ท่านใดมีสงสัยใดๆ ในศาสนา(พุทธธรรม,อริยสัจ๔) ถามมา?

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย aero1, 30 กรกฎาคม 2008.

  1. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    ขออภัยท่าน แอ๊บแบ๊ว พอดีติดงานด่วน วันเสาร์-อาทิตย์ จะมาตอบให้ครับ

    ท่านNeung 48 แค่คำถามแรกก็คลุมคำสอนทั้งหมดแล้วครับ[FONT=&quot].[/FONT]



    <TABLE class=MsoNormalTable style="MARGIN-LEFT: 6.75pt; MARGIN-RIGHT: 6.75pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 16.9pt"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: windowtext 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot] [/FONT][FONT=&quot]หน้าที <O></O>อริยสัจ| [/FONT]

    [FONT=&quot][/FONT]

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" noWrap width=172>[FONT=&quot]รู้สมรภูมิ[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" noWrap width=102>[FONT=&quot]กิจ(งาน)[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]




    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" noWrap width=102>[FONT=&quot]ที่สุด[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]





    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]ทุกข์[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=172>[FONT=&quot]อาการ ๑๒ ย่อเหลือ ยึดขันธ์ ๕[/FONT]<O></O>






    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]เพียงแต่รู้[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้แล้ว/ถูกจุดแล้ว[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]เหตุแห่งทุกข์[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=172>[FONT=&quot]ตัณหา ๓[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]





    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]ฆ่ามัน[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้ว่าฆ่าแล้ว[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]ความดับทุกข์[/FONT]


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=172>[FONT=&quot]ดับ[/FONT][FONT=&quot] <O></O>[/FONT]





    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]ทำให้แจ้ง[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้ว่าแจ้งแล้ว[/FONT]<O></O>



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 13.5pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]ทางแห่งการดับทุกข์<O></O>[/FONT]


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=172>[FONT=&quot]มรรค ๘[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]





    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]เติมเต็ม/เจริญ/ทำ[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้ว่าอยู่ในทาง[/FONT]<O></O>



    </TD></TR></TBODY></TABLE>
















    [FONT=&quot].[/FONT]
    [FONT=&quot].[/FONT]
    [FONT=&quot].[/FONT]
    [FONT=&quot].[/FONT]
    [FONT=&quot].[/FONT]
    [FONT=&quot].[/FONT]

