Album: ห้อยพระถูกโฉลกโชคมหาศาล

เรื่องของการห้อยพระก็เคยเขียนไปแล้ว มาบบทนี้จะสรุปอีกครั้งให้ทราบแบบที่มาที่ไปเพื่อให้มีกำลังใจที่ดีและถูกต้องมากขึ้น สำหรับคนไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องมงคลเป็นอย่างยิ่ง เป็นการเข้าถึงพระพุทธเจ้าด้วยอุบายอันแยบยลของครูบาอาจารย์ แต่หลายคนคงยังสงสัยว่าจะเกิดมงคล เกิดโชคลาภได้อย่างไร และไม่เห็นจำเป็นต้องห้อยพระก็มีโชคลาภได้<br /> <br /> ซึ่งก็ต้องขอตอบว่าออกเป็น 2 ประเด็น<br /> <br /> ประเด็นที่หนึ่ง ในพระเครื่องของแต่ละองค์นั้นของครูบาอาจารย์นั้น เจตนาในการสร้างท่านถูกธรรม เพื่อนำคนให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า และปฏิบัติตนตามคำสอนของพระพุทธองค์ ถือว่าเป็นบุญกุศลใหญ่ ความมงคลนั้นเกิดขึ้นตั้งแต่เจตนาในการสร้าง<br /> <br /> ขั้นตอนในการสร้างก็ยังมีมงคลเพิ่มขึ้นอีก เพราะได้นำเอามวลสารต่างๆ ที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์และมีความเป็นมงคลมาปั้น มาหลอม มาหล่อหรือทำให้เกิดรูป<br /> <br /> สุดท้ายกว่าจะถึงมือผู้รับนั้น ครูบาอาจารย์ที่สร้างท่านจะทำการปลุกเสกด้วยพุทธมนต์ ที่ศักดิ์สิทธิ์รวมถึงมนต์คาถาที่เกิดมงคล ซึ่งอย่างต่ำนั้นน่าจะเป็น 108 จบขึ้นไป ยิ่งได้ครูบาอาจารย์ที่มีบุญมากเป็นผู้สวดแล้ว พระเครื่ององค์นั้นจะยิ่งมีความเป็นมงคลมากขึ้นอีกกี่เท่าขอให้ลองคิดดู ยิ่งสร้างพระเครื่องที่มีคติเด่นในการให้ลาภเช่น พระสิวลี พระสังกัจจายน์ พระอุปคุต คนที่ห่อยหรือห้อยนั้นยิ่งมีโชคลาภได้ง่าย<br /> <br /> <br /> <br /> ประเด็นที่สอง เรื่องไม่เห็นจำเป็นต้องห้อยพระก็มีโชคลาภได้ ซึ่งจริงเป็นอย่างยิ่งแต่จะจริงสำหรับท่านผู้ปฏิบัติธรรมชั้นสูงที่เข้าใจธรรมทั้งหมด แต่สำหรับท่านที่ยังคิดว่าตนเองนั้นยังไปไม่ถึงระดับนี้ ขอแนะนำว่าควรจะห้อยพระ เพื่อให้จิตใจแนบแน่นกับพระพุทะเจ้าจะเป็นการดีที่สุด<br /> <br /> เหมือนคนที่ร่างกายไม่แข็งแรงเท่าที่ควร เมื่อจะเดินขึ้นที่สูงเดินขึ้นบันได ต้องใช้ราวบันไดเป็นที่เกาะพยุงตัว แต่สำหรับท่านที่แข็งแรงหรือทราบว่าตนเองเป็นผู้ปฏิบัติชั้นสูงแล้ว ลึกซึ้งแนบแน่นในพระธรรมแล้ว ไม่ต้องมีพระ ไม่ต้องมีราวบันไดเกาะเลยก็ได้ หวังจะเข้าใจ และพิจารณาด้วยตนเองได้<br /> <br /> การห้อยพระนั้น เป็นการห้อยเพื่อเป็นพุทธานุสติ เพื่อระลึกถึงคำสอนของพระพุทธองค์ รวมถึงวัตรปฏิบัติที่ดีงามของครูบาอาจารย์ผู้เป็นเจ้าของหรือเป็นผู้สร้างพระเครื่องนั้นขึ้นมา ซึ่งหากมองกันให้ลึกซึ้งนั้น หลายท่านก็จะรู้เท่าทันถึงแห่งอนิจจังที่ซ่อนอยู่ว่า คนสร้างก็ตาย คนทำก็ตาย คนห้อยก็ต้องตาย แต่ความดี บุญกุศ

