หนังสือสวดมนต์ครอบจักรวาล

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย yut_sss, 8 กุมภาพันธ์ 2007.

  1. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ

    <O>
    </O>





    การให้ธรรมมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง







    อานิสงส์ของการแจกหนังสือธรรมะเป็นทาน<O></O><O></O>​



    ๑.กรรมเวรจากอดีตชาติ จะได้ลบล้าง<O></O>​



    ๒.หนี้เวรจะได้คลี่คลาย พ้นภัยจากทะเลทุกข์<O></O>​



    ๓.โรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวรจะพ้นไป<O></O>​



    ๔.สามีภรรยาที่แตกแยกกันจะคืนดีต่อกัน<O></O>​



    ๕.วิญญาณของเด็กที่แท้งในท้องจะได้ไปเกิดใหม่<O></O>​



    ๖.กิจการงานจะราบรื่นสมความปรารถนา<O></O>​



    ๗.บุตรจะเฉลียวฉลาดเจริญรุ่งเรือง<O></O>​



    ๘.บารมีคุ้มครองลูกหลานให้อยู่เย็นเป็นสุข<O></O>​



    ๙.พ่อแม่จะมีอายุยืน<O></O>​



    ๑๐.ลูกหลานเกเรจะเปลี่ยนแปลงเป็นคนดี<O></O>​



    ๑๑.วิญญาณทุกข์ของบรรพบุรุษจะพ้นจากการถูกทรมานไปสู่สุคติ<O></O>​



    <O></O>​



    <O></O>​



    การจัดสร้างพระพุทธรูปหรือสิ่งพิมพ์อันเกี่ยวกับพระธรรมคำสอน เป็นกุศลดังนี้<O></O>​



    <O></O>​



    ๑.กุศลกรรมในอดีตชาติแต่ปางก่อน จะเปลี่ยนจากหนักเป็นเบา จากเบาเป็นสูญ<O></O>​



    ๒.สิ่งศักดิ์สิทธิ์คุ้มครอง สรรพภยันตรายสลาย<O></O>​



    ๓.เจ้ากรรมนายเวรในอดีตชาติแต่ปางก่อน เมื่อได้รับส่วนบุญไปแล้ว ก็จะเลิกเว้นการจองเวร<O></O>​



    ๔.เหล่ายักษ์ผีรากษส งูพิษเสือร้าย ไม่อาจเป็นภัย<O></O>​



    ๕.จิตใจสงบ ปวงภัยไม่เกิด ฝันร้ายไม่มี ราศีผ่องใส สุขภาพแข็งแรง กิจการงานเป็นมงคล<O></O>​



    ๖.มั่นคงในคุณธรรม ความอุดมสมบูรณ์ปรากฏ (เกินความคาดฝัน) ครอบครัวสุขสันต์ วาสนายั่งยืน<O></O>​



    ๗.คำกล่าวเป็นสัจจ์ ฟ้าดินปราณี ทวยเทพยินดี มิตรสหายปรีดา<O></O>​



    ๘.คนโง่สิ้นเขลา คนเจ็บหายไข้ คนป่วยหายดี ความทุกข์หายเข็ญ สตรีจะได้เป็นชาย<O></O>​



    ๙.พ้นจากมวลอกุศล เกิดใหม่บุญเกื้อหนุน มีปัญญาเลิศล้ำ บุญกุศลเรืองรอง<O></O>​



    ๑๐.สิ่งที่สร้างจะบังเกิดเป็นกุศลจิตแก่ทุกคนที่ได้พบเห็น เป็นเนื้อนาบุญ อย่างอเนกทุกชาติ ของผู้สร้างที่เกิด จะได้ฟังธรรมจากพระอริยเจ้า ปัญญาในธรรมแก่กล้าสามารถได้อภิญญาหก สำเร็จโพธิญาณ<O></O>​



    <O></O>​



    การจัดสร้างพระพุทธรูปและสิ่งพิมพ์เป็นกุศลดังกล่าว ฉะนั้นในงานวันเกิด วันมงคลต่างๆ การฉลองยศหรือตำแหน่ง การทำบุญสะเดาะเคราะห์หรือขอพร การขอขมาลาบาป ตลอดจนการอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วเป็นต้น หากได้สละทรัพย์สินเงินทองเพื่อจัดกิจการดังกล่าวด้วย ก็จะเป็นผลานิสงส์สืบไป<O></O>​



    <O></O>​



    <O></O>​



    สัมมาทิฏฐิสูตร ๑๐ ประการ<O></O>​



    <O></O>​



    การให้ทาน มีผล​



    การบูชา มีผล​



    การบวงสรวง มีผล​



    ผลแห่งกรรมดี กรรมชั่ว มีจริง​



    สัตว์ที่มาเกิดจากโลกอื่น มีจริง​



    สัตว์ที่ตายจากโลกนี้ไปเกิดยังโลกอื่น มีจริง​



    มารดา มีบุญคุณจริง​



    บิดา มีบุญคุณจริง​



    สัตว์ที่เป็นโอปปาติกะ มีจริง (ได้แก่ เหล่ากายทิพย์ เช่า ภูตผี เทวดา พรหม เป็นต้น)​



    สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ทราบถึงโลกนี้และโลกอื่นด้วยอภิญญา และสามารถสอนให้ผู้อื่นรู้ตามได้ มีอยู่จริง​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 3.JPG
      3.JPG
      ขนาดไฟล์:
      25.7 KB
      เปิดดู:
      1,525
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 31 มกราคม 2009
  2. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    เริ่มต้นสวดมนต์

    เริ่มต้นสวดมนต์<o></o>

    <o></o>
    การบูชาพระ<o></o>

    ควรอาบน้ำ ชำระร่างกายให้สะอาด ทำใจให้ผ่องใส จุดธูปเทียนและพวงมาลัยหรือดอกไม้ นั่งคุกเข่าประนมมือไว้เพียงหน้าอก
    คำบูชาพระรัตนตรัย<o></o>

    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อภิปูชยามิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อภิปูชยามิ<o></o>
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อภิปูชยามิ<o></o>
    คำนมัสการพระรัตนตรัย<o></o>

    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ ๑ หน) <o></o>
    (แปลว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิงแล้ว ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน)
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ ๑ หน)<o></o>
    (แปลว่า พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆังนะมามิ (กราบ ๑ หน) <o></o>
    (แปลว่า พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์)
    คำนมัสการพระพุทธเจ้า<o></o>

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ<o></o>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ<o></o>
    (ขอน้อบน้อมแด่พระผุ้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง)
    คำขอขมาพระรัตนตรัย

    อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัชชะขะมามิ ยะถาพาเล ยะถามุฬเห ยะถาอะกุสเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง ภันเต มะยัง อัจจะโย โน ปะฏิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ
    เถเรปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราทัง ขะมามิภันเต
    <o></o>
    คำขอขมาพระรัตนตรัย (วัดท่าซุง)

    สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง
    ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ
    หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรมและพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี
    ชาตินี้ก็ดี ด้วยกายก็ดี วาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ด้วยเจตนาก็ดี ด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี
    ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดอดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ
    <o></o>
    คำพรรณนาพระบรมธาตุ

    อะหัง วันทามิ ทูระโต อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโสฯ
    สรณคมน์

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<o></o>
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<o></o>
    คำนมัสการพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ (ถวายพรพระ)

    <o></o>
    พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ<o></o>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ)
    <o></o>
    ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ<o></o>
    <o></o>
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติ (กราบ)
    <o></o>
    สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ<o></o>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระณีโย อนุตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)
     
  3. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๑ สวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น

    วิธีทำวัตรสวดมนต์ ตอนเช้า<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    (เมื่อหัวหน้าจุดเทียน ธูป พึงนั่งคุกเข่าประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำให้ว่าตามดังต่อไปนี้)<o:p></o:p>
    คำบูชาพระรัตนตรัย<o:p></o:p>

    โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง<o:p></o:p>
    อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภันเต <o:p></o:p>
    ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา<o:p></o:p>
    อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ<o:p></o:p>
    คำนมัสการพระรัตนตรัย<o:p></o:p>

    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)<o:p></o:p>
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)<o:p></o:p>
    ปุพพะภาคะนะมะการะ<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    (นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พุทธาภิถุติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,<o:p></o:p>
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง, สัสสะมะณะ พราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา <o:p></o:p>
    สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลยาณัง มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง, <o:p></o:p>
    สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง<o:p></o:p>
    อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ ฯ (กราบ)<o:p></o:p>
    ธัมมาภิถุติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ ฯ (กราบ)<o:p></o:p>
    สังฆาภิถุติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, <o:p></o:p>
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อั ฏฐะปุริสะ ปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิ กะระณี โย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะฯ ตะมะหัง สังฆัง <o:p></o:p>
    อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ ฯ (กราบ และ นั่งพับเพียบ)<o:p></o:p>
    ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะ ปาฐัญจะ ภะณามะ เส ฯ (ถ้าจะสวดครึ่งเดียว คือลงแค่ ปะภาวะสิทธิยา ไม่ต่อ อิธะตะถาคะโต ก็นำเพียงครึ่งเดียวว่า หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ)<o:p></o:p>
    (รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง<o:p></o:p>
    สังโฆ สุเขตตาภยะติเขตตะสัญญิโต โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปัททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา ฯ<o:p></o:p>
    (ถ้ามีเวลาพอ ให้สวด สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ ต่อไป)<o:p></o:p>
    สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ<o:p></o:p>

    อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิ โก อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณั มปิ ทุ กขั ง,โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อัปปิเยหิ<o:p></o:p>
    สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา, เสยยะถีทัง, รูปูปาทานักขันโธ, เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ,<o:p></o:p>
    สังขารูปาทานักขันโธ, วิญญาณูปาทานักขันโธ, เยสัง ปะริญญายะ, ธะระมาโน โส ภะคะวา, เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี, พะหุลา ปะวัตตะติ, รูปัง อะนิจจัง, เวทะนา อะนิจจา, สัญญา อะนิจจา, สังขารา อะนิจจา, วิญญาณัง อะนิจจัง, <o:p></o:p>
    รูปัง อะนัตตา, เวทะนา อะนัตตา, สัญญา อะนัตตา, สังขารา อะนัตตา, วิญญาณัง อะนัตตา<o:p></o:p>
    สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ , <o:p></o:p>
    เต มะยั ง (ท่านหญิงว่า ตา มะยัง) โอติณณามะหะ ชาติ ยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา, อัปเปวะนามิ มัสสะ เกวะลัสสะ<o:p></o:p>
    ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ, <o:p></o:p>
    จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา อะคารัสมา <o:p></o:p>
    อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, ตัสมิ ง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ, ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมา<o:p></o:p>
    ปันนา, ตัง โน พรัหมะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (ถึงที่ขีดเส้นใต้ “คฤหัสถ์” พึงเว้นเสีย แล้วสวดแทนด้วยบทว่า)<o:p></o:p>
    จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระณั ง คะตา ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ตัสสะ ภะคะวะโต <o:p></o:p>
    สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ สา สา โน ปะฏิปัตติ อิมัสสะ<o:p></o:p>
    เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ ฯ<o:p></o:p>
    (อนึ่ง ถ้าสตรีสวด เต มะยัง นั้น ให้เปลี่ยนเป็น ตา มะยัง)<o:p></o:p>
    ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฏาทะนัตถัง <o:p></o:p>
    (ข้อว่าด้วยบิณฑบาต)<o:p></o:p>​
    ปะฏิสังขา โยนิโส ปิณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุ ปะระติยา พรัหมะจะริยานุคคะหายะ <o:p></o:p>
    อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ<o:p></o:p>
    อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ ฯ<o:p></o:p>
    (ข้อว่าด้วยเสนาสนะ)<o:p></o:p>​
    ปะฏิสังขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิ ริงสะปะสัมผัสสานั ง ปะฏิฆาตายะ ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง ฯ<o:p></o:p>
    (ข้อว่าด้วยคิลานเภสัช)<o:p></o:p>​
    ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ อุปปันนานัง <o:p></o:p>
    เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ<o:p></o:p>
    ธาตุปะฏิกูละปั จเวกขะณะวิธี<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ธาตุ ปะฏิกูละปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง จีวะรัง ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ <o:p></o:p>
    ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ <o:p></o:p>
    สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ อิมัง ปูติกายัง ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ฯ<o:p></o:p>
    ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุ มัตตะเมเวตัง ยะทิทัง ปิณฑะปาโต ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ <o:p></o:p>
    สัพโพ ปะนายัง ปิณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย อิมัง ปูติกายัง ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย<o:p></o:p>
    ชายะติ ฯ<o:p></o:p>
    ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานั ง ธาตุ มัตตะเมเวตัง ยะทิทัง เสนาสะนัง ฯ <o:p></o:p>
    ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุ มัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ สัพพานิ ปะนะ <o:p></o:p>
    อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ อิมัง ปูติกายัง ปัตวา อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ฯ<o:p></o:p>
    ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานั ง ธาตุ มัตตะเมเวตัง ยะทิทัง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ฯ <o:p></o:p>
    ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ <o:p></o:p>
    สัพโพ ปะนายัง คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคุจฉะนีโย อิมัง ปูติกายัง ปัตวา <o:p></o:p>
    อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ ฯ<o:p></o:p>
    (เมื่อจบบท ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี แล้ว มีการสวดมนต์บทต่างๆ เช้าละ ๑ บทบ้าง ๒ บทบ้าง หมุนเวียนกันไป แล้วจึงขึ้นบท ปัตติทานะคาถาต่อไปนี้เป็นบทสุดท้าย)<o:p></o:p>
    ปัตติทานะคาถา<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ปัตติทานะ คาถาโย ภะณามะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว สารามิกา <o:p></o:p>
    ทานะปะตี อุปาสะกา คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต<o:p></o:p>
    ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง <o:p></o:p>
    ปะฏิจจะ เต สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง ฯ<o:p></o:p>
    ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ <o:p></o:p>
    หิตายะ จะ อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต ฯ<o:p></o:p>
    (บางแห่งสวดต่อว่า)<o:p></o:p>
    (ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน พุทธะสาสะเน สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ<o:p></o:p>
    วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง มาตา ปิตา จะ อัตระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง<o:p></o:p>
    เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา ฯ)<o:p></o:p>
    โอวาทปาฏิโมกข์<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง โอวาทะปาฏิโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส<o:p></o:p>
    ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, ความอดทน คือความอดกลั้น เป็นตบะอย่างยิ่ง<o:p></o:p>
    นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ตรัสว่าพระนิพพานเป็นเยี่ยม<o:p></o:p>
    นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, ผู้ล้างผลาญผู้อื่น, ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต<o:p></o:p>
    สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต, ผู้เบียดเบียนผู้อื่น, ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย<o:p></o:p>
    เอตัง พุทธานะ สาสะนัง ฯ นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย<o:p></o:p>
    สัพพะปาปัสสะ อะกะระณัง การไม่ทำบาปทั้งปวง หนึ่ง<o:p></o:p>
    กุสะลัสสูปะสัมปะทา การบำเพ็ญกุศลให้ถึงพร้อม หนึ่ง<o:p></o:p>
    สะจิตตะปะริโยทะปะนัง การกลั่นจิตของตนให้ผ่องแผ้ว หนึ่ง<o:p></o:p>
    เอตัง พุทธานะ สาสะนัง ฯ นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย<o:p></o:p>
    อะนูปะวาโท, การไม่เข้าไปว่าร้ายกัน หนึ่ง<o:p></o:p>
    อะนูปะฆาโต, การไม่เข้าไปล้างผลาญกัน หนึ่ง<o:p></o:p>
    ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร, ความสำรวมในพระปาฏิโมกข์ หนึ่ง<o:p></o:p>
    มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสมิง, ความเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนาหาร หนึ่ง<o:p></o:p>
    ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง, การนอนการนั่งอันสงัด หนึ่ง<o:p></o:p>
    อะธิจิตเต จะ อาโยโค, การประกอบความเพียรในอธิจิต หนึ่ง<o:p></o:p>
    เอตัง พุทธานะ สาสะนัง ฯ นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฯ<o:p></o:p>
    (จบทำวัตรเช้า)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ทำวัตรเช้าจบแล้ว ให้ทุกคนสำรวมใจนั่งคุกเข่าประนมมือขึ้นพร้อมกัน เพื่อสวดมนต์ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย ครั้นประธานกล่าวนำ ทุกคนก็ว่าตามโดยพร้อมเพรียงกัน ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, (กราบครั้งที่หนึ่งแล้วกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    พุทโธ เม นาโถ, พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของเรา,<o:p></o:p>
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ, (กราบครั้งที่สองแล้วกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    ธัมโม เม นาโถ, พระธรรมเป็นที่พึ่งของเรา,<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวกสังโฆ, สังฆัง นะมามิ, (กราบครั้งที่สามแล้วกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    สังโฆ เม นาโถ, พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของเราฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    วิธีทำวัตรสวดมนต์ตอนเย็น<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    (เมื่อหัวหน้าจุดเทียน ธูป พึงนั่งคุกเข่าประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำให้ว่าตามทีละตอนเหมือนทำวัตรเช้า)<o:p></o:p>
    คำบูชาพระรัตนตรัย<o:p></o:p>

    โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง<o:p></o:p>
    อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภะคะวา <o:p></o:p>
    สุจิระปะรินิพพุโตปิ ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ<o:p></o:p>
    คำนมัสการพระรัตนตรัย<o:p></o:p>

    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)<o:p></o:p>
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)<o:p></o:p>
    พุทธานุสสติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะ การัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (บางแห่งนำว่า - ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, อะระหันตัง สัมมา สัมพุทธัง ยัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ ปัพพะชิตา, ยัสมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ, ตัมมะยั ง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ สักกาเรหิ อะภิปูชะยิตวา อะภิวาทะนัง กะริมหา, หันทะทานิ มะยัง ตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะติ<o:p></o:p>
    นะยัญจะ กะโรมะเส ฯ)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตั ง เอวัง กัลยาโณ กิตติ สัทโท อัพภุคคะโต, อิติปิ โส ภะคะวา <o:p></o:p>
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชา จะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิ ทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ<o:p></o:p>
    พุทธาภิคีติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง <o:p></o:p>
    สะระณัง เขมะมุตตะมัง ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง พุทธัสสาหัสมิ ทาโส วะ <o:p></o:p>
    พุทโธ เม สามิกิสสะโร พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง วันทันโตหัง จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน พุทธัง เม วันทะมาเนนะ ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (กราบหมอบศรีษะลงอยู่กับพื้นพร้อมกับกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (นั่งคุกเข่าว่า)<o:p></o:p>
    ธัมมานุสสติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิ ฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ<o:p></o:p>
    ธัมมาภิคีติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง <o:p></o:p>
    สะระณัง เขมะมุตตะมัง ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง วันทันโตหัง จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (กราบหมอบศรีษะลงอยู่กับพื้นพร้อมกับกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะ ยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (นั่งคุกเข่าว่า)<o:p></o:p>
    สังฆานุสสติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, <o:p></o:p>
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,<o:p></o:p>
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ<o:p></o:p>
    สังฆาภิคีติ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส ฯ<o:p></o:p>
    (รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ<o:p></o:p>
    สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง สังฆัสสาหัสมิ ทาโส วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง วันทันโตหัง จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน สังฆัง เม วันทะมาเนนะ ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (กราบหมอบศรีษะลงอยู่กับพื้นพร้อมกับกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ <o:p></o:p>
    อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (นั่งพับเพียบ)<o:p></o:p>
    อะตีตะปัจจะเวกขะณะวิธี<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง อะตีตะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เสฯ<o:p></o:p>
    (รับ) อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา ยัง จีวะรัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, <o:p></o:p>
    อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปินะปะฏิจฉาทะนัตถัง ฯ <o:p></o:p>
    อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา โย ปิณฑะปาโต ปะริภุตโต, โส เนวะทวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา <o:p></o:p>
    พรัหมะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ ฯ<o:p></o:p>
    อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ <o:p></o:p>
    ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถัง ฯ <o:p></o:p>
    อัชชะ มะยา อะปัจจะเวกขิตวา โย คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ปะริ ภุตโต, โส ยาวะเทวะ อุปปันนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานั ง ปะฏิฆาตายะ, อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ<o:p></o:p>
    กรวดนํ้าอิมินา<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง อุททิสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เสฯ<o:p></o:p>
    อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา อาจาริยูปะการา จะ มาตาปิตา จะ ญาตะกา ปิยา มะมัง สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง ฯ<o:p></o:p>
    อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง<o:p></o:p>
    เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว<o:p></o:p>
    อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วีริยัมหินา มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วีริเยสุ เม พุทโธ <o:p></o:p>
    ทีปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง<o:p></o:p>
    เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ<o:p></o:p>
    อภิณหะปั จจะเวกขะณะปาฐะ<o:p></o:p>

    (นำ) หันทะ มะยัง อภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เสฯ<o:p></o:p>
    (รับ) ชะรา ธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต, เรามีความแก่เป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้,<o:p></o:p>
    พะยาธิธัมโมมหิ พะยาธิง อะนะตีโต, เรามีความเจ็บเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้,<o:p></o:p>
    มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต, เรามีความตายเป็นธรรมดา ยังไม่ล่วงพ้นความตายไปได้,<o:p></o:p>
    สัพเพ ปิเยหิ นานาภาโว วินาภาโว, เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจด้วยกันหมดทั้งสิ้น,<o:p></o:p>
    ยัง กัมมัง กะริสสันติ, ใครทำกรรมใดไว้,<o:p></o:p>
    กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา, ดีหรือชั่วก็ตาม,<o:p></o:p>
    ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ, ตนจะต้องเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น ฯ<o:p></o:p>
    หลักธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ ประการ<o:p></o:p>

    ๑. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า บัดนี้เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว อาการกิริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ<o:p></o:p>
    ๒. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ความเลี้ยงชีวิตของเรา เนื่องด้วยผู้อื่น เราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย<o:p></o:p>
    ๓. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า อาการกายวาจาอย่างอื่นที่เราต้องทำให้ดีขึ้นไปกว่านี้ ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี้<o:p></o:p>
    ๔. บรรพชิ ตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ตัวของเราเอง ติเตียนตัวเราเองโดยศีลได้หรือไม่<o:p></o:p>
    ๕. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ผู ้รู้ใคร่ครวญแล้วติเตียนเราโดยศีลได้หรือไม่<o:p></o:p>
    ๖. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เราจะต้องพลัดพราก<o:p></o:p>
    จากของรักของชอบใจทั้งนั ้น<o:p></o:p>
    ๗. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของตัว เราทำดีจักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว<o:p></o:p>
    ๘. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่<o:p></o:p>
    ๙. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรายินดีในที่สงัดหรือไม่<o:p></o:p>
    ๑๐. บรรพชิตควรพิ จารณาเนืองๆ ว่า คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน ในเวลาเพื่อนบรรพชิตถามในกาลภายหลัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (จบทำวัตรเย็น)<o:p></o:p>
    ทำวัตรเย็นจบแล้ว ให้ทุกคนสำรวมใจนั่งคุกเข่าประนมมือขึ้นพร้อมกัน เพื่อสวดมนต์ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัย ครั้นประธานกล่าวนำ ทุกคนก็ว่าตามโดยพร้อมเพรียงกัน ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, (กราบครั้งที่หนึ่งแล้วกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    พุทโธ เม นาโถ, พระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของเรา,<o:p></o:p>
    ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ, (กราบครั้งที่สองแล้วกล่าวว่า)<o:p></o:p>
    ธัมโม เม นาโถ, พระธรรมเป็นที่พึ่งของเรา,<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวกสังโฆ, สังฆัง นะมามิ, (กราบครั้งที่สามแล้วกฉล่าวว่า)<o:p></o:p>
    สังโฆ เม นาโถ, พระสงฆ์เป็นที่พึ่งของเราฯ<o:p></o:p>
     
  4. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๒ เจริญพุทธมนต์

    หมวดที่ ๒ เจริญพุทธมนต์<o:p></o:p>

    วิธีสวดเจ็ดตำนาน<o:p></o:p>

    ชุมนุมเทวดา (ขัดสัคเค)<o:p></o:p>

    (ก่อนจะเจริญพุทธมนต์ ภิกษุรูปที่ ๓ พึงเริ่มชุมนุมเทวดาดังนี้)<o:p></o:p>
    (ใช้เฉพาะในราชการ = สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ)<o:p></o:p>
    ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา, อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ , สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ, จันตะลิกเข วิมาเน, ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน,<o:p></o:p>
    เคหะวัตถุมหิ เขตเต, ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม, ยักขะคันธัพพะนาคา, ติฏฐันตา <o:p></o:p>
    สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง, สาธะโว เม สุณันตุ ฯ ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา,<o:p></o:p>
    ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา, ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ปุพพะภาคะนะมะการ<o:p></o:p>

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    นะมะการะสิทธิคาถา<o:p></o:p>

    ถ้าจะใช้บทนี้ ก็ไม่ต้องสวดบท สัมพุทเธ ฯ<o:p></o:p>
    ๑. โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต<o:p></o:p>
    มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ<o:p></o:p>
    ๒. พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ<o:p></o:p>
    ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๓. ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง<o:p></o:p>
    นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะ ธารี สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ ฯ<o:p></o:p>
    ๔. ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง<o:p></o:p>
    ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๕. สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา<o:p></o:p>
    สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ สวากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ ฯ<o:p></o:p>
    ๖. สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง<o:p></o:p>
    ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ.<o:p></o:p>
    สัมพุทเธ<o:p></o:p>

    ๑. สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก<o:p></o:p>
    ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิ ระสา อะหัง<o:p></o:p>
    เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว<o:p></o:p>
    อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ<o:p></o:p>
    ๒. สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก<o:p></o:p>
    ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง<o:p></o:p>
    เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว<o:p></o:p>
    อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ<o:p></o:p>
    ๓. สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก<o:p></o:p>
    วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง<o:p></o:p>
    เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว<o:p></o:p>
    อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ถ้าไม่สวด สัมพุทเธ จะสวด นะมะการะสิทธิคาถา แทนก็ได้<o:p></o:p>
    นะโมการะอัฏฐะกะ<o:p></o:p>