    [FONT=&quot]ประเภทของ[/FONT][FONT=&quot]ทุกข์ [/FONT][FONT=&quot]แบ่งตามลักษณะการใช้ ตรัสสอนในที่ต่างๆ มี ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือ[/FONT]
    [FONT=&quot][FONT=&quot]ก.[/FONT]ทุกข์[FONT=&quot] ๑๐ ประเภท คือ[/FONT]
    ๑. สภาวทุกข์ หรือทุกข์ประจำสังขาร ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ
    ๒. ปกิณณกทุกข์ หรือทุกข์จร ได้แก่ โทมนัส( ทุกข์ใจ) อุปายาส(ความห่วงหาอาลัย)
    ๓. นิพัทธทุกข์ คือทุกข์เนืองนิตย์ ได้แก่ หนาว ร้อน หิว กระหาย ฯลฯ
    ๔. พยาธิทุกข์ คือทุกข์เกิดจากการเจ็บไข้ได้ป่วย ถูก ศรัตราวุธ
    ๕. สันตาปทุกข์ คือทุกข์เกิดจากความร้อนรุ่มเพราะอำนาจของราคะ โทสะ โมหะ
    ๖. วิปากทุกข์ คือทุกข์เกิดขึ้นเพราะผลกรรมตามสนอง
    ๗. สหคตทุกข์ คือทุกข์ที่เกิดจากโลกธรรม ๘
    ๘. อาหารปริเยฏฐิทุกข์ คือทุกข์เกิดขึ้นเพราะต้องการแสวงอาหาร
    ๙. วิวาทมูลกทุกข์ คือทุกข์ที่เกิดจากการทะเลาะวิวาทเป็นสาเหตุ
    ๑๐. ทุกขขันธ์ คืออุปาทานขันธ์ เป็นทุกข์ บางทีเรียกว่า " ทุกข์รวบยอด"
    [FONT=&quot]ข.[/FONT]ทุกข์[FONT=&quot] ๑๒ ประเภท[/FONT]
    ๑. ชาติทุกข์ สัตว์ที่เกิดมาเป็นทุกข์
    ๒. ชราทุกข์ อินทรีย์ที่คร่ำคร่าเป็นทุกข์
    ๓. พยาธิทุกข์ ความเจ็บป่วยเป็นทุกข์
    ๔. มรณทุกข์ ความตายเป็นทุกข์
    ๕. โสกทุกข์ ความพลุ่งพล่านในใจเป็นทุกข์
    ๖. ปริเทวทุกข์ ความร่ำไห้คร่ำครวญเป็นทุกข์
    ๗. ทุกขทุกข์ ร่างกายนี้เป็นทุกข์
    ๘. โทมนัสทุกข์ ความทุกข์ใจเป็นทุกข์
    ๙. อุปายาสทุกข์ ความห่วงหาอาลัยเป็นทุกข์
    ๑๐. อัปปิเยหิ วิปปโยคทุกข์ ความตรอมใจเป็นทุกข์ (ความประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก)
    ๑๑. ปิเยหิ วิปปโยคทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักเป็นทุกข์
    ๑๒. ยัมปิฉัง น ลภติ ทุกข์ ความวุ่นงายไม่ได้สิ่งที่ปรารถนาเป็นทุกข์ <O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สรุป[/FONT][FONT=&quot]ตัวทุกข์ที่แท้จริงนั้นเกิดมาจากอุปทานคือการยึดมั่นถือมั่นในตัวตน[/FONT][FONT=&quot] อันประกอบขึ้นจากขันธ์ ๕ (เบญจขันธ์) อันได้แก่ รูปและนาม คือตัวทุกข์ที่แท้จริง การยึดมั่นในขันธ์ ๕ที่เรียกว่า " อุปทานขันธ์ " หมายถึงการยึดมั่นใน ๑.รูป ๒.เวทนา ๓.สัญญา ๔.สังขาร ๕. วิญญาณ ว่าเป็นตัวตน<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ข้อสังเกต[/FONT][FONT=&quot] ในทุกข์นั้นบุคคลส่วนใหญ่จะเข้าไปคลุกในทุกข์ กล่าวคือดิ้นรนหาทางออกจากทุกข์ จึงทำให้สร้างทุกข์มากขึ้นไปอีกหลายเท่า ขึ้นอยู่กับ ยึดมั่นในตัวตน[/FONT][FONT=&quot]([/FONT][FONT=&quot]อุปทานขันธ์)[/FONT][FONT=&quot] ตัวของตัว มากน้อยแตกต่างกัน ในขณะที่วิสัยพุทธะ หรือวิสัยผู้รู้ตามสภาพความเป็นจริงนั้นจะไม่เข้าไปคลุกในทุกข์ เพราะเหตุ รู้ตามสภาพความเป็นจริงว่า ไม่ใช่บุคคลเรา เขา เป็นแต่เพียง สภาพของ ผลแห่งกรรม เย็นร้อนอ่อน แข็ง ตึง ไหว ในคำสอนพุทธองค์ทรงให้กำหนดรู้อันเป็นกิจในอริสัจ คือ อยู่กับ กายและใจ นั้นเอง เมื่อทำ[/FONT][FONT=&quot]ต่อเนื่องจดจ่อพร้อมกับมรรค๘[/FONT][FONT=&quot] แล้วนั้น อนิจจัง,ทุกขัง,อนัตตา ก็จะแสดงตนเพราะ ตัวที่บังลักษณะไตรลักษณ์ หมดอำนาจ คือ[/FONT][FONT=&quot]<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]1.ความสืบต่อ(สันตติ) ปิดบัง อนิจจตา หมายถึงลักษณะความไม่เที่ยงตั้งอยู่ไม่ได้ ในความเป็นจริงแล้วทุกสรรพสิ่งมีการเกิดดับอยู่ตลอดเวลาด้วยความเร็วมหาศาล เกิดดับ ๆ [/FONT][FONT=&quot]เปรียบดั่ง[/FONT][FONT=&quot] หลอดไฟฟลูอเรสเซนท์ นั้นกระพริบอยู่ตลอดแต่เรามองเห็นว่ามันเปิดโดยไม่กระพริบ ซึ่งในการศึกษาพุทธธรรมนั้น เราน้อมเข้ามาหาตนเป็นสมรภูมิ คือที่ที่พิจารณาเท่านั้น คือศึกษาเข้าหาภายใน กายและ/หรือใจ ด้วยวิธีรู้เท่านั้น คือเป็นการ รู้อยู่ สักว่ารู้อย่างเดียวไม่ไปก้าวก่ายในทุกข์ เมื่อเราไม่ไปสาลาวนหรือคลุก กับทุกข์ จึงจะมีหนทางที่จะเห็นทุกข์ในอริยสัจ และก้าวต่อไปโดยสงบเพื่อเห็นรากของทุกข์ (สมุทัย) เพื่อไป ดำเนินการกำจัดในขั้นนั้นโดยวิธีอันแยบคาย คือ [/FONT][FONT=&quot]การประหารตัณหาอย่างเมตตากรุณา[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งจะกล่าวต่อไปในสรุปและข้อสังเกตตัณหา<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]2.อิริยาบถ ปิดบัง ทุกขตา หมายถึง ลักษณะความทนได้ยากโดยทั่วไปตามธรรมชาติของบุคคลนั้นเมื่อเกิดทุกข์ก็จะแก้ด้วยวิธีเปลี่ยนอิริยาบถทางกาย๑ หรือทางใจ๑ ทางกายเมื่อทุกข์ ก็เปลี่ยนท่า ยืน เดิน นั่ง นอน อยู่อย่างนี้ตลอด ทางใจก็เปลี่ยนงานเช่น ทุกข์ใจก็ฟังเพลง คุยคลายทุกข์จึงเป็นเหตุให้ไม่รู้เห็นทุกข์ตามสภาพความเป็นจริง ด้วยอำนาจของตัณหา แท้ที่จริงแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ขณะพิจารณาในจุดละเอียด[/FONT] [FONT=&quot](ไม่พึงพิจารณาตั้งแต่เพิ่งเริ่มต้นกำหนด )[/FONT][FONT=&quot]ของอาการทุกข์นั้นไม่ควรเปลี่ยนอิริยาบถ[/FONT][FONT=&quot] เพราะนั้นคือสมรภูมิที่ทุกข์จะแสดงให้เห็น ความไม่เที่ยง คือตัวทุกข์เองก็มีสภาพ[/FONT][FONT=&quot]ไม่เที่ยงตั้งอยู่ไม่ได้ และความทนได้ยากในตัวทุกข์เองอยู่ กล่าวคือ [/FONT][FONT=&quot]1.ทุกข์กายกำหนดรู้กาย/เวทนา 2.ทุกข์ใจกำหนดรู้[/FONT][FONT=&quot]สัณฐานของใจ[/FONT][FONT=&quot]ว่ามีลักษณะอย่างไรรู้จิต/ธรรมในใจ[/FONT][FONT=&quot] เมื่อทำ[/FONT][FONT=&quot]ต่อเนื่องจดจ่อพร้อมกับมรรค๘[/FONT][FONT=&quot] แล้วนั้น ธรรมชาติจะแสดงตัวเป็นบทเรียนให้เห็นถึงสภาพ อนิจจตา(ความไม่เที่ยงตั้งอยู่ไม่ได้) ทุกขตา(ความทนได้ยาก)อนัตตตา(ความไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน)เพราะเหตุจากทุกข์นี่เองจึงจัดว่า มนุษย์สมบัตินั้นเหมาะสมที่สุดในการที่จะ เห็นธรรม <O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]3.[/FONT][FONT=&quot]กลุ่มก้อน[/FONT] [FONT=&quot]ฆานะ ปิดบัง อนัตตา [/FONT][FONT=&quot]หมายถึง[/FONT][FONT=&quot]ลักษณะความไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน [/FONT][FONT=&quot]เป็นแต่เพียง เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึงไหว [FONT=&quot]จากบทเรียนที่ผ่านมาจะทำให้บุคคลสามารถรู้ได้ว่า ไม่ใช้ตัวตนแต่เพียงเป็นสภาวะ เกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไป จึงไม่ไปยึดมั่นใน ขันธ์๕ ว่าเป็นตัวตน[/FONT][FONT=&quot]บุคคล เราเขา[/FONT][FONT=&quot]โดยลักษณะอาการนี้จะแสดงชัดขึ้นๆ ในลำดับแห่งภูมิธรรม[/FONT][FONT=&quot]<O>:p></O>:p>[/FONT][/FONT]
    [FONT=&quot]ประเภทของ[/FONT][FONT=&quot]ตัณหา[/FONT][FONT=&quot]<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]๑[/FONT][FONT=&quot]. กามตัณหา[/FONT][FONT=&quot] คือ ความทะยานอยากได้ของตัณหา[/FONT][FONT=&quot] 6 ประการ[/FONT][FONT=&quot] คือ ทาง ประสาททั้ง 6 ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่จำเป็นต้องเกี่ยวกับเรื่องทางเพศเท่านั้น[/FONT][FONT=&quot] <O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]๒[/FONT][FONT=&quot]. ภวตัณหา[/FONT][FONT=&quot] คือ ความทะยานอยากเป็น อยากมี หรืออยากให้อยู่ [/FONT][FONT=&quot]<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]๓. วิภวตัณหา[/FONT][FONT=&quot] คือ ความทะยานอยากไม่ให้เป็น ไม่ให้อยู่ หรือให้พ้นไป อยากในไม่อยาก สรุปก็คือ อยาก<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]ตัณหาทั้ง ประการนี้ไม่ได้เกิดตามลำพังแต่เกิดต่อเนื่องกัน เช่น กามตัณหา คือ อยากได้ เมื่อได้มาแล้วก็เป็นภวตัณหา คือ อยากให้อยู่ตลอดไป แต่เมื่อเบื่อก็เกิดวิภวตัณหา คืออยากให้พ้นไปจากตน จึงรวมเรียกว่า ตัณหา ๓[/FONT][FONT=&quot] และที่เกิดภายนอก/ภายใน รวมทั้งที่ เกิดใน กาลเวลาทั้ง ๓ อดีต ปัจจุบัน อนาคต รวมเป็นตัณหา ๑๐๘ (๓ X ๖ X ๒ X ๓ = ๑๐๘) <O></O>[/FONT]


