อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์. พระบรมศาสดา และเหล่าผู้พระสาวก

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย NAMOBUDDHAYA, 11 ตุลาคม 2014.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    51745007_1931698016953344_8284244456530509824_n.jpg?_nc_cat=101&_nc_ht=scontent.fbkk5-6.jpg


    การกล่าวทุ่มเถียงแก่งแย่งกันไม่มีประโยชน์
    *************
    [๑๐๗๙] “ภิกษุทั้งหลาย แม้เธอทั้งหลายก็อย่ากล่าวทุ่มเถียงแก่งแย่งกันว่า

    ‘ท่านไม่รู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ แต่ผมรู้ทั่วถึง ท่านจักรู้ทั่วถึงธรรมวินัยนี้ได้อย่างไร ท่านปฏิบัติผิด แต่ผมปฏิบัติถูก คำพูดของผมมีประโยชน์ แต่คำพูดของท่านไม่มีประโยชน์ คำที่ควรพูดก่อน ท่านกลับพูดภายหลัง คำที่ควรพูดภายหลัง ท่านกลับพูดก่อน เรื่องที่ท่านเคยชินได้ผันแปรไปแล้ว ผมจับผิดคำพูดของท่านได้แล้ว ผมข่มท่านได้แล้ว ถ้าท่านมีความสามารถ ก็จงหาทางแก้คำพูดหรือเปลื้องตนให้พ้นผิดเถิด

    ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะการกล่าวเช่นนี้ไม่มีประโยชน์ ไม่ใช่จุดเริ่มต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย ไม่เป็นไปเพื่อคลายกำหนัด ไม่เป็นไปเพื่อดับ ไม่เป็นไปเพื่อ
    สงบระงับ ไม่เป็นไปเพื่อรู้ยิ่ง ไม่เป็นไปเพื่อตรัสรู้ ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน

    เธอทั้งหลายเมื่อจะกล่าวพึงกล่าวว่า ‘นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ
    นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา’ ฯลฯ

    เธอทั้งหลายพึงทำความเพียรว่า ...”
    ...........
    วิคคาหิกกถาสูตร สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
    พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=19&siri=389
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    สาเหตุของการกล่าวร้ายผู้อื่น
    ***************^
    (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้)
    [๘๙๒] เพราะเหตุไรหนอ สมณพราหมณ์จึงพูดสัจจะไปต่างๆ อ้างตนว่า เป็นคนฉลาดพูดพร่ำกันไป สัจจะที่สมณพราหมณ์เหล่านั้นเล่าเรียนมา มีหลายอย่างต่างๆ กันหรือ หรือว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้นพากันนึกตรึกเอาเอง