    นะโม อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ มะเหสิโน<o:p></o:p>
    นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ เตนิธะ<o:p></o:p>
    นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสีละทิฏฐิโน<o:p></o:p>
    นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนัตตยัสสะ สาธุกัง<o:p></o:p>
    นะโม โอมะกาตีตัสสะ ตัสสะ วัตถุตตยัสสะปิ<o:p></o:p>
    นะโมการัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา<o:p></o:p>
    นะโมการานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา<o:p></o:p>
    นะโมการัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ตำนานมงคลสูตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในมงคลสูตรนี้ มีเนื้อความเริ่มต้นว่า หมู่มนุษย์ในชมพูทวีปมาประชุมกันที่ทวารเมืองโรงรับแขกและศาลาที่ชุมนุมเป็นต้น จ้างคนที่รู้มาเล่านิทานให้ฟัง นิทานนี้บางเรื่องเล่านานถึง ๔ เดือนจึงจบ วันหนึ่งชนผู้ออกความเห็นว่ารูปที่เห็นด้วยจักขุเป็นมงคลบ้าง เสียงที่ได้ยินด้วยโสตเป็นมงคลบ้าง สิ่งที่ได้สูดดม สัมผัสถูกต้อง เป็นมงคลบ้าง ความเห็นของที่ประชุมแยกเป็น ๓ อย่างไม่ตกลงกัน ใครเห็นอย่างไร ต่างก็ประพฤติไปตามความเห็นของตน และถือเอาเป็นข้อทุ่มเถียงคนอื่นโกลาหล การสันนิษฐานถึงเหตุอันเป็นเหตุมงคลหาสิ้นสุดไม่ได้ และต่างก็คิดค้นหาข้อมงคลนั้นอยู่<o:p></o:p>
    ครั้งนั้น ฝ่ายฝูงเทพารักษ์ได้ฟังมนุษย์คือข้อมงคลก็ชวนกันคิดค้นหาข้อมงคลบ้างแล้วเทพยดาและท้าวมหาพรหมอันเป็นมิตรของเทพารักษ์ได้ทราบเรื่องเข้า ก็คิดข้อมงคลปัญหาต่างๆ กันไป สิ้นเวลาถึง ๑๒ ปี ก็ไม่มีผู้ใดจะชี้เด็ดขาดลงไปได้ว่า สิ่งใดเป็นมงคลแน่<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    กาลนั้น ท้าวสุทธาวาสมหาพรหมทั้งหลาย รู้ในความประสงค์ด้วยข้อปัญหาของมนุษย์ทั้งหลายแล้ว จึงได้ประกาศแก่หมู่มนุษย์ในชมพูทวีปว่า จำเดิมแต่นี้ต่อไปนี้ ๑๒ ปี สมเด็จพระบรมครูจะได้โปรดประทานพระธรรมเทศนาแก้ข้อมงคลปัญหาทั้งหลายให้เราท่านทั้งปวงฟัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ครั้นกาลเวลาล่วงไปได้ ๑๒ ปี สมเด็จพระบรมครูจะได้ตรัสรู้ในโลกแล้ว หมู่เทวดาก็ได้ถามข้อมงคลปัญหาแด่พระอินทร์ พระอินทร์จึงตรัสถามว่า ข้อปัญหานี้เกิดขึ้น ณ ที่ใด เทพยดาทูลว่าเกิดขึ้นในมนุษย์โลก พระอินทร์จึงมีเทวบัญชาให้เทวดาองค์หนึ่ง ลงไปทูลถามข้อมงคลปัญหาแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วพระอินทร์และหมู่เทพยดาก็ตามลงมาฟังด้วย ในกาลครั้งนั้น หมู่อมรพรหมินทร์ ใน ๑๐,๐๐๐ จักรวาล ก็มาประชุมกันฟังวิสัชนาข้อมงคลปัญหาในครั้งนั้นด้วย พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสแก้ข้อมงคลและทรงแสดงถึงอานิสงส์ข้อมงคลด้วยพระคาถา มีคำว่า อะเสวะนา จพาลานัง เป็นต้น มีคำว่า ตันเตสัง มังคะละมุตตะมัง เป็นปริโยสาน ข้อมงคลนั้นนับได้ ๓๘ ประการ คาถาที่สวดมนต์ในมงคลสูตรมีลำดับแต่เบื้องต้นจนถึงที่สุด ประกอบด้วยคำแปลดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดตำนานมงคลสูตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ยัญจะ ทวาทะสะ วัสสานิ<o:p></o:p>
    จินตะยิงสุ สะเทวะกา<o:p></o:p>
    จิรัสสัง จินตะยันตาปิ<o:p></o:p>
    เนวะ ชานิงสุ มังคะลัง<o:p></o:p>
    จักกะวาฬะสะหัสเสสุ<o:p></o:p>
    ทะสะสุ เยนะ ตัตตะกัง<o:p></o:p>
    กาลัง โกลาหะลัง ชาตัง<o:p></o:p>
    ยาวะ พรัหมะนิเวสานา<o:p></o:p>
    ยัง โลกะนาโถ เทเสสิ<o:p></o:p>
    สัพพะปาปะวินาสะนัง<o:p></o:p>
    ยัง สุตวา สัพพะทุกเขหิ<o:p></o:p>
    มุจจันตาสังขิยา นะรา<o:p></o:p>
    เอวะมาทิคุณูเปตัง<o:p></o:p>
    มังคะลันตัมภะณามะ เหฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    มังคะละสุตตัง<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    (ไม่ค่อยได้ใช้ = เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน <o:p></o:p>
    อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา <o:p></o:p>
    อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง โอภาเสตวา เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ<o:p></o:p>
    อุปะสังกะมิตวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา เอกะมันตัง อัฏฐาสิ ฯ เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ ฯ หยุด)<o:p></o:p>
    (พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะมัง ฯ)<o:p></o:p>
    ๑. อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา<o:p></o:p>
    ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๒. ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา<o:p></o:p>
    อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๓. พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต<o:p></o:p>
    สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๔. มาตาปิตุอุปัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห<o:p></o:p>
    อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๕. ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห<o:p></o:p>
    อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๖. อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม<o:p></o:p>
    อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๗. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา<o:p></o:p>
    กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๘. ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง<o:p></o:p>
    กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๙. ตะโป จะ พรัหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง<o:p></o:p>
    นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๑๐. ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ<o:p></o:p>
    อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ<o:p></o:p>
    ๑๑. เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถุมะปะราชิตา<o:p></o:p>
    สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ.<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    ช่วยจำ อะ ปะ พา, มา ทา อา, คา ขัน ตะ, ผุฏ เอตาฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>

    <o:p> </o:p>
    ตำนานรัตนะสูตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระสูตรนี้มีเนื้อความว่า ครั้งหนึ่งพระนครไพศาลีอันไพบูลย์ไปด้วย ขัตติยะตระกูล มีพระเจ้าลิจฉวีเป็นประธานแก่ขัตติยะตระกูลทั้งปวง บังเกิดทุพภิกขภัยข้าวแพงฝนแล้ง ข้าวกล้าตายฝอยคนยากจนทั้งหลายพากันล้มตายเป็นอันมาก เมื่อตายแล้วก็พากันเอาศพไปทิ้งไว้นอกพระนคร กลิ่นอสุภะได้เหม็นตลบไปทั่วบริเวณนั้น กาลนั้นอมนุษย์ทั้งหลายก็เข้าไปสู่พระนครอหิวาตกโรคก็เกิดขึ้นทำให้ชาวพระนครล้มตายอีกเป็นอันมาก เหตุด้วยบ้านเมืองปฏิกูลไปด้วยกเฬวรากซากอสุภะ ครั้งนั้นกล่าวกันว่า พระนครไพศาลีประกอบไปด้วยภัย ๓ ประการคือ<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    <!--[if !supportLists]-->(๑)[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->ทุพภิกขภัย ข้าวแพง มนุษย์ตายด้วยอดอาหาร<o:p></o:p>
    <!--[if !supportLists]-->(๒)[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->อมนุษย์ภัยเบียดเบียน ตายด้วยภัยแห่งอมนุษย์<o:p></o:p>
    <!--[if !supportLists]-->(๓)[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->โรคภัย ตายด้วยโรคต่างๆ มีอหิวาตกโรค เป็นต้น<o:p></o:p>
    ชาวพระนครจึงพากันไปเฝ้าบรมกษัตริย์ทูลว่า แต่ก่อนมาภัยอย่างนี้ไม่เคยมี ที่มาเกิดขึ้นครั้งนี้เป็นเพราะพระองค์มิได้ตั้งอยู่ธรรม บรมกษัตริย์ก็ทรงอนุญาตให้ชาวพระนครดูราชกิจของพระองค์<o:p></o:p>
    ก็ไม่สามารถที่จะกล่าวได้ว่าสิ่งนี้บรมกษัตริย์ได้ประพฤติไม่เป็นธรรม จึงพากันคิดว่าจะระงับภัยอันนี้โดยหาผู้ประเสริฐเลิศโลกมาระงับ ได้ตกลงกันให้เชิญเสด็จพระพุทธเจ้าจากกรุงราชคฤห์ให้ระงับภัยในพระนครไพศาลี แล้วจึงจัดเครื่องบรรณาการมอบให้พระเจ้าลิจฉวี ๒ องค์เป็นประธาน นำเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้าพิมพิสาร ขอให้พระองค์อนุญาตให้เชิญเสด็จพระพุทธเจ้าไปยังพระนครไพศาลี พระเจ้าพิมพิสารจึงรับสั่งให้พระเจ้าลิจฉวีไปนิมนต์พระพุทธเจ้าตามความประสงค์ พระพุทธเจ้ารับนิมนต์ของพระเจ้าลิจฉวีแล้ว ก็เสด็จไปเมืองไพศาลีพร้อมด้วยพระสาวก ๕๐๐ รูป ระหว่างเวลาที่เสด็จทรงพระดำเนินไปพระนครไพศาลีนั้น พระราชาและชาวพระนครหมู่อมรพรหมินทร์กระทำสักการะด้วยโรยทรายและดอกไม้ของหอมตามมรรคา และยกฉัตรกั้นแสงพระสุริยา ธงผ้าและของทิพย์นานาประการ สรรพอาหารมีรสเลิศนำมาถวาย อนึ่ง ทางระหว่างพระนคร เมื่อพระบรมครูเสด็จถึงที่นั้นได้ลงสู่นาวาข้ามคงคาไป พระยานาคที่อยู่ในคงคาก็มากระทำสักการะบูชาด้วย ระยะทางจากกรุงราชคฤห์ถึงพระนครไพศาลีประมาณ ๘ โยชน์เศษสมเด็จพระบรมครูเสด็จรอนแรมไปตามระยะทาง ๘ วัน จึงถึงพระนครไพศาลี<o:p></o:p>
    เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จถึงเขตพระนครไพศาลี ฝนห่าใหญ่ก็ตกลงมาจนน้ำท่วมนองถึงเข่าพัดพาเอาซากอสุภะทั้งปวงลอยไปสู่คงคาสิ้น เมื่อถึงพระนครไพศาลีพระอินทร์และเทพยดาผู้มีศักดิ์ใหญ่ก็มาคอยเฝ้าพระพุทธเจ้า ฝ่ายฝูงอมนุษย์ทั้งหลายเห็นท้าวสหัสสเนตรก็พากันหนีไปเป็นอันมาก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จถึงประตูพระนครไพศาลีแล้ว จึงมีพระพุทธฎีกาตรัสเรียกพระอานนท์ว่า ดูก่อนอานนท์ เธอจงเรียนเอารัตนสูตรนี้ แล้วจงถือเอาเครื่องพลีกรรมเที่ยวไปในระหว่างแห่งกำแพงทั้งหลายสามชั้นแล้ว จงสวดซึ่งรัตนสูตรปริตรนี้ เมื่อเรียนได้แล้ว ก็ถือเอาบาตรนั้นของสมเด็จพระบรมครูเที่ยวประพรมน้ำ สาดน้ำไปทั่วพระนครอมนุษย์ทั้งหลายที่ยังมิได้หนีไป ในกาลครั้งนั้น ก็พากันหนีไปสิ้น ชาวพระนครก็ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน<o:p></o:p>
    พระพุทธเจ้าจึงทรงตรัสเทศนารัตนสูตรโปรดท้าวสักกรินทร์เทวราชกับหมู่เทพยนิกรทั้งหลายฝ่ายมนุษย์มีพระเจ้าลิจฉวีและชนชาวพระนครเป็นอันมาก กาลเมื่อจบพระธรรมเทศนาลงความเจริญสิริสวัสดิ์ก็บังเกิดแก่ราชตระกลูและชนชาวพระนคร อุปัทวันตรายทั้งปวงก็ระงับสิ้นจำนวนสรรพสัตว์แปดหมื่นสี่พัน ก็ได้ตรัสรู้ธรรมาภิสมัยและมรรคผลตามควรแก่วาสนาบารมีที่ได้สร้างสมอบรมมา<o:p></o:p>
    ในกาลครั้งนั่น สมเด็จอมรินทร์ทรงจินตนาการว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอาศัยซึ่งคุณพระรัตนตรัย แล้วประกอบสัจจวจนะกระทำให้ชาวพระนคร ถึงซึ่งความเจริญปราศจากปัทวันตรายทั้งปวง จำอาตมาจะอาศัยซึ่งพระรัตนตรัยแล้วกล่าวให้เป็นคุณบ้าง เมื่อทรงดำริฉะนี้แล้วก็กล่าวพระคาถาสามพระคาถาว่า ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ฯลฯ ตะถาคะตังเทวะมนุสะสะปูิชิตัง สังฆัง นะมัสสามะสุวัตถิ โหตุ ความว่า เทวดาทั้งหลายที่เป็นภุมมเทวดาบังเกิดในภูมิประเทศก็ดี เทวดาที่อยู่ในอากาศก็ดี เราทั้งหลายนมัสการพระพุทธเจ้าอันเสด็จมาสู่พุทธภูมิพร้อมด้วยอัจฉริยอัพภูตธรรมเหมือนพระธรรมด้วยพระพุทธเจ้าแต่ปางก่อนพระธรรมอันมาสู่พระพุทธสันดานเหมือนพระธรรมอันมาสู่พระพุทธสันดานแต่ก่อน พระสงฆ์อันมาสู่อริยชาติเหมือนด้วยพระสงฆ์แต่ก่อน อันหมู่เทพนิกรและมนุษย์ทั้งหลายกระทำสักการะบูชา ขอความสวัสดีจงมีแก่มนุษย์พุทธบริษัททั้งปวงเถิด ครั้นกล่าวพระคาถานี้แล้วก็ถวายนมัสการลาพาเทพบริวารกลับไป ด้วยเหตุนี้ คาถาของท้าวสักกะจึงได้ใช้สวดอยู่ข้างท้ายพระปริตรนี้ด้วย<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เมื่อหมู่อมรกลับไปแล้ว พระผู้มีพระภาคยังได้ทรงแสดงพระธรรมเทศนารัตนสูตรโปรดชาวพระนครอีก ๖ วัน และทรงประทับอยู่ในพระนครไพศาลีประมาณ ๑๕ วัน จึงเสด็จกลับ ระหว่างเมื่อเสด็จกลับถึงฝั่งคงคา พระยานาคที่อยู่ในคงคาได้นิมิตนาวาพิเศษมาคอยอยู่ที่ท่าน้ำ ทูลอาราธนาพระพุทธเจ้ากับพระสาวก ๕๐๐ รูป ลงสู่นาวาไปนาคพิภพ พระผู้มีพระภาครับอาราธนาเสด็จไปยังนาคพิภพพร้อมด้วยพระสาวก ๕๐๐ รูป ได้ทรงแสดงพระธรรมเทศนาโปรดนาคทั้งหลายตลอดราตรียันรุ่งแล้ว จึงเสด็จกลับยังกรุงราชคฤห์ มนุษย์และเทวดาก็กระทำสักการะบูชายิ่งกว่าเมื่อคราวเสด็จไป<o:p></o:p>
    พระสูตรนี้ว่าประกอบไปด้วยคุณานุภาพไพศาลเป็นมหัศจรรย์พันลึกพิเศษต่างๆ ยิ่งนัก พระคาถาที่สวดแต่เบื้องต้น จนถึงที่สุด ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดรัตนะสูตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ<o:p></o:p>
    ทะสะ ปาระมิโย ทะสะ อุประปาระมิโย<o:p></o:p>
    ทะสะ ปะระมัตถะปาระมิโย<o:p></o:p>
    ปัญจะ มะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา<o:p></o:p>
    ปัจฉิมัพภะเว คัพภาวักกันติง<o:p></o:p>
    ชาติง อะภินิกขะมะนัง ปะธานะจะริยัง<o:p></o:p>
    โพธิปัลลังเก มาระวิชะยัง<o:p></o:p>
    สัพพัญญุตัญญาณัปปะฏิเวธิง<o:p></o:p>
    นะวะ โลกุตตะระธัมเมติ<o:p></o:p>
    สัพเพปิเม พุทธะคุณ อาวัชชิตวา เวสาลิยา<o:p></o:p>
    ตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปริตตัง<o:p></o:p>
    กะโรนโต อายัสมา อานันทัตเถโร วิยะ<o:p></o:p>
    การุญญะจิตตัง อุปัฎฐะเปตวา<o:p></o:p>
    โกฏิสะตะสะหัสเสสุ<o:p></o:p>
    จักกะวาเฬสุ เทวะตา<o:p></o:p>
    ยัสสาณัมปะฏิคคัณหันติ<o:p></o:p>
    ยัญจะ เวสาลิยัมปุเร<o:p></o:p>
    โรคามะนุสสะทุพภิกขะ สัมภูตันติวิธัมภะยัง <o:p></o:p>
    ขิปปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตันตัมภะณามะ เหฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ระตะนะสุตตัง (แบบย่อ)<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๒. ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต<o:p></o:p>
    นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๓. ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ<o:p></o:p>
    สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๔. เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ<o:p></o:p>
    เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ<o:p></o:p>
    อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๕. เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ<o:p></o:p>
    เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา<o:p></o:p>
    อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๖. ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง<o:p></o:p>
    เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป<o:p></o:p>
    อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ช่ วยจำ ยัง ขะยัง ยัม, เย ปุค- เย สุป- ขี<o:p></o:p>
    ระตะนะสุตตัง (แบบเต็ม)<o:p></o:p>

    ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข<o:p></o:p>
    สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง<o:p></o:p>
    ตัส๎มา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ<o:p></o:p>
    ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง ตัส๎มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตาฯ<o:p></o:p>
    ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ<o:p></o:p>
    อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ<o:p></o:p>
    ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ<o:p></o:p>
    สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนั ง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา<o:p></o:p>
    จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา<o:p></o:p>
    เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุฯ เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ<o:p></o:p>
    นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ<o:p></o:p>
    ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา<o:p></o:p>
    จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ<o:p></o:p>
    โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ<o:p></o:p>
    คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา<o:p></o:p>
    นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ<o:p></o:p>
    ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ<o:p></o:p>
    สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต<o:p></o:p>
    ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง<o:p></o:p>
    กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ<o:p></o:p>
    อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค<o:p></o:p>
    คิมหานะมาเส ปะฐะมัส๎มิง คิมเห ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ<o:p></o:p>
    นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร<o:p></o:p>
    อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง <o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง<o:p></o:p>
    วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา<o:p></o:p>
    นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ<o:p></o:p>
    ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง<o:p></o:p>
    พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ<o:p></o:p>
    ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง<o:p></o:p>
    ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุฯ ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ<o:p></o:p>
    ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง<o:p></o:p>
    สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ตำนานกะระณียะเมตตะสูตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระปริตรนี้ ตามตำนานเบื้องต้นกล่าวเนื้อความว่า พระภิกษุประมาณ ๕๐๐ รูป ในพระนครสาวัตถี ได้เรียนกัมมัฎฐานในสำนักของพระศาสดา แล้วไปหาที่สงัดเงียบสำหรับเจริญวิปัสสนาไปได้สิ้นทางประมาณ ๑๐๐ โยชน์ถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งชาวบ้านเหล่านั้นได้เป็นพระภิกษุก็มีความยินดีนิมนต์ให้นั่งบนอาสนะที่สมควรแล้ว อังคาสด้วยข้าวยาคูเป็นต้น แล้วถามว่า พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายจะไป ณ ที่แห่งใด เมื่อได้รับคำตอบว่าจะไปหาที่สบายสำหรับเจริญสมณธรรมตลอดไตรมาส ชนเหล่านั้นจึงกล่าวว่า จากที่นี้ไปไม่สู้ไกลนัก มีป่าชัฏเป็นที่สงัดเงียบ ขอนิมนต์พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย จงเจริญสมณธรรมในที่นั้นตลอดไตรมาสเถิด ข้าพเจ้าทั้งหลายจะขอถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะและรักษาศีลในสำนักของพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย พระภิกษุทั้งหลายรับนิมนต์แล้ว ก็เข้าไปอาศัยอยู่ในป่านั้นและเจริญสมณธรรมอยู่ที่นั้น<o:p></o:p>
    พฤกษเทวดาที่สิงอยู่ที่ต้นไม้ในป่านั้น คิดว่าพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายมาอาศัยอยู่ที่โคนต้นไม้แห่งเรา ตัวเราและบุตรภรรยาของเราจะอยู่บนต้นไม้นี้หาสมควรไม่ จะไม่เป็นการเคารพท่าน จึงพากันลงจากต้นไม้นั่งอยู่เหนือพื้นดินนัยหนึ่งว่าเพราะอำนาจที่ภิกษุเจริญสมณธรรม พฤกษเทวดาเหล่านั้นจึงไม่อาจอยู่บนต้นไม้ได้ ด้วยสำคัญว่าพระผู้เป็นเจ้าพักอยู่ในที่นั้นคืนหนึ่งแล้วก็จักไปในวันรุ่งขึ้น พระภิกษุเที่ยวบิณฑบาตภายในบ้านแล้วก็กลับมาสู่ป่าชัฎตามเดิม เทวดาเหล่านั้น พากันคิดว่าใครๆ เขาคงนิมนต์ท่านฉันในวันพรุ่งนี้ วันนี้ท่านจึงกลับมาพักในที่นี้อีกและวันหน้าท่านก็จะไปในที่อื่น แต่ภิกษุก็ยังกลับมาพักในที่เดิมอีก หมู่เทวดาพากันคิดว่า พระภิกษุทั้งหลายจะไปในวันหน้าดังนี้สืบๆ ไป จนเวลาล่วงไปได้ประมาณครึ่งเดือน เทวดาจึงมาคิดกันว่าชะรอย พระผู้เป็นเจ้าจะอยู่ในที่นี้ตลอดไตรมาสแล้ว พวกเราก็ต้องอยู่กับพื้นดินตลอดไตรมาสด้วย เป็นการลำบากนักควรที่พวกเราจะทำวิการอะไรขึ้นให้ท่านไปเสียจากที่นี้เป็นการดี เมื่อปรารภอย่างนี้แล้ว ก็แสดงวิการต่างๆ มีซากศพศีรษะขาดและรูปยักษ์เป็นต้น กับบันดาลโรคไอและโรคจามให้เกิดขึ้นแก่พระภิกษุทั้งหลาย พระภิกษุทั้งหลายก็อยู่ไม่เป็นผาสุกเหมือนดังแต่ก่อน มีความหวาดกลัวเกิดโรคผอดซีดเซียวลง แล้วจึงพากันออกจากที่นั้นไปสู่ที่สำนักของพระศาสดาทูลให้ทรงทราบถึงเรื่องที่ได้ประสบต่อารมณ์อันน่ากลัวต่างๆ และความไม่ผาสุกที่ได้บังเกิดขึ้นแต่โรคนั้นด้วย<o:p></o:p>
    พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระพุทธประสงค์จะให้ภิกษุเหล่านั้นกลับไปเจริญสมณธรรมในที่เดิมอีก จึงทรงประทานเมตตสูตรเป็นอาวุธเครื่องป้องกันแล้วมีพระพุทธดำรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย เธอพึงสาธยายพระสูตรนี้ตั้งแต่ราวไพรภายนอกวิหารเข้าไปสู่ภายในวิหาร ภิกษุเหล่านั้นก็ถวายแล้วจึงบังคมพระศาสดาแล้วกลับไป เมื่อถึงราวไพรภายนอกที่อยู่ก็สาธยายพระสูตรตามพระพุทธฎีกาแล้วจึงเดินเข้าไปสู่สำนักเดิม คราวนี้หมู่เทวดาเหล่านั้นกลับมีความเมตตา ทำการต้อนรับพระภิกษุเหล่านั้นมีการรับบาตรจีวร และเข้านวดตัว ปัดกวาดสถานที่ ตลอดจนถึงการอารักขาในราวไพรด้วย<o:p></o:p>
    ภิกษุเหล่านั้นเมื่อได้อยู่ผาสุกแล้ว ก็ตั้งจิตบำเพ็ญพระกัมมัฎฐานตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน จิตของท่านก็หยั่งลงสู่วิปัสสนา เห็นความสิ้นและความเสื่อมในตนว่า อัตภาพนี้ก็เป็น เช่น ภาชนะดิน คือว่าต้องแตกทำลายไม่ถาวร พระพุทธเจ้าทรงประทับอยู่ในพระคันธกุฎีทราบความปรารถของพระภิกษุทั้งหลายนั้นแล้ว จึงเปล่งพระรัศมีในที่ห่างประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ให้เห็นเหมือนว่าเสด็จประทับอยู่ที่เฉพาะหน้าพระภิกษุเหล่านั้น และตรัสพระคาถาว่า<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    “ภิกษุทราบกายนี้ว่าเปรียบกับหม้อ<o:p></o:p>
    ปิดจิตนี้ให้เหมือนกับนคร<o:p></o:p>
    พึงรบกับมาด้วยอาวุธคือปัญญา<o:p></o:p>
    และพึงรักษาความชนะไว้<o:p></o:p>
    พึงเป็นผู้หาความพัวพันมิได้”<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    เมื่อจบพระธรรมเทศนาแล้ว ภิกษุ ๕๐๐ รูป ก็ได้บรรลุพระอรหันต์พร้อมด้วยปฎิสัมภิทา<o:p></o:p>
    พระสูตรนี้ประกอบด้วยคุณานุภาพเป็นอันมากเป็นประหนึ่งหัวใจของพระพุทธศาสนา พระคาถาที่สวดมนต์มีลำดับแต่เบื้องต้นจนถึงที่สุด ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดกะระณียะเมตตะสูตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ยัสสานุภาวะโต ยักขา<o:p></o:p>
    เนวะ ทัสเสนติ ภิงสะนัง<o:p></o:p>
    ยัมหิ เจวานุยุญชันโต<o:p></o:p>
    รัตตินทิวะมะตันทิโต<o:p></o:p>
    สุขัง สุปะติ สุตโต จะ<o:p></o:p>
    ปาปัง กิญจิ นะ ปัสสะติ<o:p></o:p>
    เอวะมาทิคุณูเปตัง<o:p></o:p>
    ปริตรตันตัมภะณามะ เห ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    กะระณียะเมตตะสุตตัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ<o:p></o:p>
    สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานิ<o:p></o:p>
    สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ<o:p></o:p>
    สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ<o:p></o:p>
    นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง<o:p></o:p>
    สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา<o:p></o:p>
    เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา<o:p></o:p>
    ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา<o:p></o:p>
    ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร<o:p></o:p>
    ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา<o:p></o:p>
    นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ<o:p></o:p>
    พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ<o:p></o:p>
    มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข<o:p></o:p>
    เอวัมปิสัพพะภูเตสุ มานะสั มภาวะเย อะปะริมาณัง<o:p></o:p>
    (ย่อ) เมตตัญจะ สัพพะ โลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง<o:p></o:p>
    อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง<o:p></o:p>
    ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ<o:p></o:p>
    เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ<o:p></o:p>
    ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ตำนานขันธะปริตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระปริตรบทนี้มีตำนานเริ่มต้นว่า สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวนาราม ใกล้พระนครสาวัตถีครั้งนั้นพระภิกษุรูปหนึ่งนั่งสีไฟอยู่ ณ เรือนไฟ งูตัวหนึ่งออกจากต้นไม้ผุได้กัดนิ้วเท้าแห่งพระภิกษุนั้น พระภิกษุนั้นทนพิษงูมิได้ ก็ถึงมรณภาพอยู่ ณ ที่นั้น ภิกษุทั้งหลายก็ได้พากันไปเฝ้าพระพุทธเจ้ากราบทูลถึงเรื่องภิกษุที่ถูกงูกัดตายนั้น สมเด็จพระศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลายชะรอยภิกษุนั้นจะไม่ได้เจริญเมตตาจิตต่อตระกูลแห่งพญางูทั้ง ๔ ถ้าหากว่าพระภิกษุรูปนั้นได้เจริญเมตตาจิต ปรารถซึ่งตระกูลพญางูทั้ง ๔ แล้ว งูจะไม่กัดพระภิกษุรูปนั้นเลย ถึงแม้ว่าจะกัดก็หาตายไม่ แต่ปางก่อนดาบสทั้งหลายผู้เป็นบัณฑิตได้เจริญเมตตาจิตในตระกูลพญางูทั้ง ๔ ก็พากันรอดพ้นจากภัยแห่งงูทั้งหลาย แล้วจึงทรงนำเอาอดีตชาดกมาแสดง ดังต่อไปนี้<o:p></o:p>
    ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตต์ครองราชสมบัติ ณ เมืองพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหม์ ณ กาสิกรัฐ ครั้นเจริญวัยแล้วก็ได้สละราชสมบัติออกบรรพชาเป็นฤาษี ได้บรรลุอภิญญา ๔ และสมาบัติ ๘ แล้วได้สร้างอาศรมอยู่ ณ คุ้งแห่งหนึ่งของแม่น้ำคงคาในป่าหิมพานต์และได้เป็นอาจารย์สั่งสอนหมู่ฤาษีอยู่ ณ ที่นั้นด้วย<o:p></o:p>
    ครั้งนั้น งูทั้งหลายอยู่ ณ ฝั่งแห่งแม่น้ำนั้น ได้กัดฤาษีถึงแก่ความตายเป็นอันมากพระดาบสทั้งหลายก็ได้นำความนั้นแจ้งแก่ดาบสโพธิสัตว์ผู้เป็นอาจารย์ของตน<o:p></o:p>
    พระโพธิสัตว์ผู้เป็นอาจารย์จึงให้ประชุมพระดาบสทั้งหลาย แล้วสอนให้พระดาบสเหล่านั้นเจริญเมตตาจิตต่อตระกูลแห่งพญางูทั้ง ๔ เป็นเบื้องต้น แล้วจึงสอนให้เจริญเมตตาจิตให้สัตว์จำพวกอื่นต่อไปโดยลำดับ ตั้งแต่สัตว์ที่ไม่มีเท้า สัตว์ ๒ เท้า สัตว์ ๔ เท้าและสัตว์เท้ามาก ว่าอย่ามีเวรอย่าพยาบาท จงถึงซึ่งความสุข ปราศจากทุกข์เถิด แล้วทรงสั่งสอนให้ระลึกถึงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่า มากไม่มีประมาณ (คือคุณมากโดยไม่มีกิเลส) สัตว์ที่มีประมาณเหล่านั้นจงกระทำการป้องกันรักษาซึ่งเราทั้งหลายทั้งกลางวันและกลางคืนเถิด<o:p></o:p>
    ความรักษาและปเองกันอันเรากระทำแล้ว แก่สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ ภูตสัตว์ทั้งหลายจงหลีกไปเสีย อย่าได้มาเบียดเบียนเราเลย เรากระทำความนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย มีพระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้น<o:p></o:p>
    อนึ่ง ความไมตรีจิตของสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นได้มีอยู่แก่เราผู้ใด เราผู้นั้นย่อมได้กระทำความนอบน้อมนมัสการแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย มีพระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นต้น โดยลำดับมาทั้ง ๗ พระองค์<o:p></o:p>
    เมื่อ พระโพธิสัตว์ผูกพระปริตรให้แก่ฤาษีทั้งหลายแล้ว พระฤาษีเหล่านั้นก็ได้เจริญเมตตาและระลึกถึงพระพุทธคุณเป็นอารมณ์ งูทั้งหลายก็หลีกหนีไป มิได้เข้ามากล้ำกลายอีกต่อไป<o:p></o:p>
    พระคาถาที่เจริญพระพุทธมนต์ มีต่อไปนี้<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดขันธะปริตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    สัพพาสีวิสะชาตีนัง<o:p></o:p>
    ทิพพะมันตาคะทัง วิยะ<o:p></o:p>
    ยันนาเสติ วิสัง โฆรัง<o:p></o:p>
    เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง<o:p></o:p>
    อาณักเขตตัมหิ สัพพัตตะ<o:p></o:p>
    สัพพะทา สัพพะปาณินัง<o:p></o:p>
    สัพพะโสปิ นิวาเรติ<o:p></o:p>
    ปริตรตันตัมภะณามะ เหฯ<o:p></o:p>
    ขันธะปะริตตะคาถา<o:p></o:p>

    วิรูปักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม<o:p></o:p>
    ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ<o:p></o:p>
    อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม<o:p></o:p>
    จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม<o:p></o:p>
    มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก<o:p></o:p>
    มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท<o:p></o:p>
    สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา<o:p></o:p>
    สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา<o:p></o:p>
    (ย่อ) อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา<o:p></o:p>
    ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ตำนานโมระปริตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระปริตรบทนี้กล่าวว่า เมื่อพระบรมศาสดาทรงประทับอยู่ ณ เชตะวันมหาวิหาร ทรงปรารภถึงภิกษุกระสันรูปหนึ่ง จึงตรัสพระธรรมเทศนาพระปริตรบทนี้ ให้ภิกษุรูปนั้นดำรงอยู่ในโสดาปัติผล ตำนานเบื้องต้นของพระปริตรนี้มีเนื้อความว่า<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในอดีตกาล สมัยเมื่อพระเจ้าพรหมทัตต์ครองราชย์สมบัติในเมืองพาราณสี พระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิในครรภ์นางนกยูง อันอยู่ในปัจจันตประเทศของเมืองพาราณสี เมื่อพระโพธิสัตว์ออกจากฟองไข่แล้วมีผิวพรรณงามราวกะว่าสีทอง และประกอบด้วยลักษณะอันเลิศ เมื่อเจริญวัยขึ้นแล้วก็ได้เป็นพญาแห่งนกยูง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    วันหนึ่ง พญานกยูงนั้นไปดื่มน้ำในบ่อ ได้เห็นเงารูปของตนเองในน้ำนั้นงามยิ่งกว่านกยูงทั้งหลายจึงคิดว่า ถ้าเราอยู่ร่วมกับนกยูงทั้งหลายภัยจะมีมาถึงอาตมา จำจะหลีกออกจากฝูง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>

    <o:p> </o:p>

    <o:p> </o:p>

    <o:p> </o:p>

    <o:p> </o:p>

    โมระปะริตตัง<o:p></o:p>

    ๑. อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส<o:p></o:p>
    ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง<o:p></o:p>
    เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ<o:p></o:p>
    นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา<o:p></o:p>
    อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ<o:p></o:p>
    ๒. อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส<o:p></o:p>
    ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง<o:p></o:p>
    เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ<o:p></o:p>
    นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา<o:p></o:p>
    อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ.[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
    อาฏานาฏิยะปะริตตัง<o:p></o:p>

    วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต<o:p></o:p>
    สิขิสสะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปิโน<o:p></o:p>
    เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ ตะปัสสิโน<o:p></o:p>
    นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน<o:p></o:p>
    โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พราหมะณัสสะ วุสีมะโต<o:p></o:p>
    กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ<o:p></o:p>
    อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักยะปุตตัสสะ สีรีมะโต<o:p></o:p>
    โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง<o:p></o:p>
    เย จาปิ นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปัสสิสุง<o:p></o:p>
    เต ชะนา อะปิสุณา มะหันตา วีตะสาระทา<o:p></o:p>
    หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง<o:p></o:p>
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง<o:p></o:p>
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ.<o:p></o:p>
    อาฏานาฏิยปริตร (นะโม เม สัพพะพุทธานัง)<o:p></o:p>

    นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปันนานัง มะเหสินัง<o:p></o:p>
    ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส<o:p></o:p>
    สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร ชุตินธะโร<o:p></o:p>
    โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริ สาสะโภ<o:p></o:p>
    สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน<o:p></o:p>
    โสภีโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม<o:p></o:p>
    ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท วะระสาระถี<o:p></o:p>
    ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล<o:p></o:p>
    สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิยะทัสสี นะราสะโภ<o:p></o:p>
    อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท<o:p></o:p>
    สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร<o:p></o:p>
    ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิปัสสี จะ อะนูปะโม<o:p></o:p>
    สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขาทายะโก<o:p></o:p>
    กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห<o:p></o:p>
    กัสสะโป สิริสัมปันโน โคตะโม สักยะปุงคะโว.<o:p></o:p>
    อังคุลิมาละปะริตตัง<o:p></o:p>

    ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตา ฯ เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ โสตถิ คัพภัสสะ.<o:p></o:p>
    โพชฌังคะปะริตตัง<o:p></o:p>

    โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา<o:p></o:p>
    วิริยัมปีติปัสสัทธิ- โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร<o:p></o:p>
    สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา<o:p></o:p>
    มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา<o:p></o:p>
    สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ<o:p></o:p>
    เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง<o:p></o:p>
    คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ<o:p></o:p>
    เต จะ ตัง อะภินันทิตวา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ<o:p></o:p>
    เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญนาภิปีฬิโต<o:p></o:p>
    จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปตวานะ สาทะรั ง<o:p></o:p>
    สัมโมทิตวา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ<o:p></o:p>
    ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ มะเหสินัง<o:p></o:p>
    มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปัตตานุปปัตติธัมมะตัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.<o:p></o:p>
    วัฏฏะกะปะริตตัง<o:p></o:p>

    อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา<o:p></o:p>
    เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง<o:p></o:p>
    อาวัชชิตวา ธัมมะพะลัง สะริตวา ปุพพะเก ชิเน<o:p></o:p>
    สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง<o:p></o:p>
    สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติ ปาทา อะวัญจะนา<o:p></o:p>
    มาตา ปิตา จะ นิกขันตา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ<o:p></o:p>
    สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต สิขี<o:p></o:p>
    วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปัตวา ยะถา สิขี<o:p></o:p>
    สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ[FONT=&quot].[/FONT]<o:p></o:p>
    อะภะยะปะริตตัง<o:p></o:p>

    ๑. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท<o:p></o:p>
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๒. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท<o:p></o:p>
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ<o:p></o:p>
    ๓. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท<o:p></o:p>
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. สักกัตวา พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง<o:p></o:p>
    หิตัง เทวะมะนุสสานัง พุทธะเตเชนะ โสตถินา<o:p></o:p>
    นัสสันตุปัททะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต<o:p></o:p>
    ๒. สักกัตวา ธัมมะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง<o:p></o:p>
    ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา<o:p></o:p>
    นัสสันตุปัททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เต<o:p></o:p>
    ๓. สักกัตวา สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง<o:p></o:p>
    อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา<o:p></o:p>
    นัสสันตุปัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง<o:p></o:p>
    ๒. นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง<o:p></o:p>
    ๓. นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ<o:p></o:p>
    ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต<o:p></o:p>
    ๒. ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ<o:p></o:p>
    ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต<o:p></o:p>
    ๓. ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ<o:p></o:p>
    ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัสมา โสตถี ภะวันตุ เต.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เทวะตาอุยโยชะนะคาถา<o:p></o:p>

    ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา<o:p></o:p>
    โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน<o:p></o:p>
    เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง<o:p></o:p>
    สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสัทธิยา<o:p></o:p>
    ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา<o:p></o:p>
    ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง<o:p></o:p>
    อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<o:p></o:p>
    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<o:p></o:p>
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<o:p></o:p>
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.<o:p></o:p>
    หรือจะขึ้น<o:p></o:p>
    นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา<o:p></o:p>
    ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว<o:p></o:p>
    นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา<o:p></o:p>
    ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว<o:p></o:p>
    นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา<o:p></o:p>
    ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว.<o:p></o:p>
    ถวายพรพระ<o:p></o:p>

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (ว่า ๓ หน)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู <o:p></o:p>
    อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ<o:p></o:p>
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิ โก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ <o:p></o:p>
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<o:p></o:p>
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.<o:p></o:p>
    บทพาหุง ฯ<o:p></o:p>

    ๑. พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง<o:p></o:p>
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๒.[FONT=&quot] [/FONT]มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง<o:p></o:p>
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๓.[FONT=&quot] [/FONT]นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง<o:p></o:p>
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๔.[FONT=&quot] [/FONT]อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง<o:p></o:p>
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๕.[FONT=&quot] [/FONT]กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ<o:p></o:p>
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๖.[FONT=&quot] [/FONT]สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง<o:p></o:p>
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๗.[FONT=&quot] [/FONT]นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต<o:p></o:p>
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๘.[FONT=&quot] [/FONT]ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง<o:p></o:p>
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<o:p></o:p>
    ๙.[FONT=&quot] [/FONT]เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที<o:p></o:p>
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ<o:p></o:p>
    ชะยะปริตร<o:p></o:p>

    มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณิณัง<o:p></o:p>
    ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ<o:p></o:p>
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน<o:p></o:p>
    เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล<o:p></o:p>
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร<o:p></o:p>
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ<o:p></o:p>
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง<o:p></o:p>
    สุกขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ<o:p></o:p>
    ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง<o:p></o:p>
    ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา<o:p></o:p>
    ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<o:p></o:p>
    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<o:p></o:p>
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<o:p></o:p>
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<o:p></o:p>
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต.[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
     
  5. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๓ พระสูตร

    หมวดที่ ๓ พระสูตร

    <o:p> </o:p>
    บทขัดธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสูตร<o:p></o:p>

    อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง สัมพุชฌิต๎วา ตะถาคะโต<o:p></o:p>
    ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง<o:p></o:p>
    สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตติยัง<o:p></o:p>
    ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฏิปัตติ จะ มัชฌิมา<o:p></o:p>
    จะตูส๎วาริยะสัจเจสุ วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง<o:p></o:p>
    เทสิตัง ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง<o:p></o:p>
    นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง<o:p></o:p>
    เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตันตัมภะณามะ เส<o:p></o:p>
    ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง<o:p></o:p>

    เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ <o:p></o:p>
    ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ<o:p></o:p>
    เท๎วเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ทุกโข<o:p></o:p>
    อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ<o:p></o:p>
    เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ <o:p></o:p>
    อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ<o:p></o:p>
    สังวัตตะติ ฯ<o:p></o:p>
    กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ<o:p></o:p>
    อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสมาธิ ฯ<o:p></o:p>
    อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ฯ ชาติปิ ทุกขา ชะราปิทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง โสกะปะริเทวะ ทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจั ง ฯ ยายัง ตั ณหา โปโนพภะวิกา <o:p></o:p>
    นันทิราคะสะหะคะตา ตัตระ ตัตราภินันทินี ฯ เสยยะถี ทัง ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา <o:p></o:p>
    วิภะวะตัณหา ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ฯ โย ตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ อะนาละโย ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทัง ฯ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต<o:p></o:p>
    สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมาสมาธิ<o:p></o:p>
    อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ นะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุ<o:p></o:p>
    เตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก <o:p></o:p>
    อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ <o:p></o:p>
    ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุ พเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว ปุ พเพ อะนะนุสสุเตสุ <o:p></o:p>
    ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณังอุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ<o:p></o:p>
    อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ<o:p></o:p>
    อาโลโก อุทะปาทิ ฯ<o:p></o:p>
    ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ<o:p></o:p>
    เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ<o:p></o:p>
    ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง <o:p></o:p>
    ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ ฯ<o:p></o:p>
    อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรัหมะเก สัสสะมะณะพราหมะณิยา <o:p></o:p>
    ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ<o:p></o:p>
    ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา เม วิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ<o:p></o:p>
    อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิ ยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุ ง ฯ อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ ฯ<o:p></o:p>
    ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะวา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ<o:p></o:p>
    ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ <o:p></o:p>
    จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา<o:p></o:p>
    ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุ ง ฯ ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา<o:p></o:p>
    ยามา เทวา สั ททะมะนุสสาเวสุง ฯ ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา<o:p></o:p>
    ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุ ง ฯ ตุสิตานั ง เทวานัง สัททัง สุตวา<o:p></o:p>
    นิมมานะระตี เทวา สั ททะมะนุสสาเวสุง ฯ นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา<o:p></o:p>
    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัทะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง <o:p></o:p>
    พรัหมะ กายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา<o:p></o:p>
    พรัหมะ ปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา พรัหมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ พรัหมะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา มะหาพรัหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ มะหาพรัหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา <o:p></o:p>
    ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง
    สุตวา <o:p></o:p>
    สุภะกิณหะกา เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ฯ สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา <o:p></o:p>
    อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา <o:p></o:p>
    อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง ฯ อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา <o:p></o:p>
    สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา <o:p></o:p>
    สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
    อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ฯ <o:p></o:p>
    เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรัหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ ฯ
    อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรัหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิฯ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิฯ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง ฯ อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ ฯ
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]--><o:p></o:p>
    บทขัดอะนัตตะลักขะณะสูตร<o:p></o:p>