    [FONT=&quot]ที่มาภาพจาก [/FONT][FONT=&quot]: www.nkgen.com<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]สรุปตัณหาและข้อสังเกต[/FONT][FONT=&quot] การที่จะฆ่าตัณหานั้นพุทธองค์มีวิธีการโดยการสาวหาเหตุที่พิจารณาจากวงจรการเกิดทุกข์(ปฏิจสมุปบาท) ดังภาพ การเกิดทุกข์นั้นเกิดจากอาการสืบต่อไม่มีต้นไม่มีปลายของสาย เป็นวงจร มีสิ่งนี้จึงมีสิ่งนี้ก็ให้เกิดสิ่งนั้นไปเป็นวง ดังภาพ จากที่กล่าวในเบื้องต้นว่าพุทธวิธีการฆ่าตัณหา[FONT=&quot]การประหารตัณหาอย่างเมตตากรุณา[/FONT]นั้นคือ ทรงใช้วิธีแห่งนักรบเป็นยุทธศาสตร์ ที่ทรงแตกฉานคือการรบที่ไม่เสียเลือดเนื้อหรือเสียน้อยสุด คือพิจารณาจุดอ่อนคู่ต่อสู้และตีกองเสบียง โดยให้ตัวตัณหานั้นขาดเหตุปัจจัยในการเกิด โดยทรงพิจารณามีจุดอ่อนอยู่ที่รอยต่อของวงจร คือรอยต่อของ สฬายตนะ สู่ผัสสะ สู่ เวทนา สุดท้ายก่อนที่เวทนาจะแปลค่าเป็นตัณหา เพราะฉะนั้นการละทุกข์จึงไม่ใช่การประหารทุกข์โดยตรง แต่หากเป็นการ ประหารตัว ตัณหา ดังกล่าว ด้วยวิธีการ[FONT=&quot]ต่อเนื่องจดจ่อพร้อมในมรรค๘[/FONT] คือ๑.สำรวมระวังกายใจ ๒.มีจิตตั้งมั่นจดจ่อเป็นหนึ่งในกรรมฐาน และ๓.เข้าใจธรรมตามความเป็นจริงว่าไม่ใช่ตัวตน บุคคล เราเขา เป็นแต่เพียง เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ตึงไหว กล่าวคือ ศีล สมาธิ ปัญญา นั้นเอง<O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]<O>:p> </O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]มรรค คือ[/FONT][FONT=&quot] ทางแห่งการดับทุกข์ วิถีทางปฏิบัติให้พ้นทุกข์ คือนิพพาน ซึ่งมีอยู่ทางเดียวคือ มรรคมีองค์แปด ไม่มีทางอื่นมากกว่านี้ได้แก่[/FONT][FONT=&quot] <O>:p></O>:p>[/FONT]
    [FONT=&quot]๑[/FONT][FONT=&quot]- สัมมาทิฐิ ปัญญาอันเห็นชอบ [/FONT][FONT=&quot]เห็นอริยสัจ ๔[/FONT][FONT=&quot] รู้ธรรมได้ตามสภาพเป็นจริง[/FONT]
    [FONT=&quot]๒- สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ [/FONT][FONT=&quot]คิดจะออกจากกาม คิดออกจากอาฆาตพยาบาท คิดออกจากการเบียดเบียน[/FONT]
    [FONT=&quot]๓- สัมมาวาจา วาจาชอบ [/FONT][FONT=&quot]ไม่พูดโกหก ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดคำส่อเสียด ไม่พูดเพ้อเจ้อ เหลวไหล[/FONT]
    [FONT=&quot]๔- สัมมากัมมันโต การงานชอบ [/FONT][FONT=&quot]เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม[/FONT]
    [FONT=&quot]๕- สัมมาอาชีโว การเลี้ยงชีวิตชอบ [/FONT][FONT=&quot]หากินโดยไม่ผิดกฎหมาย ไม่ผิดศีล ไม่ผิดธรรม ไม่ผิดประเพณี[/FONT]
    [FONT=&quot]๖- สัมมาวายาโม ความเพียรชอบ [/FONT][FONT=&quot]เพียรละอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว [/FONT][FONT=&quot]เพียรไม่ให้อกุศลเกิด[/FONT][FONT=&quot] เพียรผลิตกุสล เพียรรักษากุศล[/FONT]
    [FONT=&quot]๗[/FONT][FONT=&quot]- สัมมาสะติ การระลึกชอบ [/FONT][FONT=&quot]ระลึกนึกถึงคุณ อนุสติ ๑๐ ประการ มีพระนิพพานเป็นที่สุด และระลึกในมหาสติปัฏฐาน ๔[/FONT]
    [FONT=&quot]๘- สัมมาสมาธิ ฯ การตั้งจิตไว้ชอบ [/FONT][FONT=&quot]ฌาน ๑ [/FONT][FONT=&quot]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ตุลาคม 2008
  2. แอ๊บแบ้ว

    แอ๊บแบ้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,335
    ค่าพลัง:
    +2,544
    ในบทสวดธรรมจักร
    "อริยสัจสี่มีปริวัฏสามมีอาการสิบสอง"
    คือ(หมายถึง)อะไร?
    มีลัษณะอย่างไร?
    มีอาการอย่างไร?
    โปรดแจกแจงและอุปมาอุปไมยให้เข้าใจด้วย?
    ........................................ _/|\_ เจริญธรรมครับ .............................
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 กรกฎาคม 2008
  3. เดินทาง

    เดินทาง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    225
    ค่าพลัง:
    +38
    [​IMG]


    คือตอนเย็นวันหนึ่งผมไปเที่ยวในสวนสาธารณะ เดินไปเห็นดอกบัวเข้า

    ก็เลยคิดสงสัยว่า ทำไมต้องเป็นดอกบัวครับ?