    (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้)
    [๘๙๓] มิได้มีสัจจะหลายอย่างต่างๆ กันเลย
    เว้นแต่สัจจะที่แน่นอนด้วยสัญญาในโลก
    แต่สมณพราหมณ์ทั้งหลาย
    พากันกำหนดความตรึกในทิฏฐิทั้งหลายไปเอง
    แล้วกล่าวธรรมเป็น ๒ อย่างว่า
    คำของเราจริง คำของท่านเท็จ
    [๘๙๔] เจ้าลัทธิอาศัยธรรมเหล่านี้ คือ
    รูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน ศีล วัตร และอารมณ์ที่รับรู้
    แล้วแสดงอาการดูหมิ่น และดำรงอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจ
    แล้วก็ร่าเริงกล่าวว่า คนอื่นเป็นคนพาล ไม่ฉลาด
    [๘๙๕] เจ้าลัทธิใส่ไฟบุคคลอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะเหตุใด
    ก็กล่าวถึงตนเองว่า เป็นคนฉลาด เพราะเหตุนั้น
    เจ้าลัทธินั้นอวดอ้างตนเองว่า เป็นคนฉลาด
    ย่อมดูหมิ่นบุคคลอื่นและกล่าวเช่นนั้นเหมือนกัน
    [๘๙๖] เจ้าลัทธินั้นเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยอติสารทิฏฐิ
    เมาด้วยความถือตัว มีความถือตัวจัด อภิเษกตนเองด้วยใจ
    เพราะทิฏฐินั้นเจ้าลัทธิถือกันมาอย่างนั้น
    [๘๙๗] อนึ่ง หากบุคคลเป็นผู้เลวทรามเพราะวาจาของผู้อื่นไซร้
    เขาก็เป็นผู้มีปัญญาทรามพร้อมกับผู้นั้น
    และถ้าผู้เรียนจบพระเวทเอง๑- เป็นนักปราชญ์ได้ไซร้
    บรรดาสมณะ ก็ไม่มีใครเป็นคนพาล
    [๘๙๘] ชนเหล่าใดกล่าวสรรเสริญธรรมอื่นนอกจากธรรมนี้
    ชนเหล่านั้นเป็นผู้พลาดทางแห่งความหมดจด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์
    เดียรถีย์พากันกล่าวทิฏฐิมากแม้อย่างนี้
    เพราะพวกเขาเป็นผู้ยินดียิ่งด้วยความยินดีในทิฏฐิของตน
    [๘๙๙] พวกเดียรถีย์พากันกล่าวความหมดจดว่ามีอยู่ในธรรมนี้เท่านั้น
    ไม่กล่าวความหมดจดในธรรมเหล่าอื่น
    พวกเดียรถีย์ตั้งอยู่ในทิฏฐิมากแม้อย่างนี้
    ต่างกล่าวยืนยันในธรรมอันเป็นแนวทางของตนนั้น
    [๙๐๐] อนึ่ง เจ้าลัทธิกล่าวยืนยันในแนวทางของตน
    ใส่ไฟใครอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะทิฏฐินี้
    เจ้าลัทธินั้น กล่าวถึงผู้อื่นว่า เป็นคนพาล
    มีความไม่หมดจดเป็นธรรมดา
    พึงนำความมุ่งร้ายมาเองทีเดียว
    [๙๐๑] เจ้าลัทธินั้นตั้งอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจและนับถือเองแล้ว
    ก็ถึงการวิวาทในกาลข้างหน้าในโลก
    คนที่เกิดมาละทิฏฐิที่ตกลงใจทั้งมวลได้
    ย่อมไม่ก่อการมุ่งร้ายในโลก
    ..............
    ข้อความบางตอนใน จูฬวิยูหสูตร ขุททกนิกาย สุตตนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=25&siri=277

    อรรถกถาจูฬวิยูหสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=419



    ********************************************************
    51515974_1931370046986141_5271523214206435328_n.jpg?_nc_cat=106&_nc_ht=scontent.fbkk5-8.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    GQyY7NyKV-1XqSW38pn1QkMl6qtkNc6DVinQVSL0CDcBwoeanJJ5hZOi1eRkKV95yg7UZWjA&_nc_ht=scontent.fbkk5-7.jpg





    พระธรรมคำสอน "สมเด็จองค์ปฐม"


    อย่าหงุดหงิดกับความเลวของบุคคลอื่น
    ให้เห็นเป็นปกติธรรมให้มาก ปล่อยวาง
    อย่าให้มีความเกาะติดความชั่วของบุคคลอื่น
    เรื่องรับรู้อย่างไรก็ต้องรับรู้ เพราะยังมีอายตนะ
    คืออายตนะไม่เสีย เพียงแต่ว่ารับรู้แล้ว
    ให้พิจารณาลงตัวธรรมดา จึงจักปล่อยวางได้
    อย่าไปมีหุ้นกับความเลวของบุคคลอื่น

    ธรรมที่นำไปสู่ความหลุดพ้น
    รวบรวมโดย พล.ต.ท.นพ.สมศักดิ์ สืบสงวน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กุมภาพันธ์ 2019
  4. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    aUc5oLlFuOVHhGZB_yigCRs3ereNS1Zexgw7tT8P_gegiPV8t-lVyNTfS7vU8PDPUpLW5GsQ&_nc_ht=scontent.fbkk5-7.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  5. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    52585192_130264181356969_2297293412954537984_n.jpg?_nc_cat=111&_nc_ht=scontent.fbkk5-3.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    52033885_248261896050029_8782753790089494528_n.jpg?_nc_cat=105&_nc_ht=scontent.fbkk5-3.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    52188039_2221423661430554_670653856165658624_n.jpg?_nc_cat=111&_nc_ht=scontent.fbkk5-3.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    52647464_1154264744733604_4109953681279942656_n.jpg?_nc_cat=102&_nc_ht=scontent.fbkk5-6.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=1c217424a4656260912af2fca5651e6d.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ?temp_hash=2d89374de19e7e904ec9270cf5be778e.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    49766542_1884052005051279_2677969936495673344_n-jpg-_nc_cat-102-_nc_ht-scontent-fbkk5-6-jpg.jpg
     
