิ์),พระกริ่งชินบัญชร เป็นต้น พระเนื้อสัมฤทธิ์นี้เมื่อนานๆไปผิวพระจะหนาพอกพูนไปเรื่อยๆ ปรากฏอาการผุกร่อนเห็นได้ชัดเจนกว่าเนื้อนวโลหะ
2.3 ประแจจีน คือโลหะเนื้อสัมฤทธิ์อย่างอ่อน เนื้อในเป็นสีชมพู เพราะมีส่วนผสมของทองแดงมาก ผิวพระกลับจะหม่นเข้มน้อยๆ ตามผิวจะปรากฏพรายของโลหะต่างชนิดเป็นเหลือบประปราย เพราะเป็นโลหะผสมอย่างหนึ่งและเนื้อโลหะนี้เข้ากันไม่ค่อยสนิทดี เช่น พร

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...