    เกี่ยวกับความศัทธาและเรื่องต่างๆอีกมากมาย

    ทำไมดอกบัวถูกอ้างอิงและเป็นตัวแทนอีกหลายๆอย่าง

    ขอประวัติเกี่ยวกับดอกบัวหน่อยครับ ตั้งแต่สมัยพุทธกาลหรือก่อนพุทธกาลก็ได้ครับ(จะลึกซึ้งหรือเป็นความคิดเห็นก็ได้ครับ)

    ใครตอบก็ได้ครับ อนุโมทนาสาธุครับ



    ดอกบัวน้อย งามชดช้อย สวยน่ารัก
    ขาวประจักษ์ งามดุจใจ ที่ใสสวย
    บานเหนือน้ำ รับแสงแดด แผดแสงอวย
    กลิ่นหอมช่วย ให้สดชื่น รื่นรมย์ใจ

    ..ยามราตรี ก็หรี่หรุบ หุบกลีบหลับ
    รู้ระงับ ดับจบ หลบหวั่นไหว
    พอยามเช้า รู้ตื่นบาน หวานละไม
    อย่างแจ่มใส ไร้ราคี คลี่ดอกงาม...

    ..ขอใจเรา จงเป็น เช่นบัวน้อย
    ที่รู้ลอย อยู่เพื่อ เหนือสิ่งขาม
    กระแสร้าย มิกล้ำกราย มารอนลาม
    รู้ตื่นตาม ทำหน้าที่ ที่บัว.ควร...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 กรกฎาคม 2008
  4. แอ๊บแบ้ว