  12. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    สาเหตุของการกล่าวร้ายผู้อื่น

    ***************

    (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้)
    [๘๙๒] เพราะเหตุไรหนอ สมณพราหมณ์จึงพูดสัจจะไปต่างๆ อ้างตนว่า เป็นคนฉลาดพูดพร่ำกันไป สัจจะที่สมณพราหมณ์เหล่านั้นเล่าเรียนมา มีหลายอย่างต่างๆ กันหรือ หรือว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้นพากันนึกตรึกเอาเอง

    (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้)
    [๘๙๓] มิได้มีสัจจะหลายอย่างต่างๆ กันเลย
    เว้นแต่สัจจะที่แน่นอนด้วยสัญญาในโลก
    แต่สมณพราหมณ์ทั้งหลาย
    พากันกำหนดความตรึกในทิฏฐิทั้งหลายไปเอง
    แล้วกล่าวธรรมเป็น ๒ อย่างว่า
    คำของเราจริง คำของท่านเท็จ
    [๘๙๔] เจ้าลัทธิอาศัยธรรมเหล่านี้ คือ
    รูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน ศีล วัตร และอารมณ์ที่รับรู้
    แล้วแสดงอาการดูหมิ่น และดำรงอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจ
    แล้วก็ร่าเริงกล่าวว่า คนอื่นเป็นคนพาล ไม่ฉลาด
    [๘๙๕] เจ้าลัทธิใส่ไฟบุคคลอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะเหตุใด
    ก็กล่าวถึงตนเองว่า เป็นคนฉลาด เพราะเหตุนั้น
    เจ้าลัทธินั้นอวดอ้างตนเองว่า เป็นคนฉลาด
    ย่อมดูหมิ่นบุคคลอื่นและกล่าวเช่นนั้นเหมือนกัน
    [๘๙๖] เจ้าลัทธินั้นเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยอติสารทิฏฐิ
    เมาด้วยความถือตัว มีความถือตัวจัด อภิเษกตนเองด้วยใจ
    เพราะทิฏฐินั้นเจ้าลัทธิถือกันมาอย่างนั้น
    [๘๙๗] อนึ่ง หากบุคคลเป็นผู้เลวทรามเพราะวาจาของผู้อื่นไซร้
    เขาก็เป็นผู้มีปัญญาทรามพร้อมกับผู้นั้น
    และถ้าผู้เรียนจบพระเวทเอง๑- เป็นนักปราชญ์ได้ไซร้
    บรรดาสมณะ ก็ไม่มีใครเป็นคนพาล
    [๘๙๘] ชนเหล่าใดกล่าวสรรเสริญธรรมอื่นนอกจากธรรมนี้
    ชนเหล่านั้นเป็นผู้พลาดทางแห่งความหมดจด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์
    เดียรถีย์พากันกล่าวทิฏฐิมากแม้อย่างนี้
    เพราะพวกเขาเป็นผู้ยินดียิ่งด้วยความยินดีในทิฏฐิของตน
    [๘๙๙] พวกเดียรถีย์พากันกล่าวความหมดจดว่ามีอยู่ในธรรมนี้เท่านั้น
    ไม่กล่าวความหมดจดในธรรมเหล่าอื่น
    พวกเดียรถีย์ตั้งอยู่ในทิฏฐิมากแม้อย่างนี้
    ต่างกล่าวยืนยันในธรรมอันเป็นแนวทางของตนนั้น
    [๙๐๐] อนึ่ง เจ้าลัทธิกล่าวยืนยันในแนวทางของตน
    ใส่ไฟใครอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะทิฏฐินี้
    เจ้าลัทธินั้น กล่าวถึงผู้อื่นว่า เป็นคนพาล
    มีความไม่หมดจดเป็นธรรมดา
    พึงนำความมุ่งร้ายมาเองทีเดียว
    [๙๐๑] เจ้าลัทธินั้นตั้งอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจและนับถือเองแล้ว
    ก็ถึงการวิวาทในกาลข้างหน้าในโลก
    คนที่เกิดมาละทิฏฐิที่ตกลงใจทั้งมวลได้
    ย่อมไม่ก่อการมุ่งร้ายในโลก
    ..............
    ข้อความบางตอนใน จูฬวิยูหสูตร ขุททกนิกาย สุตตนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=25&siri=277

    อรรถกถาจูฬวิยูหสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=419
     
  13. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ชาวพุทธที่ไม่เคารพยำเกรงในสมาธิ คือผู้ทำลายพระพุทธศาสนา
    .................
    สัทธัมมัปปฏิรูปกสูตร ว่าด้วยสัทธรรมปฏิรูป พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

    ฉบับมหาจุฬา ฯ (ภาษาไทย) http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=151

    ฉบับสยามรัฐ (ภาษาบาลี) http://www.84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=16&A=5317

    อรรถกถา ฉบับมหามกุฏ ฯ (ภาษาไทย) http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=16&i=531



    53336659_1958631864259959_7314678065022369792_n.jpg?_nc_cat=102&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg 53336659_1958631864259959_7314678065022369792_n.jpg?_nc_cat=102&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  14. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ชาวพุทธที่่เคารพยำเกรงในสมาธิ คือผู้ทำให้พระพุทธศาสนาตั้งมั่น
    .................
    สัทธัมมัปปฏิรูปกสูตร ว่าด้วยสัทธรรมปฏิรูป พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค

    ฉบับมหาจุฬา ฯ (ภาษาไทย)http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=16&siri=151

    ฉบับสยามรัฐ (ภาษาบาลี) http://www.84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=16&A=5317

    อรรถกถา ฉบับมหามกุฏ ฯ (ภาษาไทย)http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=16&i=531



    53055671_1958636180926194_8553032254467604480_n.jpg?_nc_cat=103&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  15. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    ศีล สมาธิ ปัญญา หรือ ปัญญา ศีล สมาธิ
    ................................
    [๔๖๒] “แม่เจ้าขอรับ อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นอย่างไร”
    “ท่านวิสาขะ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้ คือ
    ๑. สัมมาทิฏฐิ ๒. สัมมาสังกัปปะ
    ๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากัมมันตะ
    ๕. สัมมาอาชีวะ ๖. สัมมาวายามะ
    ๗. สัมมาสติ ๘. สัมมาสมาธิ”
    “อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นสังขตธรรม หรือเป็นอสังขตธรรม”
    “อริยมรรคมีองค์ ๘ เป็นสังขตธรรม”
    “พระผู้มีพระภาคทรงจัดขันธ์ ๓ ประการ เข้าในอริยมรรคมีองค์ ๘ หรือว่า
    ทรงจัดอริยมรรคมีองค์ ๘ เข้าในขันธ์ ๓ ประการ”
    “พระผู้มีพระภาคไม่ทรงจัดขันธ์ ๓ ประการ เข้าในอริยมรรคมีองค์ ๘ แต่
    ทรงจัดอริยมรรคมีองค์ ๘ เข้าในขันธ์ ๓ ประการ คือ
    ๑. สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ และสัมมาอาชีวะ ทรงจัดเข้าในสีลขันธ์
    ๒. สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ ทรงจัดเข้าในสมาธิขันธ์
    ๓. สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ ทรงจัดเข้าในปัญญาขันธ์”
    …………..

    ข้อความบางตอนใน จูฬเวทัลลสูตร มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=12&siri=44