ห้อยพระถูกโฉลกโชคมหาศาล

อัปเดต 21 พฤศจิกายน 2012
There is no photo in this album yet.
auto1471
เรื่องของการห้อยพระก็เคยเขียนไปแล้ว มาบบทนี้จะสรุปอีกครั้งให้ทราบแบบที่มาที่ไปเพื่อให้มีกำลังใจที่ดีและถูกต้องมากขึ้น สำหรับคนไทยนั้นถือว่าเป็นเรื่องมงคลเป็นอย่างยิ่ง เป็นการเข้าถึงพระพุทธเจ้าด้วยอุบายอันแยบยลของครูบาอาจารย์ แต่หลายคนคงยังสงสัยว่าจะเกิดมงคล เกิดโชคลาภได้อย่างไร และไม่เห็นจำเป็นต้องห้อยพระก็มีโชคลาภได้

ซึ่งก็ต้องขอตอบว่าออกเป็น 2 ประเด็น

ประเด็นที่หนึ่ง ในพระเครื่องของแต่ละองค์นั้นของครูบาอาจารย์นั้น เจตนาในการสร้างท่านถูกธรรม เพื่อนำคนให้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า และปฏิบัติตนตามคำสอนของพระพุทธองค์ ถือว่าเป็นบุญกุศลใหญ่ ความมงคลนั้นเกิดขึ้นตั้งแต่เจตนาในการสร้าง

ขั้นตอนในการสร้างก็ยังมีมงคลเพิ่มขึ้นอีก เพราะได้นำเอามวลสารต่างๆ ที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์และมีความเป็นมงคลมาปั้น มาหลอม มาหล่อหรือทำให้เกิดรูป

สุดท้ายกว่าจะถึงมือผู้รับนั้น ครูบาอาจารย์ที่สร้างท่านจะทำการปลุกเสกด้วยพุทธมนต์ ที่ศักดิ์สิทธิ์รวมถึงมนต์คาถาที่เกิดมงคล ซึ่งอย่างต่ำนั้นน่าจะเป็น 108 จบขึ้นไป ยิ่งได้ครูบาอาจารย์ที่มีบุญมากเป็นผู้สวดแล้ว พระเครื่ององค์นั้นจะยิ่งมีความเป็นมงคลมากขึ้นอีกกี่เท่าขอให้ลองคิดดู ยิ่งสร้างพระเครื่องที่มีคติเด่นในการให้ลาภเช่น พระสิวลี พระสังกัจจายน์ พระอุปคุต คนที่ห่อยหรือห้อยนั้นยิ่งมีโชคลาภได้ง่าย



ประเด็นที่สอง เรื่องไม่เห็นจำเป็นต้องห้อยพระก็มีโชคลาภได้ ซึ่งจริงเป็นอย่างยิ่งแต่จะจริงสำหรับท่านผู้ปฏิบัติธรรมชั้นสูงที่เข้าใจธรรมทั้งหมด แต่สำหรับท่านที่ยังคิดว่าตนเองนั้นยังไปไม่ถึงระดับนี้ ขอแนะนำว่าควรจะห้อยพระ เพื่อให้จิตใจแนบแน่นกับพระพุทะเจ้าจะเป็นการดีที่สุด

เหมือนคนที่ร่างกายไม่แข็งแรงเท่าที่ควร เมื่อจะเดินขึ้นที่สูงเดินขึ้นบันได ต้องใช้ราวบันไดเป็นที่เกาะพยุงตัว แต่สำหรับท่านที่แข็งแรงหรือทราบว่าตนเองเป็นผู้ปฏิบัติชั้นสูงแล้ว ลึกซึ้งแนบแน่นในพระธรรมแล้ว ไม่ต้องมีพระ ไม่ต้องมีราวบันไดเกาะเลยก็ได้ หวังจะเข้าใจ และพิจารณาด้วยตนเองได้

การห้อยพระนั้น เป็นการห้อยเพื่อเป็นพุทธานุสติ เพื่อระลึกถึงคำสอนของพระพุทธองค์ รวมถึงวัตรปฏิบัติที่ดีงามของครูบาอาจารย์ผู้เป็นเจ้าของหรือเป็นผู้สร้างพระเครื่องนั้นขึ้นมา ซึ่งหากมองกันให้ลึกซึ้งนั้น หลายท่านก็จะรู้เท่าทันถึงแห่งอนิจจังที่ซ่อนอยู่ว่า คนสร้างก็ตาย คนทำก็ตาย คนห้อยก็ต้องตาย แต่ความดี บุญกุศ

จัดการ

แชร์หน้านี้

Loading...