    แอ๊บแบ้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,335
    ค่าพลัง:
    +2,544
    [​IMG]
    [SIZE=+1]มุตโตทัย[/SIZE]
    บันทึกโดยพระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร ( ปัจจุบันพระราชธรรมเจติยาจารย์ วัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ ) ณ วัดป่าบ้านนามน กิ่ง อ. โคกศรีสุพรรณ จ.สกลนคร พ.ศ. ๒๔๘๖
    ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อธรรมดังต่อไปนี้
    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cols=1 cellPadding=0 width="80%" border=0><TBODY><TR><TD>๑. การปฏิบัติ เป็นเครื่องยังพระสัทธรรมให้บริสุทธิ์
    ๒. การฝึกตนดีแล้วจึงฝึกผู้อื่น ชื่อว่าทำตามพระพุทธเจ้า
    ๒. การฝึกตนดีแล้วจึงฝึกผู้อื่น ชื่อว่าทำตามพระพุทธเจ้า
    ๔. มูลฐานสำหรับทำการปฏิบัติ
    ๕. มูลเหตุแห่งสิ่งทั้งหลายในสากลโลกธาตุ
    ๖. มูลการของสังสารวัฏฏ์
    ๗. อรรคฐาน เป็นที่ตั้งแห่งมรรคนิพพาน
    ๘. สติปัฏฐาน เป็น ชัยภูมิ คือสนามฝึกฝนตน
    ๙. อุบายแห่งวิปัสสนา อันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส
    ๑๐. จิตเดิมเป็นธรรมชาติใสสว่าง แต่มืดมัวไปเพราะอุปกิเลส
    ๑๑. การทรมานตนของผู้บำเพ็ญเพียร ต้องให้พอเหมาะกับอุปนิสัย
    ๑๒. มูลติกสูตร
    ๑๓. วิสุทธิเทวาเท่านั้นเป็นสันตบุคคลแท้
    ๑๔. อกิริยาเป็นที่สุดในโลก - สุดสมมติบัญญัต
    ๑๕. สัตตาวาส ๙
    ๑๖. ความสำคัญของปฐมเทศนา มัชฌิมเทศนา และปัจฉิมเทศนา
    ๑๗. พระอรหันต์ทุกประเภทบรรลุทั้งเจโตวิมุตติ ทั้งปัญญาวิมุตติ</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    ๙. อุบายแห่งวิปัสสนา อันเป็นเครื่องถ่ายถอนกิเลส
    ธรรมชาติของดีทั้งหลาย ย่อมเกิดมาแต่ของไม่ดี อุปมาดั่งดอกปทุมชาติอันสวยๆ งามๆ ก็เกิดขึ้นมาจากโคลนตมอันเป็นของสกปรก ปฏิกูลน่าเกลียด แต่ว่าดอกบัวนั้น เมื่อขึ้นพ้นโคลนตมแล้วย่อมเป็นสิ่งที่สะอาด เป็นที่ทัดทรงของพระราชา อุปราช อำมาตย์ และเสนาบดี เป็นต้น และดอกบัวนั้นก็มิได้กลับคืนไปยังโคลนตมนั้นอีกเลย ข้อนี้เปรียบเหมือนพระโยคาวจรเจ้า ผู้ประพฤติพากเพียรประโยคพยายาม ย่อมพิจารณาซึ่ง สิ่งสกปรกน่าเกลียดนั้นก็คือตัวเรานี้เอง ร่างกายนี้เป็นที่ประชุมแห่งของโสโครกคือ อุจจาระ ปัสสาวะ (มูตรคูถ) ทั้งปวง สิ่งที่ออกจากผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เป็นต้น ก็เรียกว่า ขี้ ทั้งหมด เช่น ขี้หัว ขี้เล็บ ขี้ฟัน ขี้ไคล เป็นต้น เมื่อสิ่งเหล่านี้ร่วงหล่นลงสู่อาหาร มีแกงกับ เป็นต้น ก็รังเกียจ ต้องเททิ้ง กินไม่ได้ และร่างกายนี้ต้องชำระอยู่เสมอจึงพอเป็นของดูได้ ถ้าหาไม่ก็จะมีกลิ่นเหม็นสาป เข้าใกล้ใครก็ไม่ได้ ของทั้งปวงมีผ้าแพรเครื่องใช้ต่างๆ เมื่ออยู่นอกกายของเราก็เป็นของสะอาดน่าดู แต่เมื่อมาถึงกายนี้แล้วก็กลายเป็นของสกปรกไป เมื่อปล่อยไว้นานๆ เข้าไม่ซักฟอกก็จะเข้าใกล้ใครไม่ได้เลย เพราะเหม็นสาบ ดั่งนี้จึงได้ความว่าร่างกายของเรานี้เป็นเรือนมูตร เรือนคูถ เป็นอสุภะ ของไม่งาม ปฏิกูลน่าเกลียด เมื่อยังมีชีวิตอยู่ก็เป็นถึงปานนี้ เมื่อชีวิตหาไม่แล้ว ยิ่งจะสกปรกหาอะไรเปรียบเทียบมิได้เลย เพราะฉะนั้นพระโยคาวจรเจ้าทั้งหลายจึงพิจารณาร่างกายอันนี้ให้ชำนิชำนาญด้วย โยนิโสมนสิการ ตั้งแต่ต้นมาทีเดียว คือขณะเมื่อยังเห็นไม่ทันชัดเจนก็พิจารณาส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งกายอันเป็นที่สบายแก่จริตจนกระทั่งปรากฏเป็นอุคคหนิมิต คือ ปรากฏส่วนแห่งร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งแล้วก็กำหนดส่วนนั้นให้มาก เจริญให้มาก ทำให้มาก การเจริญทำให้มากนั้นพึงทราบอย่างนี้ อันชาวนาเขาทำนาเขาก็ทำที่แผ่นดิน ไถที่แผ่นดินดำลงไปในดิน ปีต่อไปเขาก็ทำที่ดินอีกเช่นเคย เข้าไม่ได้ทำในอากาศกลางหาว คงทำแต่ที่ดินอย่างเดียว ข้าวเขาก็ได้เต็มยุ้งเต็มฉางเอง เมื่อทำให้มากในที่ดินนั้นแล้ว ไม่ต้องร้องเรียกว่า ข้าวเอ๋ยข้าว จงมาเต็มยุ้งเน้อ ข้าวก็จะหลั่งไหลมาเอง และจะห้ามว่า เข้าเอ๋ยข้าว จงอย่ามาเต็มยุ้งเต็มฉางเราเน้อ ถ้าทำนาในที่ดินนั้นเองจนสำเร็จแล้ว ข้าวก็มาเต็มยุ้งเต็มฉางเอง ฉันใดก็ดีพระโยคาวจรเจ้าก็ฉันนั้น จงพิจารณากายในที่เคยพิจารณาอันถูกนิสัยหรือที่ปรากฏมาให้เห็นครั้งแรก อย่าละทิ้งเลยเป็นอันขาด การทำให้มากนั้นมิใช่หมายแต่การเดินจงกรมเท่านั้น ให้มีสติหรือพิจารณาในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ คิด พูด ก็ให้มีสติรอบคอบในกายอยู่เสมอจึงจะชื่อว่า ทำให้มาก เมื่อพิจารณาในร่างกายนั้นจนชัดเจนแล้ว ให้พิจารณาแบ่งส่วนแยกส่วนออกเป็นส่วนๆ ตามโยนิโสมนสิการตลอดจนกระจายออกเป็นธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม และพิจารณาให้เห็นไปตามนั้นจริงๆ อุบายตอนนี้ตามแต่ตนจะใคร่ครวญออกอุบายตามที่ถูกจริตนิสัยของตน แต่อย่าละทิ้งหลักเดิมที่ตนได้รู้ครั้งแรกนั่นเทียว
    พระโยคาวจรเจ้าเมื่อพิจารณาในที่นี้ พึงเจริญให้มาก ทำให้มาก อย่าพิจารณาครั้งเดียวแล้วปล่อยทิ้งตั้งครึ่งเดือน ตั้งเดือน ให้พิจารณาก้าวเข้าไป ถอยออกมาเป็น อนุโลม ปฏิโลม คือเข้าไปสงบในจิต แล้วถอยออกมาพิจารณากาย อย่างพิจารณากายอย่างเดียว หรือสงบที่จิตแต่อย่างเดียว พระโยคาวจรเจ้าพิจารณาอย่างนี้ชำนาญแล้ว หรือชำนาญอย่างยิ่งแล้ว คราวนี้แลเป็นส่วนที่จะเป็นเอง คือ จิต ย่อมจะรวมใหญ่ เมื่อรวมพึ่บลง ย่อมปรากฏว่าทุกสิ่งรวมลงเป็นอันเดียวกันคือหมดทั้งโลกย่อมเป็นธาตุทั้งสิ้น นิมิตจะปรากฏขึ้นพร้อมกันว่าโลกนี้ราบเหมือนหน้ากลอง เพราะมีสภาพเป็นอันเดียวกัน ไม่ว่า ป่าไม้ ภูเขา มนุษย์ สัตว์ แม้ที่สุดตัวของเราก็ต้องลบราบเป็นที่สุดอย่างเดียวกันพร้อมกับ ญาณสัมปยุตต์ คือรู้ขึ้นมาพร้อมกัน ในที่นี้ตัดความสนเท่ห์ในใจได้เลย จึงชื่อว่า ยถาภูตญาณทัสสนวิปัสสนา คือทั้งเห็นทั้งรู้ตามความเป็นจริง
    ขั้นนี้เป็นเบื้องต้นในอันที่จะดำเนินต่อไป ไม่ใช่ที่สุดอันพระโยคาวจรเจ้าจะพึงเจริญให้มาก ทำให้มาก จึงจะเป็นเพื่อความรู้ยิ่งอีกจนรอบ จนชำนาญเห็นแจ้งชัดว่า สังขารความปรุงแต่งอันเป็นความสมมติว่าโน่นเป็นของของเรา โน่นเป็นเรา เป็นความไม่เที่ยงอาศัยอุปาทานความยึดถือจึงเป็นทุกข์ ก็แลธาตุทั้งหลาย เขาหากมีหากเป็นอยู่อย่างนี้ตั้งแต่ไหนแต่ไรมา เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเสื่อมไปอยู่อย่างนี้มาก่อน เราเกิดตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ก็เป็นอยู่อย่างนี้ อาศัยอาการของจิต ของขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณไปปรุงแต่งสำคัญมั่นหมายทุกภพทุกชาติ นับเป็นอเนกชาติเหลือประมาณมาจนถึงปัจจุบันชาติ จึงทำให้จิตหลงอยู่ตามสมมติ ไม่ใช่สมมติมาติดเอาเรา เพราะธรรมชาติทั้งหลายทั้งหมดในโลกนี้ จะเป็นของมีวิญญาณหรือไม่ก็ตาม เมื่อว่าตามความจริงแล้ว เขาหากมีหากเป็น เกิดขึ้นเสื่อมไป มีอยู่อย่างนั้นทีเดียว โดยไม่ต้องสงสัยเลยจึงรู้ขึ้นว่า ปุพฺเพสุ อนนุสฺสุเตสุ ธมฺเมสุ ธรรมดาเหล่านี้ หากมีมาแต่ก่อน ถึงว่าจะไม่ได้ยินได้ฟังมาจากใครก็มีอยู่อย่างนั้นทีเดียว ฉะนั้นในความข้อนี้ พระพุทธเจ้าจึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่า เราไม่ได้ฟังมาแต่ใคร มิได้เรียนมาแต่ใครเพราะของเหล่านี้มีอยู่ มีมาแต่ก่อนพระองค์ดังนี้ ได้ความว่าธรรมดาธาตุทั้งหลายย่อมเป็นย่อมมีอยู่อย่างนั้น อาศัยอาการของจิตเข้าไปยึดถือเอาสิ่งทั้งปวงเหล่านั้นมาหลายภพหลายชาติ จึงเป็นเหตุให้อนุสัยครอบงำจิตจนหลงเชื่อไปตาม จึงเป็นเหตุให้ก่อภพก่อชาติด้วยอาการของจิตเข้าไปยึด ฉะนั้นพระโยคาวจรเจ้ามาพิจารณา โดยแยบคายลงไปตามสภาพว่า สพฺเพ สฺงขารา อนิจฺจา สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารความเข้าไปปรุงแต่ง คือ อาการของจิตนั่นแลไม่เที่ยง สัตว์โลกเขาเที่ยง คือมีอยู่เป็นอยู่อย่างนั้น ให้พิจารณาโดย อริยสัจจธรรมทั้ง ๔ เป็นเครื่องแก้อาการของจิตให้เห็นแน่แท้โดย ปัจจักขสิทธิ ว่า ตัวอาการของจิตนี้เองมันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ จึงหลงตามสังขาร เมื่อเห็นจริงลงไปแล้วก็เป็นเครื่องแก้อาการของจิต จึงปรากฏขึ้นว่า สงฺขารา สสฺสตา นตฺถิ สังขารทั้งหลายที่เที่ยงแท้ไม่มี สังขารเป็นอาการของจิตต่างหาก เปรียบเหมือนพยับแดด ส่วนสัตว์เขาก็อยู่ประจำโลกแต่ไหนแต่ไรมา เมื่อรู้โดยเงื่อน ๒ ประการ คือรู้ว่า สัตว์ก็มีอยู่อย่างนั้น สังขารก็เป็นอาการของจิต เข้าไปสมมติเขาเท่านั้น ฐีติภูตํ จิตตั้งอยู่เดิมไม่มีอาการเป็นผู้หลุดพ้น ได้ความว่า ธรรมดาหรือธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตน จะใช่ตนอย่างไร ของเขาหากเกิดมีอย่างนั้น ท่านจึงว่า สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไม่ใช่ตน ให้พระโยคาวจรเจ้าพึงพิจารณาให้เห็นแจ้งประจักษ์ตามนี้จนทำให้จิตรวมพึ่บลงไป ให้เห็นจริงแจ้งชัดตามนั้น โดย ปัจจักขสิทธิ พร้อมกับ ญาณสัมปยุตต์ รวมทวนกระแสแก้อนุสัยสมมติเป็นวิมุตติ หรือรวมลงฐีติจิต อันเป็นอยู่มีอยู่อย่างนั้นจนแจ้งประจักษ์ในที่นั้นด้วยญาณสัมปยุตต์ว่า ขีณา ชาติ ญาณํ โหติ ดังนี้ ในที่นี้ไม่ใช่สมมติไม่ใช่ของแต่งเอาเดาเอา ไม่ใช่ของอันบุคคลพึงปรารถนาเอาได้ เป็นของที่เกิดเอง เป็นเอง รู้เอง โดยส่วนเดียวเท่านั้น เพราะด้วยการปฏิบัติอันเข้มแข็งไม่ท้อถอย พิจารณาโดยแยบคายด้วยตนเอง จึงจะเป็นขึ้นมาเอง ท่านเปรียบเหมือนต้นไม้ต่างๆ มีต้นข้าวเป็นต้น เมื่อบำรุงรักษาต้นมันให้ดีแล้ว ผลคือรวงข้าวไม่ใช่สิ่งอันบุคคลพึงปรารถนาเอาเลย เป็นขึ้นมาเอง ถ้าแลบุคคลมาปรารถนาเอาแต่รวงข้าว แต่หาได้รักษาต้นข้าวไม่ เป็นผู้เกียจคร้าน จะปรารถนาจนวันตาย รวงข้าวก็จะไม่มีขึ้นมาให้ฉันใด วิมฺตติธรรม ก็ฉันนั้นนั่นแล มิใช่สิ่งอันบุคคลจะพึงปรารถนาเอาได้ คนผู้ปรารถนาวิมุตติธรรมแต่ปฏิบัติไม่ถูกต้องหรือไม่ปฏิบัติมัวเกียจคร้านจนวันตายจะประสบวิมุตติธรรมไม่ได้เลย ด้วยประการฉะนี้
    อ่านต่อ http://www.luangpumun.org/muttothai_main.html
     