    อรรถกถาจูฬเวทัลลสูตร อธิบายว่า
    ในคำว่า "ก็แลคุณวิสาขะ หนทางประกอบด้วยองค์ ๘ อันประเสริฐ ท่านจัดรวมเข้าไว้ด้วยขันธ์ ๓" นี้มีคำอธิบายว่า เพราะทางมีประเทศ ขันธ์ทั้ง ๓ (กองศีล กองสมาธิ กองปัญญา) ไม่มีประเทศ ฉะนั้นท่านจึงเอาทางนี้มารวมเข้าด้วยขันธ์ ๓ ที่ไม่มีประเทศ เหมือนเอากรุงมารวมเข้ากับราชย์ เพราะความที่ทางมีประเทศ.
    ในองค์มรรคเหล่านั้น องค์มรรค ๓ มีการพูดจาถูกต้องเป็นต้น เป็นศีลแท้ ฉะนั้นจึงยกเอาองค์มรรคเหล่านั้นมารวมเข้ากับกองศีล เพราะมีชาติเสมอกัน.
    ถึงแม้ในบาลี ท่านยกเอามาแสดงทำเหมือนสัตตมีวิภัติว่า "ในกองศีล" ดังนี้ก็จริง ถึงดังนั้น ก็พึงทราบใจความด้วยอำนาจตติยาวิภัติ.
    ส่วนสมาธิในองค์มรรคอีก ๓ มีความพยายามชอบเป็นต้นโดยธรรมดาของตนแล้ว ย่อมไม่สามารถจะแนบแน่นได้ เพราะเป็นภาวะที่เลิศเดี่ยวในอารมณ์ แต่เมื่อความเพียรกำลังทำหน้าที่ประคับประคองให้สำเร็จ ความระลึกก็กำลังทำหน้าที่เคล้าคลึงให้สำเร็จอยู่ สมาธิกลายเป็นธรรมชาติที่ได้อุปการะ จึงจะสามารถให้แนบแน่นได้.
    ในเรื่ององค์มรรคนั้น มีคำเปรียบเทียบดังต่อไปนี้ :-
    เหมือนอย่างว่า ในสามเกลอที่ชวนกันเข้าไปสู่อุทยานด้วยตั้งใจว่า "พวกเราจะเล่นงานนักษัตรฤกษ์ (งานประจำปี) คนหนึ่งพบต้นจัมปาดอกบานดี ยกมือขึ้นไปก็ไม่อาจเก็บได้. ทีนั้น คนที่สองจึงก้มหลังให้เขา แม้เขาได้ยืนบนหลังของคนที่สองนั้น ก็ยังเด็ดไม่ได้. ทีนั้น อีกคนหนึ่ง ก็ยื่นจะงอยบ่าให้เขา. เมื่อเขาได้ยืนบนหลังของคนหนึ่งแล้วเหนี่ยวจะงอยบ่าของอีกคนหนึ่ง จึงเก็บเอาดอกไม้มาประดับตามชอบใจแล้วเล่นงานนักขัตฤกษ์ฉันใด.
    พึงเห็นคำที่นำมาเปรียบนี้ฉันนั้น คือ ธรรมทั้งสามมีความพยายามชอบเป็นต้นซึ่งเกิดร่วมกัน เหมือนสามเกลอที่เข้าสวนด้วยกัน, อารมณ์เหมือนต้นจัมปาดอกบานสะพรั่ง. สมาธิที่ไม่สามารถจะถึงฌานได้เพราะเป็นภาวะที่เด่นเดี่ยวในอารมณ์โดยลำพังตนเอง เหมือนคนที่ถึงแม้จะได้ยกมือขึ้นแล้วก็ยังไม่อาจเก็บได้. ความพยายามชอบเหมือนเกลอที่น้อมหลังให้. ความระลึกเหมือนเกลอที่ยืนให้จับจะงอยบ่า. สมาธิที่เมื่อวิริยะกำลังทำหน้าที่ประคับประคองให้สำเร็จ (และ) สติก็กำลังทำหน้าที่คลึงเคล้าให้สำเร็จอยู่อย่างนี้ ได้อุปการะแล้ว ก็ย่อมอาจบรรลุฌานได้ เพราะความเป็นภาวะที่โดดเด่นในอารมณ์ เหมือนคนนอกนี้ที่ยืนบนหลังของคนหนึ่งในสามคนนั้น และจับจะงอยบ่าของอีกคนหนึ่ง จึงสามารถเด็ดดอกไม้ได้ตามพอใจฉันใด ก็ฉันนั้น. เพราะฉะนั้น ท่านจึงเอาสมาธิมารวมเข้ากับกองสมาธิตามกำเนิดของตน. ส่วนความพยายามชอบและความระลึกชอบ ท่านก็เอามารวมเข้ากับกิริยา.
    แม้ปัญญาในความเห็นชอบและความดำริชอบ ก็ไม่สามารถตัดสินอารมณ์ว่า "ไม่เที่ยง ไม่ทนทาน ไม่ใช่ตัวตน" ตามลำพังตนเองได้. แต่เมื่อวิตก อาโกฏเฏตฺวา ค่อยๆ ทุบแล้วทะยอยส่งให้ก็สามารถ อย่างไร?
    เหมือนอย่างว่า เจ้าหน้าที่การเงินเอาเหรียญกษาปณ์มาวางบนมือ แม้อยากจะสำรวจดูทุกส่วน ก็ไม่สามารถจะพลิกด้วยสายตาได้เลย ต่อเมื่อใช้ข้อนิ้วมือพลิกแล้วจึงจะสามารถสำรวจดูได้ทุกด้านฉันใด, ปัญญาก็ฉันนั้นเหมือนกัน ไม่สามารถชี้ขาดอารมณ์ด้วยอำนาจแห่งความไม่เที่ยงเป็นต้นตามลำพังของตนเองได้ แต่จะสามารถชี้ขาดแต่อารมณ์ที่วิตกซึ่งมีความยกขึ้นเป็นลักษณะมีความจดจ่อและจอดจับเป็นหน้าที่ เหมือนกำลังจับทุบ และกำลังจับพลิกแล้วส่งมาให้เท่านั้น.
    เพราะฉะนั้น ท่านจึงจัดเอาแต่สัมมาทิฏฐิเท่านั้นมารวมไว้กับกองปัญญา เพราะมีกำเนิดเท่ากัน แม้ในที่นี้. ส่วนสัมมาสังกัปปะก็ถูกจับมารวมเข้าเพราะการกระทำ.
    มรรคย่อมถึงซึ่งการรวมเข้ากับของทั้งสามนี้ด้วยประการฉะนี้.
    เพราะเหตุนั้น นางธรรมทินนาจึงได้กล่าวว่า "คุณวิสาขะ ก็แล ทางอันมีองค์แปดอันประเสริฐ ท่านสงเคราะห์ด้วยขันธ์ทั้ง ๓" ดังนี้.
    ………….
    ข้อความบางตอนในอรรถกถาจูฬเวทัลลสูตรhttp://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=12&i=505