    ยันตัง สัตเตหิ ทุกเขนะ เญยยัง อะนัตตะลักขะณัง<o:p></o:p>
    อัตตะวาทาตตะสัญญานัง สัมมะเทวะ วิโมจะนัง<o:p></o:p>
    สัมพุทโธ ตัง ปะกาเสสิ ทิฏฐะสัจจานะ โยคินัง<o:p></o:p>
    อุตตะริง ปะฏิเวธายะ ภาเวตุง ญาณะมุตตะมัง<o:p></o:p>
    ยันเตสัง ทิฏฐะธัมมานัง ญาเณนุปะปะริกขะตัง<o:p></o:p>
    สัพพาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสุ อะเสสะโต<o:p></o:p>
    ตะถา ญาณานุสาเรนะ สาสะนัง กาตุมิจฉะตัง<o:p></o:p>
    สาธูนัง อัตถะสิทธัตถัง ตัง สุตตันตัง ภะณามะ เส<o:p></o:p>
    อะนัตตะลักขะณะสุตตัง<o:p></o:p>

    เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ <o:p></o:p>
    รูปัง ภิกขะเว อะนัตตา ฯ รูปัญจะหิ ทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง รูปัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ รูเป เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อะโหสีติ ยัสมา จะ โข ภิกขะเว รูปัง อะนัตตา ตัสมา รูปัง อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ ลัพภะติ รูเป เอวัง เม รูปัง โหตุ เอวัง เม รูปัง มา อะโหสีติ ฯ<o:p></o:p>
    เวทะนา อะนัตตา ฯ เวทะนา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง เวทะนา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ ฯ<o:p></o:p>
    ยัสมา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อะนัตตา ตัสมา เวทะนา อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ ลัพภะติ เวทะนายะ เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ ฯ<o:p></o:p>
    สัญญา อะนัตตา ฯ สัญญา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง สัญญา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ สัญญายะ เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ ฯ <o:p></o:p>
    ยัสมา จะ โข ภิกขะเว สัญญา อะนัตตา ตัสมา สัญญา อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ ลัพภะติ สัญญายะ เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ ฯ<o:p></o:p>
    สังขารา อะนัตตา ฯ สังขารา จะ หิทั ง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสังสุ นะยิทัง สังขารา อาพาธายะ สังวัตเตยยุง ลัพเภถะ จะ สังขาเรสุ เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา<o:p></o:p>
    อะเหสุนติ ฯ <o:p></o:p>
    ยัสมา จะ โข ภิกขะเว สังขารา อะนัตตา ตัสมา สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ นะ จะ ลัพภะติ สังขาเรสุ เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ ฯ<o:p></o:p>
    วิญญาณัง อะนัตตา ฯ วิญญาณัญจะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ นะยิทัง วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ ลัพเภถะ จะ วิญญาเณ เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา<o:p></o:p>
    อะโหสีติ ฯ <o:p></o:p>
    ยัสมา จะ โข ภิกขะเว วิญญาณัง อะนัตตา ตัสมา วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตตะติ นะ จะ ลัพภะติ วิญญาเณ เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อะโหสีติ ฯ<o:p></o:p>
    ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว รูปัง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ อะนิจจัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ <o:p></o:p>
    ยัมปะนานิจจัง ทุกขั ง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ<o:p></o:p>
    ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว เวทะนา นิจจา วา อะนิจจา วาติ อะนิจจา ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ <o:p></o:p>
    ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ<o:p></o:p>
    ตังกิง มัญญะถะ ภิกขะเว สัญญา นิจจา วา อะนิจจา วาติ อะนิจจา ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ <o:p></o:p>
    ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ<o:p></o:p>
    ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สังขารา นิจจา วา อะนิจจา วาติ อะนิจจา ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ <o:p></o:p>
    ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ<o:p></o:p>
    ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญาณัง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ อะนิจจัง ภันเต ฯ ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ ฯ ทุกขัง ภันเต ฯ <o:p></o:p>
    ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง กัลลัง นุตัง สะมะนุปัสสิตุง เอตัง มะมะ เอโสหะมัสมิ เอโส เม อัตตาติ ฯ โน เหตัง ภันเต ฯ<o:p></o:p>
    ตัสมาติหะ ภิกขะเว ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยันทูเร สันติเก วา สัพพัง รูปัง เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ<o:p></o:p>
    ยา กาจิ เวทะนา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปะณีตา วา ยา ทูเร สันติเก วา สัพพา เวทะนา เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ<o:p></o:p>
    ยา กาจิ สัญญา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปะณีตา วา ยา ทูเร สันติเก วา สัพพา สัญญา เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส<o:p></o:p>
    อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ<o:p></o:p>
    เย เกจิ สังขารา อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนา อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา โอฬาริกา วา สุขุมา วา หีนา วา ปะณีตา วา เย ทูเร สันติเก วา สัพเพ สังขารา เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ<o:p></o:p>
    ยังกิญจิ วิญญาณัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยันทูเร สันติเก วา สัพพัง วิญญาณัง เนตัง มะมะ เนโสหะมัสมิ นะ เมโส อัตตาติ ฯ เอวะเมตัง ยะถาภูตัง สัมมัปปัญญายะ ทัฏฐัพพัง ฯ<o:p></o:p>
    เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุตวา อะริยะสาวะโก รูปัสมิงปิ นิพพินทะติ เวทะนายะปิ นิพพินทะติ สัญญายะปิ นิพพินทะติ สังขาเรสุปิ นิพพินทะติ วิญญาณัสมิงปิ นิพพินทะติ ฯ นิพพินทัง วิรัชชะติ ฯ วิราคา วิมุจจะติ ฯ วิมุตตัสมิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ ขีณา ชาติ วุสิตัง พรัหมะจะริยัง กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ฯ<o:p></o:p>
    อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ<o:p></o:p>
    อิมัสมิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัสมิง ภัญญะมาเน ปัญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดอาทิตตะปะริยายะสูตร<o:p></o:p>

    เวเนยยะทะมะโนปาเย สัพพะโส ปาริมิง คะโต<o:p></o:p>
    อะโมฆะวะจะโน พุทโธ อะภิญญายานุสาสะโก<o:p></o:p>
    จิณณานุรูปะโต จาปิ ธัมเมนะ วินะยัง ปะชัง<o:p></o:p>
    จิณณาคคิปาริจะริยานัง สัมโพชฌาระหะโยคินัง<o:p></o:p>
    ยะมาทิตตะปะริยายั ง เทสะยันโต มะโนหะรัง<o:p></o:p>
    เต โสตาโร วิโมเจสิ อะเสกขายะ วิมุตติยา<o:p></o:p>
    ตะเถโวปะปะริกขายะ วิญญูนัง โสตุมิจฉะตัง<o:p></o:p>
    ทุกขะตาลักขะโณปายัง ตัง สุตตันตัง ภะณามะ เส<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อาทิตตะปะริยายะสุตตัง<o:p></o:p>

    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา คะยายัง วิหะระติ คะยาสีเส สัทธิง ภิกขุสะหัสเสนะฯ<o:p></o:p>
    ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ฯ<o:p></o:p>
    สัพพัง ภิกขะเว อาทิตตัง ฯ กิญจะ ภิกขะเว สัพพัง อาทิตตัง ฯ จักขุง ภิกขะเว อาทิตตัง รูปา อาทิตตา จักขุวิญญาณัง อาทิตตัง จักขุ สัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง จักขุ สัมผัสสะปัจจะยา<o:p></o:p>
    อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ<o:p></o:p>
    ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ<o:p></o:p>
    โสตัง อาทิตตัง สัททา อาทิตตา โสตะวิญญาณัง อาทิตตัง โสตะสัมผัสโส อาทิตโต <o:p></o:p>
    ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ<o:p></o:p>
    ฆานัง อาทิตตัง คันธา อาทิตตา ฆานะวิญญาณัง อาทิตตัง ฆานะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ<o:p></o:p>
    อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ<o:p></o:p>
    ชิวหา อาทิตตา ระสา อาทิตตา ชิวหาวิญญาณัง อาทิตตัง ชิวหาสัมผัสโส อาทิตโต <o:p></o:p>
    ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ<o:p></o:p>
    อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริ เทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ<o:p></o:p>
    กาโย อาทิตโต โผฏฐัพพา อาทิตตา กายะวิญญานัง อาทิตตัง กายะสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ<o:p></o:p>
    อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ ฯ<o:p></o:p>
    มะโน อาทิตโต ธัมมา อาทิตตา มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง มะโนสัมผัสโส อาทิตโต ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัมปิ<o:p></o:p>
    อาทิตตัง ฯ เกนะ อาทิตตัง ฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ<o:p></o:p>
    เอวัง ปัสสัง ภิกขะเว สุตวา อะริยะสาวะโก จักขุส๎มิงปิ นิพพินทะติ รูเปสุปิ นิพพินทะติ จักขุวิญญาเณปิ นิพพินทะติ จักขุ สัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง จักขุสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ<o:p></o:p>
    โสตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ สัทเทสุปิ นิพพินทะติ โสตะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ โสตะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง โสตะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา<o:p></o:p>
    ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ<o:p></o:p>
    ฆานัส๎มิงปิ นิพพินทะติ คันเธสุปิ นิพพินทะติ ฆานะ วิญญาเณปิ นิพพินทะติ ฆานะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง ฆานะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา<o:p></o:p>
    ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ<o:p></o:p>
    ชิวหายะปิ นิพพินทะติ ระเสสุปิ นิพพินทะติ ชิวหาวิญญาเณปิ นิพพินทะติ <o:p></o:p>
    ชิวหาสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง ชิวหาสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา<o:p></o:p>
    ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ<o:p></o:p>
    กายัส๎มิงปิ นิพพินทะติ โผฏฐัพเพสุปิ นิพพินทะติ กายะวิญญาเณปิ นิพพินทะติ <o:p></o:p>
    กายะสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง กายะสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา<o:p></o:p>
    ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ<o:p></o:p>
    มะนัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ธัมเมสุปิ นิพพินทะติ มะโนวิญญาเณปิ นิพพินทะติ มะโนสัมผัสเสปิ นิพพินทะติ ยัมปิทัง มะโนสัมผัสสะปัจจะยา อุปปัชชะติ เวทะยิตัง สุขัง วา<o:p></o:p>
    ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา ตัส๎มิงปิ นิพพินทะติ ฯ<o:p></o:p>
    นิพพินทัง วิรัชชะติ ฯ วิราคา วิมุจจะติ ฯ วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ ขีณา ชาติ วุสิตัง พรัหมะจะริยัง กะตัง กะระณียัง นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ ฯ<o:p></o:p>
    อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน ตัสสะ ภิกขุสะหัสสัสสะ อะนุปาทายะ อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดสติปัฏฐานะปาฐะ<o:p></o:p>

    สัมพุทโธ ทิปะทังเสฏโฐ มะหาการุณิโก มุนิ<o:p></o:p>
    เอกายะนัง มัคคัง นามะ เวเนยยานัง อะเทสะยิ<o:p></o:p>
    กิลิฏฐะจิตตะสัตตานัง จิตตัก๎เลสะวิสุทธิยา<o:p></o:p>
    โสกานัง ปะริเทวานัง อะติกกะมายะ สัพพะโส<o:p></o:p>
    ทุกขานัง โทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ อัฏฐิตัง<o:p></o:p>
    ญายัสเสวาธิคะมายะ นิพพานัสสาภิปัตติยา<o:p></o:p>
    สะติปัฏฐานะนาเมนะ วิสสุตัง อิธะ สาสะเน<o:p></o:p>
    จิตตัก๎เลสะวิสุทธัตถัง ตัง มัคคันตัมภะณามะ เส<o:p></o:p>
    สะติปัฏฐานะปาโฐ<o:p></o:p>

    อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ เอกายะโน อะยัง มัคโค สัมมะทักขาโต สัตตานัง วิสุทธิยา โสกะปะริเทวานัง. สะมะติกกะมายะ ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ ญายัสสะ อะธิคะมายะ นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานา, กะตะเม จัตตาโร.<o:p></o:p>
    อิธะ ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก <o:p></o:p>
    อะภิชฌาโทมะนัสสัง. เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ<o:p></o:p>
    โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ อาตาปี สัมปะชาโน สะติมา วิ เนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง.<o:p></o:p>
    กะถัญจะ ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี <o:p></o:p>
    วิหะระติ พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะ พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ ยาวะเทวะญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะจะ กิญจิ โลเก <o:p></o:p>
    อุปาทิ ยะติ. เอวัง โข ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ.<o:p></o:p>
    กะถัญจะ ภิกขุ เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ . อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ พะหิทธา วา เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา<o:p></o:p>
    เวทะนาสุ เวทะนานุปัสสี วิหะระติ สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา เวทะนาสุ วิหะระติ วะยะธัมมานุปัสสี วา เวทะนาสุ วิหะระติ สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา เวทะนาสุ วิหะระติ อัตถิ เวทะนาติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิ ตา โหติ ยาวะเทวะญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ เวทะนาสุเวทะนานุปัสสี วิหะระติ.<o:p></o:p>
    กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัส๎มิง วิหะระติ วะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัส๎มิง วิหะระติ สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา จิตตัส๎มิง วิหะระติ อัตถิ จิตตันติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ<o:p></o:p>
    ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะจะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ จิตเต จิตตานุปัสสี วิหะระติ.<o:p></o:p>
    กะถัญจะ ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ พะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี<o:p></o:p>
    วิหะระติ. สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ วะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ <o:p></o:p>
    สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา ธัมเมสุ วิหะระติ อัตถิ ธัมมาติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะฏิสสะติมัตตายะ อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปัสสี วิหะระติ.<o:p></o:p>
    อะยัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ เอกายะโน มัคโค สัมมะทักขาโต สั ตตานัง วิสุทธิยา โสกะปะริเทวานั ง สะมะติกกะมายะ ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ ญายัสสะ อะธิคะมายะ นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ ยะทิทัง จัตตาโร สะติปัฏฐานาติ.<o:p></o:p>
    เอกายะนัง ชาติขะยันตะทัสสี มัคคัง ปะชานาติ หิตานุกัมปี<o:p></o:p>
    เอเตนะ มัคเคนะ ตะริงสุ ปุพเพ ตะริสสะเร เจวะ ตะรันติ โจฆันติ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    บทขัดธะชัคคะปะริตตัง ธะชัคคะสุตตัง<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ยัสสานุสสะระเณนาปิ อันตะลิกเขปิ ปาณิโน<o:p></o:p>
    ปะติฏฐะมะธิคัจฉันติ ภูมิยัง วิยะ สัพพะทา<o:p></o:p>
    สัพพูปัททะวะชาลัมหา ยักขะโจราทิสัมภะวา<o:p></o:p>
    คะณะนา นะ จะ มุตตานัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ธะชัคคะปะริตตัง ธะชัคคะสุตตัง<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต<o:p></o:p>
    ปัจจัสโสสุงฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ<o:p></o:p>
    ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปัพ๎ยุฬโห อะโหสิฯ อะถะโข ภิกขะเว สักโก เทวานะมินโท เทเว ตาวะติงเส อามันเตสิ สะเจ มาริสา เทวานัง สังคามะคะตานัง อุปปัชเชยยะ<o:p></o:p>
    ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัส๎มิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ เม ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ <o:p></o:p>
    อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ ปะชาปะติสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคั ง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส<o:p></o:p>
    ปะหิยยิสสะติ โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ<o:p></o:p>
    อะถะ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ วะรุณัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ<o:p></o:p>
    อะถะ อีสานัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อีสานัสสะ หิ โว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะตีติ<o:p></o:p>
    ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วา เทวานะมินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ปะชาปะติสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตั ง วะรุณัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง<o:p></o:p>
    อุลโลกะยะตัง อีสานัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหัง โส วา โส ปะหิยเยถาปิ โนปิ ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะ เหตุ สักโก หิ ภิกขเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส อะวีตะโมโห ภิรุ ฉัมภี อุต๎ราสี ปะลายีติ ฯ<o:p></o:p>
    อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมหากัง ภิกขเว อะรัญญะคะตานัง วา รุกขะมูละคะตานัง วา สุญญาคาระคะตานัง วา อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉิมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย อะนุสสะเรยยาถะ<o:p></o:p>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะมัง หิ โว ภิกขะเว<o:p></o:p>
    อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหัง โส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ มัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ<o:p></o:p>
    ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ธัมมัง หิโว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ สังฆัง อะนุสสะเรยยาถะ<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ <o:p></o:p>
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง <o:p></o:p>
    จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ<o:p></o:p>
    สังเฆ หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ ตัง กิสสะ เหตุ ตะถาคะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วีตะราโค<o:p></o:p>
    วีตะโทโส วีตะโมโห อะภิรุ อัจฉัมภี อะนุต๎ราสี อะปะลายีติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อิทัง <o:p></o:p>
    วัต๎วานะ สุคะโต อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา<o:p></o:p>
    อะรัญเญ รุกขะมูเล วา สุญญาคาเร วะ ภิกขะโว<o:p></o:p>
    อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากะ โน สิยา<o:p></o:p>
    โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะเชฏฐัง นะราสะภัง<o:p></o:p>
    อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง<o:p></o:p>
    โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง<o:p></o:p>
    อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรัง<o:p></o:p>
    เอวัมพุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว<o:p></o:p>
    ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส นะ เหสสะตีติ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เมตตานิสังสะสุตตะปาโฐ<o:p></o:p>

    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต<o:p></o:p>
    ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ<o:p></o:p>
    เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิ ตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ <o:p></o:p>
    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิ สังสา ปาฏิกังขาฯ<o:p></o:p>
    กะตะเม เอกาทะสะฯ สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติฯ นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติฯ มะนุสสานัง ปิโย โหติ ฯ อะมะนุสสานัง ปิโย โหติฯ เทวะตา รักขันติฯ นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติฯ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิ ยะติ ฯ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ ฯ อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ ฯ<o:p></o:p>
    อุตตะริง อัปปะฏิวัชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ ฯ<o:p></o:p>
    เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ <o:p></o:p>
    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวาฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ<o:p></o:p>
     
  6. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๔ สวดพุทธมนต์

    สวดแจง<o:p></o:p>

    พระวินั ย<o:p></o:p>

    ยันเตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ ปะฐะมัง ปาราชิกัง กัตถะ ปัญญัตตันติ ฯ เวสาลิยัง ปัญญัตตันติ ฯ กัง อารัพภาติ ฯ สุทินนัง กะลันทะปุตตัง<o:p></o:p>
    อารัพภาติ ฯ กัส๎มิง วัตถุส๎มินติ ฯ สุทินโน กะลันทะปุตโต ปุราณะทุติยิกายะ เมถุนัง ธัมมัง ปะฏิเสวิ ตัส๎มิง วัตถุส๎มินติ ฯ<o:p></o:p>
    เตนะ สะมะเยนะ พุทโธ ภะคะวา เวรัญชายัง วิหะระติ นะ เฬรุปุจิมันทะมูเล มะหะตา ภิกขุ สังเฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ ฯ<o:p></o:p>
    อัสโสสิ โข เวรัญโช พราหมะโณ สะมะโณ ขะลุ โภ โคตะโม สัก๎ยะปุตโต สัก๎ยะกุลา <o:p></o:p>
    ปัพพะชิโต เวรัญชายัง วิหะระติ นะ เฬรุปุจิมันทะมูเล มะหะตา ภิกขุ สังเฆนะ สัทธิ ง ปัญจะมัตเตหิ<o:p></o:p>
    ภิกขุสะเตหิ<o:p></o:p>
    ตังโข ปะนะ ภะวันตัง โคตะมัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติ สัทโท อัพภุคคะโต อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ<o:p></o:p>
    โส อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทติ โส ธัมมัง เทเสติ อาทิกัล๎ยาณัง มัชเฌกัล๎ยาณัง ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พรัหมะจะริยัง <o:p></o:p>
    ปะกาเสติ ฯ<o:p></o:p>
    สาธุ โข ปะนะ ตะถารูปานัง อะระหะตัง ทัสสะนัง โหตีติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระสูตร<o:p></o:p>

    เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา อันตะรา จะ ราชะคะหัง อันตะรา จะ นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปันโน โหติ มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ สัทธิง ปัญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ ฯ<o:p></o:p>
    สุปปิโยปิ โข ปะริพพาชะโก อันตะรา จะ ราชะคะหัง อันตะรา จะ นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปันโน โหติ สัทธิง อันเตวาสินา พรัหมะทัตเตนะ มาณะเวนะ ฯ ตัต๎ระ สุทัง สุปปิโย <o:p></o:p>
    ปะริพพาชะโก อะเนกะปะริยาเยนะ พุทธัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ ธัมมัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ <o:p></o:p>
    สังฆัสะ อะวัณณัง ภาสะติ ฯ สุปปิยัสสะ ปะนะ ปะริพพาชะกัสสะ อันเตวาสี พรัหมะทัตโต <o:p></o:p>
    มาณะโว อะเนกะปะริยาเยนะ พุทธัสสะ วัณณัง ภาสะติ ธัมมัสสะ วัณณัง ภาสะติ สังฆัสสะ <o:p></o:p>
    วัณณัง ภาสะติ ฯ อิติหะ เต อุ โภ อาจะริยันเตวาสี อัญญะมัญญัสสะ อุชุวิปัจจะนิกะวาทา<o:p></o:p>
    ภะคะวันตัง ปิฏฐิโต ปิฏฐิโต อะนุพันธา โหนติ ภิกขุสังฆัญจะ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระอภิธรรม (๗ คัมภีร์)<o:p></o:p>

    ๑. พระสังคิณี<o:p></o:p>

    กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา ฯ กะตะเม ธัมมา กุสะลา ฯ ยัสมิง <o:p></o:p>
    สะมะเย กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง<o:p></o:p>
    รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คันธารัมมะณัง วา ระสารัมมะณัง วา โผฏฐัพพารัมมะณัง วา ธัมมารัมมะณัง วา ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ เย วา <o:p></o:p>
    ปะนะ ตัสมิง สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปันนา อะรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา.<o:p></o:p>
    ๒. พระวิภังค์<o:p></o:p>

    ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ ฯ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ ฯ ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร วา สันติเก วา ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิตวา อะภิสังขิปิตวา อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๓. พระธาตุกะถา<o:p></o:p>

    สังคะโห อะสังคะโห ฯ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง ฯ สัมปะโยโค วิปปะโยโค สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง.<o:p></o:p>
    ๔. พระปุคคะละปัญญัตติ<o:p></o:p>

    ฉะ ปัญญัตติ โย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ <o:p></o:p>
    อินทริยะปัญญัตติ ปุคคะละปัญญัตติฯ กิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติฯ สะมะยะวิมุโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตะนาภัพโพ<o:p></o:p>
    อะนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภัพพาคะมะโน อะภั พพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปะฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปันโน.<o:p></o:p>
    ๕. พระกะถาวัตถุ<o:p></o:p>

    ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ อามันตา ฯ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ <o:p></o:p>
    ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ ฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ ฯ อาชานาหิ<o:p></o:p>
    นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ วะตะ เร วัตตัพเพ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ ฯ มิจฉา.<o:p></o:p>
    ๖. พระยะมะกะ<o:p></o:p>

    เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา ฯ เย วา ปะนะกุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา <o:p></o:p>
    กุสะลา ฯ เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ<o:p></o:p>
    เอกะมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา.<o:p></o:p>
    ๗. พระมะหาปัฏฐาน<o:p></o:p>

    เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อะธิปะติปัจจะโย อะนันตะระปัจจะโย <o:p></o:p>
    สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสสะยะปัจจะโย <o:p></o:p>
    อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย<o:p></o:p>
    กัมมะปัจจะโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย<o:p></o:p>
    อะวิคะตะปัจจะโย.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คำบังสกุลศพหรืออัฐิ (บังสุกุลตาย)<o:p></o:p>

    แบบมหานิกาย<o:p></o:p>

    อะนิจจา วะตะ สังขารา อุปปาทะวะยะธัมมิโน, อุปปัชชิต๎วา นิรุชฌันติ เตสัง วูปะสะโม สุโขฯ<o:p></o:p>
    แบบธรรมยุต<o:p></o:p>

    อะนิจจา วะตะ สังขารา อุปปาทะวะยะธัมมิโน, อุปปัชชิต๎วา นิรุชฌันติ เตสัง วูปะสะโม สุโขฯ<o:p></o:p>
    สัพเพ สัตตา มะรันติ จะ มะริงสุ จะ มะริสะเร ตะเถวาหัง มะริสสามิ นัตถิ เม เอตถะ สังสะโยฯ<o:p></o:p>
    คำบังสุกุลคนเป็น<o:p></o:p>

    อะจิรัง วะตะยัง กาโย ปะฐะวิง อะธิเสสสะติ ฉุฑโฑ อะเปตะวิญญาโณ นิรัตถังวะ กะลิงคะรัง.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    มาติกา<o:p></o:p>

    กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา ฯ <o:p></o:p>
    สุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ทุกขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา อะทุกขะมะสุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    วิปากา ธัมมา วิปากะธัมมะธัมมา เนวะวิปากะนะวิปากะธัมมะธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา อะนุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา อะนุปาทินนานุปาทานิยา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกา ธัมมาฯ<o:p></o:p>
    สะวิตักกะสะวิจารา ธัมมา อะวิตักกะวิจาระมัตตา ธัมมา อะวิตักกาวิจารา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    ปีติสะหะคะตา ธัมมา สุขะสะหะคะตา ธัมมา อุเปกขาสะหะคะตา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพา ธัมมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ภาวะนายะปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา <o:p></o:p>
    เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อาจะยะคามิโน ธัมมา อะปะจะยะคามิโน ธัมมา เนวาจะยะคามิโน นาปะจะยะคามิโน <o:p></o:p>
    ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    เสกขา ธัมมา อะเสกขา ธัมมา เนวะเสกขานาเสกขา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    ปะริตตา ธัมมา มะหัคคะตา ธัมมา อัปปะมาณา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    ปะริตตารัมมะณา ธัมมา มะหัคคะตารัมมะณา ธัมมา อัปปะมาณารัมมะณา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    หีนา ธัมมา มัชฌิมา ธัมมา ปะณีตา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    มิจฉัตตะนิยะตา ธัมมา สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา อะนิยะตา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    มัคคารัมมะณา ธัมมา มัคคะเหตุกา ธัมมา มัคคาธิปะติโน ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อุปปันนา ธัมมา อะนุปปันนา ธัมมา อุปปาทิโน ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อะตีตา ธัมมา อะนาคะตา ธัมมา ปัจจุปปันนา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อะตีตารัมมะณา ธัมมา อะนาคะตา รัมมะณา ธัมมา ปัจจุปปันนารัมมะณา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อัชฌัตตา ธัมมา พะหิทธา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    อัชฌัตตารัมมะณา ธัมมา พะหิทธารัมมะณา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธารัมมะณา ธัมมา ฯ<o:p></o:p>
    สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา อะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมาฯ<o:p></o:p>
    วิปัสสะนาภูมิปาฐะ<o:p></o:p>