  5. neung48

    neung48 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    466
    ค่าพลัง:
    +457
    โห พอมีกระทู้ล่อเป้ามาถามกันใหญ่เลย เหอๆ ถามมั่งจิ ว่าจาถามไปเพื่ออารายหรอ มานช่วยให้ชีวิตดีขึ้นหมดทุก๘หมดโศกรไหมเนี่ยคำถามเนี้ย
     
  6. แอ๊บแบ้ว

    แอ๊บแบ้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,335
    ค่าพลัง:
    +2,544
    เพื่อเป็นเครื่องรู้ของปัญญา.....เพื่อเจริญปัญญา.....หมดทุกข์หมดโศก...ก็เพราะปัญญานี่แหละท่าน.....
    ..........................................................................
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 สิงหาคม 2008
  7. เดินทาง

    เดินทาง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    225
    ค่าพลัง:
    +38
    ขอบคุณ คุณแอ๊บแบ๊วครับ นำLinkบทความดีๆมาให้อ่าน
    ผมเพิ่งหันมาสนใจธรรมะเมื่อไม่นานมานี้เองครับ ยังต้องศึกษาปฏิบัติอีกเยอะเลยครับ
    ดอกบัวสัมผัสแล้วร่มเย็นดีครับ;aa22
     
  8. แอ๊บแบ้ว

    แอ๊บแบ้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,335
    ค่าพลัง:
    +2,544
    ชื่อกลอน เจริญธรรมนำปัญญา
    ..........................................................................................
    เจริญธรรมนำปัญญาโน้มนำมาพัฒนาตน
    รื้อภพพ้นชาติอันอับจนตั้งใจสนให้พ้นภัย
    เจริญธรรมแล้วโน้มออกตนใครเล่าเข้ามาสน
    หากตนมิพึ่งตนแล้วใครเล่าจะพึ่งได้ล่ะท่านเอย
    .................................................................................
    _/|\_ อนุโมทนา ^_^
    <!-- / message --><!-- edit note -->
    <!-- / edit note -->
    <!-- / message -->
     
  9. ป.วิเศษ

    ป.วิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    329
    ค่าพลัง:
    +411
    ลายมือของผู้ที่เป็นพุทธภูมิ (ที่ลาพุทธภูมิไม่ได้) จะเป็นรูปดอกบัว
    ส่วนเท้า ลายจะเป็นธรรมจักร ค่ะ
     