    52696060_1957098197746659_3791768304830382080_n.jpg?_nc_cat=101&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg












    ความคิดเห็น 3 รายการ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    53137519_1158683070958438_1453290192776462336_n.jpg?_nc_cat=102&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  17. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเรื่องนี้ว่า


    “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ขวนขวายในอธิจิต ควรมนสิการถึงนิมิต ๕ ประการนี้ ตามเวลาอันสมควร นิมิต ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ

    ๑. เมื่อภิกษุในธรรมวินัยนี้อาศัยนิมิตใดแล้ว มนสิการนิมิตใดอยู่ วิตกทั้งหลายอันเป็นบาปอกุศล ซึ่งประกอบด้วยฉันทะบ้าง ประกอบด้วยโทสะบ้าง ประกอบด้วยโมหะบ้าง ย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนั้นควรมนสิการนิมิตอื่นซึ่งประกอบด้วยกุศลนอกจากนิมิตนั้น เมื่อเธอมนสิการนิมิตอื่นซึ่งประกอบด้วยกุศลนอกจากนิมิตนั้น เธอย่อมละวิตกอันเป็นบาปอกุศล ซึ่งประกอบด้วยฉันทะบ้าง ประกอบด้วยโทสะบ้าง ประกอบด้วยโมหะบ้างได้ วิตกอันเป็นบาปอกุศลเหล่านั้นย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ เพราะละวิตกอันเป็นบาปอกุศลเหล่านั้นได้ จิตย่อมตั้งมั่น สงบ เป็นภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น มีสมาธิในภายในโดยแท้ ช่างไม้หรือลูกมือของช่างไม้ ผู้ชำนาญ ใช้ลิ่มอันเล็ก ตอก
    โยก ถอนลิ่มอันใหญ่ออกได้ แม้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่ออาศัยนิมิตใดแล้ว มนสิการนิมิตใด วิตกทั้งหลายอันเป็นบาปอกุศล ซึ่งประกอบด้วยฉันทะบ้าง ประกอบด้วยโทสะบ้าง ประกอบด้วยโมหะบ้าง ย่อมเกิดขึ้น ภิกษุนั้นควรมนสิการนิมิตอื่น
    ซึ่งประกอบด้วยกุศลนอกจากนิมิตนั้น เมื่อเธอมนสิการนิมิตอื่น
    ซึ่งประกอบด้วยกุศลนอกจากนิมิตนั้น เธอย่อมละวิตกอันเป็นบาปอกุศล ซึ่งประกอบด้วยฉันทะบ้าง ประกอบด้วยโทสะบ้าง ประกอบด้วยโมหะบ้างได้ วิตกอันเป็นบาปอกุศลเหล่านั้น ย่อม
    ตั้งอยู่ไม่ได้ เพราะละวิตกอันเป็นบาปอกุศลเหล่านั้นได้ จิตย่อมตั้งมั่น สงบ เป็นภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น มีสมาธิในภายในโดยแท้
    ...........
    ข้อความบางตอนในวิตักกสัณฐานสูตร มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒
    http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=12&siri=20
     