  10. แอ๊บแบ้ว

    แอ๊บแบ้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    1,335
    ค่าพลัง:
    +2,544
    <TABLE class=MsoNormalTable style="MARGIN-LEFT: 6.75pt; MARGIN-RIGHT: 6.75pt; BORDER-COLLAPSE: collapse" cellSpacing=0 cellPadding=0 align=left border=0><TBODY><TR style="HEIGHT: 16.9pt"><TD style="BORDER-RIGHT: windowtext 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: windowtext 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: windowtext 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: windowtext 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]อริยสัจ[/FONT]
    [FONT=&quot]หน้าที่[/FONT][FONT=&quot] <O></O>[/FONT]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" noWrap width=172>
    [FONT=&quot]รู้สมรภูมิ[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" noWrap width=102>
    [FONT=&quot]กิจ(งาน)[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]


    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: 1.5pt solid; PADDING-LEFT: 5.4pt; BACKGROUND: rgb(204,255,255); PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 16.9pt; moz-background-clip: -moz-initial; moz-background-origin: -moz-initial; moz-background-inline-policy: -moz-initial" noWrap width=102>
    [FONT=&quot]ที่สุด[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]



    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]ทุกข์[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=172>
    [FONT=&quot]อาการ ๑๒ ย่อเหลือ ยึดขันธ์ ๕[/FONT]<O></O>



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]เพียงแต่รู้[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้แล้ว/ถูกจุดแล้ว[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]เหตุแห่งทุกข์[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=172>
    [FONT=&quot]ตัณหา ๓[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]​



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]ฆ่ามัน[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้ว่าฆ่าแล้ว[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 12.75pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]ความดับทุกข์[/FONT]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=172>
    [FONT=&quot]ดับ[/FONT][FONT=&quot] <O></O>[/FONT]



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]ทำให้แจ้ง[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1pt solid; HEIGHT: 12.75pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้ว่าแจ้งแล้ว[/FONT]<O></O>

    </TD></TR><TR style="HEIGHT: 13.5pt"><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1.5pt solid; WIDTH: 97pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=129>[FONT=&quot]ทางแห่งการดับทุกข์<O></O>[/FONT]
    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 128.75pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=172>
    [FONT=&quot]มรรค ๘[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]​



    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 76.65pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]เติมเต็ม/เจริญ/ทำ[/FONT][FONT=&quot]<O></O>[/FONT]

    </TD><TD style="BORDER-RIGHT: 1.5pt solid; PADDING-RIGHT: 5.4pt; BORDER-TOP: medium none; PADDING-LEFT: 5.4pt; PADDING-BOTTOM: 0cm; BORDER-LEFT: 1pt solid; WIDTH: 76.35pt; PADDING-TOP: 0cm; BORDER-BOTTOM: 1.5pt solid; HEIGHT: 13.5pt" vAlign=bottom noWrap width=102>[FONT=&quot]รู้ว่าอยู่ในทาง[/FONT]<O></O>

    </TD></TR></TBODY></TABLE>[FONT=&quot]<O></O>[/FONT]


















    ในบทสวดธรรมจักร
    "อริยสัจสี่มีปริวัฏสามมีอาการสิบสอง"

    คือ(หมายถึง)อะไร?
    รู้สมรภูมิ
    มีลัษณะอย่างไร?
    กิจ(งาน)[FONT=&quot]<O></O>[/FONT]
    มีอาการอย่างไร?
    ที่สุด
    ........................................................................
    .อริยสัจ (ข้อมูลตามตาราง)
    [FONT=&quot]รู้หน้าที่ [/FONT][FONT=&quot] +[/FONT][FONT=&quot]รู้สมรภูมิ +รู้[/FONT]กิจ(งาน)+รู้ที่สุด = ทรงพิจารณา ๓ รอบ
    จึงเป็นอาการ รวม =๔x๓ = ๑๒ อาการ ใช่หรือไม่ครับ ?
    .มีLinkอ้างอิงของข้อมูลที่ท่านนำมาพอให้สืบหาอ่านเพิ่มเติมไหมครับ?
    .............................................................................
    ขอขอบพระคุณครับที่กรุณาหาข้อมูลมาบอกครับ....
    กระผมสวดธรรมจักรแปลเกิดสงสัยขึ้นอ่ะครับ .......พอดีท่านเปิดโอกาสให้ถามก็เลยถามไป...อนุโมทนาครับ ......
    ............................................................................
     
  11. เดินทาง

    เดินทาง Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    225
    ค่าพลัง:
    +38
    [​IMG]
    ธรรมจักร เป็นสัญลักษณ์ที่มาจากพระปฐมเทศนาของพระพุทธเจ้า ที่มีชื่อว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร นั่นเอง ที่ได้รับการขนานนามอย่างนี้ ก็เนื่องด้วย พระปฐมเทศนานี้ เปรียบประดุจธรรมราชรถ ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงปรารถนาจะใช้บรรทุกสรรพเวไนยสัตว์ทั้งหลาย ออกจาก ห้วงวัฎฎสงสาร ไปสู่แดนเกษม คือ พระอมตนิพพาน โดยมีพระพุทธเจ้าทรงเป็นสารถีเอง

    ส่วนประกอบที่ทำให้รถสามารถแล่นไปสู่ที่หมายได้ ก็คือ ล้อรถ หรือ จักร นั่นเอง ดังนั้นล้อแห่งธรรมราชรถ จึงได้ชื่อว่า จักรธรรม หรือ ธรรมจักร นั่นเอง ธรรมจักรนี้ ย่อมประกอบไปด้วย ส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ ดุม กำ และ กง
    http://www.palungjit.org/buddhism/gallery/showphoto.php?photo=2590&cat=all&si=ธั


    [​IMG]
    ธรรมจักร :กงล้อแห่งธรรม อ่านบทความ
    http://kaawrowkaw.wordpress.com/2006/12/31/ธรรมจักร-กงล้อแห่งธรรม/


    [​IMG]
    รอยพระบาทที่จารึก อ่านบทความ
    http://kaawrowkaw.wordpress.com/2007/07/01/keeree14/


    [​IMG]
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]
    [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]ภาพการประกาศธรรมจักร หรือธัมมจักกัปปวัตตนะ อ่านบทความ
    http://www.buddhadasa.org/html/life-work/theatre/sculpture/sculpture42.html
     
  12. Gatz

    Gatz สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +5
    ไม่แน่ใจถามเรื่องนี้ได้ไหมค่ะ

    ทำไมการนั่งสมาธิจึงต้องขวาทับซ้ายทั้งมือและเท้าค่ะ เป็นซ้ายทับไม่ได้หรอค่ะ มันมีความหมายอย่างไรค่ะ
    * *

    ขอบคุณค่ะ
     
  13. aero1

    aero1 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    91
    ค่าพลัง:
    +54
    ตามแบบ ท่าน กล่าวแต่เพียง "นั่งคู่บัลลังก์" น่าจะเข้าใจกันโดยทั่วของคนในสมัยพุทธกาล และช่วยให้เลือดลมเดินสะดวก เป็นท่าที่ปกติดีและทุกขเวทนาน้อยสุดเมื่อต้องการ เข้าฌานหรือ นั่งนานๆ แต่บางท่านก็ใช้ขัดสมาธิเพชรเพื่อให้เห็นทุกข์ชัดและเร็วขึ้น คือบางท่านนั่ง 3-5 ชั่วโมง เวทนาก็ไม่เห็นเนื่องจากข้ามเวทนา3-5ชั่วโมงไปแล้วเป็นต้น จึงต้องมีอุบายเร่งทุกข์โดยใช้ท่าสมาธิเพชร ครับ ส่วน ทำไมต้องข้างขวาอยู่บนทั้งมือและบริเวณขา ตรงนี้ตามความเห็นส่วนตัวนั้น <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->"มหาบุรุษ ลักษณะ ๓๒ ประการ"และอนุพยัญชนะ 80 ประการของพระองค์ข้อหนึ่งคือ<o:p></o:p>
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CUser%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->"ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน"

    ฉะนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า การที่โบราณาจารย์ ท่านให้ใช้ขวาทับซ้ายนั้นมีต้นแบบจากพระพุทธองค์นั้นเอง คือเมื่อ ถอนจากสมาธิ จะค่อยๆ ออก จากอารมณ์นั้นๆ อวัยวะแรกที่ ขยับ คือมือหรือแขนขวานั้นเอง จะเห็นได้จาก พระพุทธรูปปาง มารวิชัย หรือ ปางชนะมาร ที่พระหัตถ์ขวาวางบนพระเพลา

    จึงตอบได้ว่า เป็นลักษณะของ มหาบุรุษ คือมี ขวานำ

    ถามว่า มือซ้ายทับได้ไหม ตอบว่า ถ้ามีเหตุไม่สามารถทำได้ ด้านกาย หรือใจ ก็ ไม่ใช่ปัญหา ครับ

     
  14. Gatz

    Gatz สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +5
    ขอบคุณนะค่ะ
    ^^
     
  15. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    อืม ข้อมูลน่าอ่าน น่าศึกษาครับ
    น่าดัน ขึ้นมา ให้อ่านกัน
     
  16. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ผมขอตอบ ด้วยความเข้าใจส่วนตัวนะครับ

    ปริวัตรสาม คือ ไตรลักษณะ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
    มีอาการสิบสอง คือ ปริวัตร 3 ของ กาย เวทนา จิต ธรรม ของ 4 ฐาน

    แต่ละฐานล้วน เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป 3 ลักษณะ...ทั้งหมดมี 4 ฐาน จึง ครบ 12 อาการพอดี
     
  17. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ฮิ้ววว..สบายใจ เจอมนุสสเปโต อีกคนละ

    มากดไม่เห็นด้วย ..ขอเหตุผลหน่อยสิ ท่านมนุสสเปโตทอนเงิน
     
  18. วรณ์นิ

    วรณ์นิ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2016
    โพสต์:
    6,084
    ค่าพลัง:
    +3,025
    ดูๆอีกที ก็คล้ายๆ พระโพธิสัตว์สเปโต..นะ
     
  19. เส้นทางยาวไกล

    เส้นทางยาวไกล Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2018
    โพสต์:
    92
    ค่าพลัง:
    +206
    ปริวัฏฏ์ ๓ อาการ ๑๒ เข้าใจว่า คือ การรู้แจ้งในอริยสัจจ์ ๔ แต่ละข้อโดยญาณ ๓
    ไก้แก่ สัจจญาณ กิจจญาณ และกตญาณ รวมเป็นอาการ ๑๒ ครับ
    ผู้ที่จะอธิบายได้เข้าใจกระจ่างน่าจะเป็น
    พระอริยบุคคล ผมไม่มีปัญญาพอหรอกครับ
     
  20. ธรรม-ชาติ

    ธรรม-ชาติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    2,571
    ค่าพลัง:
    +9,966
    +++ อริยสัจ 4 X 3 ไตรลักษณ์ = อาการ 12

    +++ ทุกข์ ปรากฏขึ้น = รู้อยู่ (สัจจญาณ)/ ทำอยู่ (กิจจญาณ)/ พ้นอยู่ (กตญาณ)
    +++ สมุทัย ปรากฏขึ้น = รู้อยู่ (สัจจญาณ)/ ทำอยู่ (กิจจญาณ)/ พ้นอยู่ (กตญาณ)
    +++ นิโรธ ปรากฏขึ้น = รู้อยู่ (สัจจญาณ)/ ทำอยู่ (กิจจญาณ)/ พ้นอยู่ (กตญาณ)
    +++ มรรค ปรากฏขึ้น = รู้อยู่ (สัจจญาณ)/ ทำอยู่ (กิจจญาณ)/ พ้นอยู่ (กตญาณ)

    +++ สติบริสุทธิ์ (สภาวะรู้) เป็นอิสระ ด้วยตัวมันเองเท่านั้น จึงรู้อาการ "ไตรลักษณ์ ของ อริยสัจ 4"

    +++ "สภาวะรู้" ที่สามารถ ขาดจาก "กิริยาจิต (เดิน/จิต)" อันเป็น "มหาสติ" จึงรู้ "กระบวนการ" นี้ได้

    +++ รู้อาการ "ยึด/ส่งต่อเชื่อม ของจิต/กิริยาจิต" = รู้จัก สมุทัย
    +++ รู้ผลลัพธ์ของ อาการ "ยึด/ส่งต่อเชื่อม ของจิต/กิริยาจิต" = รู้จัก ทุกข์
    +++ รู้จักอาการ ตัดการ "ยึด/ส่งต่อเชื่อม ของจิต/กิริยาจิต" = รู้จัก มรรค
    +++ รู้จักผลลัพธ์ของ การตัดอาการ "ยึด/ส่งต่อเชื่อม ของจิต/กิริยาจิต" = รู้จัก นิโรธ (นิโรธจากทุกข์ ไม่เกี่ยวกับ นิโรธสมาบัติ)

    +++ สรุป คือ รู้จัก + ทำได้ + ทำสำเร็จ ใน อริยสัจ 4
    +++ อาการ คือ เมื่อทุกข์ "เกิดขึ้น"
    +++ รู้วิธี ตัด/ละ อาการ "ตั้งอยู่" แห่งทุกข์
    +++ รู้อาการ "ดับไป" แห่งทุกข์
    +++ รู้กระบวนการ ทั้งหมด

    +++ ผู้ที่ "มหาสติ เป็น ปัฏฐาน" แล้ว ย่อมไม่มีปัญหาในเรื่องนี้
    +++ ผู้ที่ "มหาสติ เป็น ปัฏฐาน เป็นครั้งคราว" ย่อมยังต้องทำ "มรรค" อีกมาก
    +++ จนกว่า "ขันธ์สันดาน (ปรมัตถ์บารมี สัมปัณโณ อิติปิโส ภควา)" จะเกิดขึ้น

    +++ จบเพียงแค่นี้ แล.........................
     

แชร์หน้านี้

Loading...