  18. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    53204943_1159317020895043_3436933280954318848_n.jpg?_nc_cat=106&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  19. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    “นตฺถิ ฌานํ อปญฺญสฺส
    นตฺถิ ปญฺญา อฌายิโน
    ยมฺหิ ฌานญฺจ ปญฺญาจ นิพฺพานสฺ เสว สนฺติเก

    ฌานย่อมไม่มีในผู้ที่ไม่มีปัญญา
    ปัญญาย่อมไม่มีในผู้ที่ไม่มีฌาน
    ผู้ที่มีทั้งฌานและปัญญา จึงจะอยู่ใกล้พระนิพพาน.”
     
  20. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,080
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,002
    ค่าพลัง:
    +69,969
    คำว่า ฌานย่อมไม่มีในผู้ที่ไม่มีปัญญา สื่อถึง สัมมาสมาธิของพระอริยะ(โลกุตรฌาน) ต้องมีปัญญาในอริยมรรค(อันได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และ สัมมาสังกัปปะ)เป็นเหตุ เป็นองค์ประกอบนำหน้า ดังเช่น ในมหาจัตตารีสกสูตร ที่กล่าวว่า

    [๒๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาองค์ทั้ง ๗ นั้น สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธาน ก็สัมมาทิฐิย่อมเป็นประธานอย่างไร คือ

    เมื่อมีสัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจาจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาวาจา สัมมาอาชีวะจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาวายามะ สัมมาสติจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาสติ สัมมาสมาธิจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะจึงพอเหมาะได้
    เมื่อมีสัมมาญาณะ สัมมาวิมุตติจึงพอเหมาะได้

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการนี้แล พระเสขะผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ จึงเป็นพระอรหันต์ประกอบด้วยองค์ ๑๐ ฯ


    นอกจากนี้ ยังมีพระพุทธพจน์ที่ตรัสถึงว่า สมถะที่พระพุทธองค์ทรงสอนไว้ นั้น...ต้องเจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง

    [๒๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ธรรมที่ควรให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่งเป็นไฉน?
    คือ สมถะและ วิปัสสนา
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้ควรให้เจริญด้วยปัญญาอันยิ่ง.

    พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ สุตตันตปิฎกที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค

    (ปล... ปัญญาอันยิ่ง คือ อธิปัญญา ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ และ สัมมาสังกัปปะ)



    ส่วนคำว่า ปัญญาย่อมไม่มีในผู้ที่ไม่มีฌาน สื่อถึง ปัญญาที่เป็นอริยผล(สัมมาญาฌะ) ที่สืบเนื่องไปจากสัมมาสมาธิของพระอริยะ(โลกุตรฌาน) นั่นเอง



    อนึ่ง ใน อริยมรรคที่มีองค์แปด
    สรุป เข้าสู่ ไตรสิกขา ได้ดังนี้

    1.อธิปัญญาสิกขา(ปัญญา) ได้แก่ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ

    2.อธิศีลสิกขา(ศีล) ได้แก่ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ

    3.อธิจิตตสิกขา(สมาธิ) ได้แก่ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ




    พึงสังเกตุ... สัมมาสติ ก็คือ หลักธรรมที่เรียกว่า สติปัฏฐาน(อ่านรายละเอียด จาก พุทธธรรม) ก็เป็นองค์มรรคที่ถูกจัดไว้ในหมวดสมาธิ เช่นเดียว กันกับ สัมมาสมาธิ เสียด้วยซ้ำ.

    และ สัมมาสติ นี่เองที่คือ ตัวตัดสินว่า ฌานจิตที่บังเกิดขึ้นนั้นจัดเป็น มิจฉาสมาธิ(ขาดสัมมาสติ) หรือ สัมมาสมาธิ(มีสัมมาสติ)

    หรือ อาจจะกล่าวให้กระชับได้ว่า สมาธิ ที่บังเกิดขึ้นในการเจริญภาวนาตามหลักการแห่งสติปัฏฐาน ย่อมนำไปสู่สัมมาสมาธิ ในที่สุด
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...