    ปัญจักขันธาฯ รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธฯ<o:p></o:p>
    ท๎วาทะสายะตะนานิ ฯ จักข๎วายะตะนัง รูปายะตะนัง โสตายะตะนัง สัททายะตะนัง <o:p></o:p>
    ฆานายะตะนัง คันธายะตะนัง ชิวหายะตะนัง ระสายะตะนัง กายายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง<o:p></o:p>
    มะนายะตะนัง ธัมมายะตะนัง ฯ<o:p></o:p>
    อัฏฐาระสะ ธาตุโย ฯ จักขุธาตุ รูปะธาตุ จักขุวิญญาณะธาตุ โสตะธาตุ สัททะธาตุ โสตะวิญญาณะธาตุ ฆานะธาตุ คันธะธาตุ ฆานะวิญญาณะธาตุ ชิวหาธาตุ ระสะธาตุ ชิวหาวิญญาณธาตุ<o:p></o:p>
    กายะธาตุ โผฏฐัพพะธาตุ กายะวิญญาณะธาตุ มะโนธาตุ มะโนวิญญาณะธาตุ ฯ<o:p></o:p>
    พาวีสะตินท๎ริยานิ ฯ จักขุนท๎ริยัง โสตินท๎ริยัง ฆานินท๎ริยัง ชิวหินท๎ริยัง กายินท๎ริยัง <o:p></o:p>
    มะนินท๎ริยัง อิตถินท๎ริยัง ปุริสินท๎ริยัง ชีวิตินท๎ริยัง สุขินท๎ริยัง ทุกขินท๎ริยัง โสมะนัสสินท๎ริยัง<o:p></o:p>
    โทมะนัสสินท๎ริยัง อุเปกขินท๎ริยัง สัทธินท๎ริยัง วิริยันท๎ริยัง สะตินท๎ริยัง สะมาธินท๎ริยัง <o:p></o:p>
    ปัญญินท๎ ริยัง อะนัญญะตัญญัสสามีตินท๎ริยัง อัญญินท๎ริยัง อัญญาตาวินท๎ริยัง<o:p></o:p>
    จัตตาริ อะริยะสัจจานิ ฯ ทุกขัง อะริยะสัจจัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง<o:p></o:p>
    พระมะหาปัฏฐาน<o:p></o:p>

    เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อะธิปะติปัจจะโย อะนันตะระปัจจะโย <o:p></o:p>
    สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสสะยะปัจจะโย <o:p></o:p>
    อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย<o:p></o:p>
    กัมมะปัจจะโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินท๎ริยะปัจจะโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย <o:p></o:p>
    อะวิคะตะปัจจะโย.<o:p></o:p>
    อุณหิสสะวิชะยะคาถา<o:p></o:p>

    อัตถิ อุณ๎หิสสะ วิชะโย ธัมโม โลเก อะนุตตะโร <o:p></o:p>
    สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ตัง ต๎วัง คัณหาหิ เทวะเต <o:p></o:p>
    ปะริวัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนุสเสหิ ปาวะเก <o:p></o:p>
    พะยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต อะกาละมะระเณนะ วา<o:p></o:p>
    สัพพัส๎มา มะระณา มุตโต ฐะเปต๎วา กาละมาริตัง<o:p></o:p>
    ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา<o:p></o:p>
    สุทธะสีลัง สะมาทายะ ธัมมัง สุจะริตัง จะเร<o:p></o:p>
    ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา<o:p></o:p>
    ลิกขิตัง จินติตัง ปูชัง ธาระณัง วาจะนัง คะรุง<o:p></o:p>
    ปะเรสัง เทสะนัง สุต๎วา ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตีติ.<o:p></o:p>
    ปัพพะโตปะมะคาถา<o:p></o:p>

    ยะถาปิ เสลา วิปุลา นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา<o:p></o:p>
    สะมันตา อะนุปะริเยยยุง นิปโปเถนตา จะตุททิสา<o:p></o:p>
    เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ อะธิวัตตันติ ปาณิโน<o:p></o:p>
    ขัตติเย พราหมะเณ เวสเส สุทเท จัณฑาละปุกกุเส<o:p></o:p>
    นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ สัพพะเมวาภิ มัททะติ<o:p></o:p>
    นะ ตัตถะ หัตถีนัง ภูมิ นะ ระถานัง นะ ปัตติยา<o:p></o:p>
    นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ สักกา เชตุง ธะเนนะ วา<o:p></o:p>
    ตัส๎มา หิ ปัณฑิโต โปโส สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน<o:p></o:p>
    พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ธีโร สัทธัง นิเวสะเย<o:p></o:p>
    โย ธัมมะจารี กาเยนะ วาจายะ อุทะ เจตะสา<o:p></o:p>
    อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะติ[FONT=&quot].[/FONT]<o:p></o:p>
    อะริยะธะนะคาถา<o:p></o:p>

    ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา<o:p></o:p>
    สีลัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง<o:p></o:p>
    สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง<o:p></o:p>
    อะทะลิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะ ชีวิตัง<o:p></o:p>
    ตัส๎มา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง<o:p></o:p>
    อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะ สาสะนันติ.<o:p></o:p>
    บทขัดธรรมนิยามะสูตร<o:p></o:p>

    ยัง เว นิพพานะญาณัสสะ ญาณัง ปุพเพ ปะวัตตะเต<o:p></o:p>
    ตัสเสวะ วิสะยีภูตา ยายัง ธัมมะนิ ยามะตา<o:p></o:p>
    อะนิจจะตา ทุกขะตา จะ สัพเพสัง จะ อะนัตตะตา<o:p></o:p>
    ตัสสา ปะกาสะกัง สุตตัง ยัง สัมพุทเธนะ ภาสิตัง<o:p></o:p>
    สาธูนัง ญาณะจาเรนะ ยะถา พุทเธนะ เทสิตัง<o:p></o:p>
    โยนิโส ปะฏิปัต๎ยัตถัง ตัง สุตตันตัง ภะณามะ เส.<o:p></o:p>
    ธัมมะนิยามะสุตตัง<o:p></o:p>

    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต<o:p></o:p>
    ปัจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะ<o:p></o:p>
    อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ <o:p></o:p>
    ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ฯ ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ<o:p></o:p>
    อะภิสะเมติ อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ สัพเพ สังขารา อะนิจจาติฯ<o:p></o:p>
    อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานั ง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา สัพเพ สังขารา ทุกขาติฯ ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ<o:p></o:p>
    อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ <o:p></o:p>
    อุตตานีกะโรติ สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ฯ<o:p></o:p>
    อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติฯ ตัง ตะถาคะโต อะภิสัมพุชฌะติ อะภิสะเมติ<o:p></o:p>
    อะภิสัมพุชฌิต๎วา อะภิสะเมต๎วา อาจิกขะติ เทเสติ ปัญญะเปติ ปัฏฐะเปติ วิวะระติ วิภะชะติ <o:p></o:p>
    อุตตานีกะโรติ สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติฯ อิทะมะโว จะ ภะคะวาฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู <o:p></o:p>
    ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ.<o:p></o:p>
    ติลักขะณาทิคาถา<o:p></o:p>

    สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ<o:p></o:p>
    อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา<o:p></o:p>
    สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ<o:p></o:p>
    อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา<o:p></o:p>
    สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปัญญายะ ปัสสะติ<o:p></o:p>
    อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา<o:p></o:p>
    อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน<o:p></o:p>
    อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ<o:p></o:p>
    เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวัตติโน<o:p></o:p>
    เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง<o:p></o:p>
    กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะ ปัณฑิโต<o:p></o:p>
    โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง<o:p></o:p>
    ตัต๎ราภิระติมิจเฉยยะ หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน<o:p></o:p>
    ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง จิตตัก๎เลเสหิ ปัณฑิโต<o:p></o:p>
    เยสัง สัมโพธิยังเคสุ สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง<o:p></o:p>
    อาทานะปะฏินิสสัคเค อะนุปาทายะ เย ระตา<o:p></o:p>
    ขีณาสะวา ชุติมันโต เต โลเก ปะรินิพพุตาติ<o:p></o:p>
    ปะฏิจจะสะมุปปาทะปาฐะ<o:p></o:p>

    อะวิชชาปัจจะยา สังขารา สังขาระปัจจะยา วิญญาณัง วิญญาณะปัจจะยา นามะรูปัง <o:p></o:p>
    นามะรูปะปัจจะยา สะฬายะตะนัง สะฬายะตะนะปัจจะยา ผัสโส ผัสสะปัจจะยา เวทะนา<o:p></o:p>
    เวทะนาปัจจะยา ตัณหา ตัณหาปัจจะยา อุปาทานัง อุปาทานะปัจจะยา ภะโว ภะวะปัจจะยา ชาติ ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สัมภะวันติ ฯ เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ สะมุทะโย โหติ ฯ<o:p></o:p>
    อะวิชชายะเต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ ตัณหานิโรธา <o:p></o:p>
    อุปาทานะนิโรโธ อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ ชาตินิโรธา <o:p></o:p>
    ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ ฯ เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหติ.<o:p></o:p>
    พุทธะอุทานะคาถา<o:p></o:p>

    ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปิโน ฌายะโต พราหมะณัสสะ<o:p></o:p>
    อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา ยะโต ปะชานาติ สะเหตุธัมมังฯ<o:p></o:p>
    ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปิโน ฌายะโต พราหมะณัสสะ<o:p></o:p>
    อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา ยะโต ขะยัง ปัจจะยานัง อะเวทิฯ<o:p></o:p>
    ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปิโน ฌายะโต พราหมะณัสสะ<o:p></o:p>
    วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง สูโรวะ โอภาสะยะมันตะลิกขันติ.<o:p></o:p>
    ภัทเทกะรัตตะคาถา<o:p></o:p>

    อะตีตัง นานวาคะเมยยะ นัปปะฏิกังเข อะนาคะตัง<o:p></o:p>
    ยะทะตีตัมปะหีนันตัง อัปปัตตัญจะ อะนาคะตัง<o:p></o:p>
    ปัจจุปปันนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปัสสะติ<o:p></o:p>
    อะสังหิรัง อะสังกุปปัง ตัง วิทธา มะนุพ๎รูหะเย<o:p></o:p>
    อัชเชวะ กิจจะมาตัปปัง โก ชัญญา มะระณัง สุเว<o:p></o:p>
    นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา<o:p></o:p>
    เอวัง วิหาริมาตาปิง อะโหรัตตะมะตันทิตัง<o:p></o:p>
    ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุนีติ.<o:p></o:p>
    ปฐมพุทธะวะจะนะ<o:p></o:p>

    อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง<o:p></o:p>
    คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง<o:p></o:p>
    คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ<o:p></o:p>
    สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง<o:p></o:p>
    วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคาติ.[FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
     
  7. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๔ เมตตา

    พระคาถาเมตตาหลวง

    <o:p> </o:p>
    (นำ) หันทะ มะยัง เมตตาพรัหมะวิหาระภาวะนา สุตตัง ภะณา มะเส ฯ
    คำอานิสงส์แผ่เมตตา

    <o:p> </o:p>
    เอวัม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ, อาราเม, ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง, ภะคะวา เอตะทะโวจะ. เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา. อาเสวิตายะ, ภาวิตายะ, พะหุลีกะตายะ, ยานีกะตา วัตถุกะตะยะ, อะนุฏฐิตายะ, ปะริจิตายะ, สุสะมารัทธายะ, เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา. สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ, มะนุสสานัง ปิโย โหติ อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสังวา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, อะสัมมุโฬห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ.
    คำแผ่เมตตาตนเอง

    <o:p> </o:p>
    อะหัง สุขิโต โหมิ, นิททุกโข โหมิ, อะเวโร โหมิ, อัพยาปัชโฌ โหมิ, อะนีโฆ โหมิ, สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.
    คำแผ่เมตตาแก่ฝูงสัตว์ ๑๒ จำพวก<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ๑. สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๒. สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๓. สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๔. สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๕. สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๖. สัพพา อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๗. สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๘. สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๙. สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๑๐. สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๑๑. สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    ๑๒. สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
    คำกรุณาแก่ฝูงสัตว์ ๑๒ จำพวก<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    <!--[if !supportLists]-->๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ สัตตา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปาณา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๓.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ภูตา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๔.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปุคคะลา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๕.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๖.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพพา อิตถิโย อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๗.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปุริสา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๘.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อะริยา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๙.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อะนะริยา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    ๑๐. สัพเพ เทวา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    ๑๑. สัพเพ มะนุสสา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    ๑๒. สัพเพ วินิปาติกา อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา ปะมุญจันตุ, นินทา ปะมุญจันตุ, สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ.
    คำมุทิตาแก่ฝูงสัตว์ ๑๒ จำพวก<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    <!--[if !supportLists]-->๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปาณา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๓.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ภูตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๔.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปุคคะลา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๕.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๖.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพพา อิตถิโย ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๗.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปุริสา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๘.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อะริยา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๙.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อะนะริยา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    <!--[if !supportLists]-->๑๐.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> สัพเพ เทวา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    ๑๑. สัพเพ มะนุสสา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    ๑๒. สัพเพ วินิปาติกา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะปะสังสะโต มา วิคัจฉันตุ, ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ.
    คำอุเบกขาแก่ฝูงสัตว์ ๑๒ จำพวก<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    <!--[if !supportLists]-->๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปาณา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๓.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ภูตาา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๔.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปุคคะลา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๕.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๖.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพพา อิตถิโย กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๗.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ ปุริสา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๘.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อะริยา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๙.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ อะนะริยา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๑๐.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ เทวา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๑๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ มะนุสสา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.
    <!--[if !supportLists]-->๑๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัพเพ วินิปาติกา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา กัมมะโยนี กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1027" style='position:absolute; z-index:2' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่)
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->


    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อารา เมฯ ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุงฯ
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ.
    (๑) สุขัง สุปะติ
    (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ
    (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ
    (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๖) เทวะตา รักขันติ
    (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ
    (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ
    (๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ
    (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ
    (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมมะโลกูปะโค โหติฯ
    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ
    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ. กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุติฯ
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ
    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ
    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ
    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา
    อะปีฬานะยะ อุปะฆาตัง วัชเชตวา
    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา
    อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา
    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
    อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา
    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ
    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา.
    <o:p> </o:p>

    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1026" style='position:absolute; z-index:1;mso-position-horizontal-relative:text; mso-position-vertical-relative:text' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p></o:p>
    เมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่แปล)<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นและรพผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทานพระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะรับ) อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนต้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี ๕ ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ ๑๑ ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง.
    อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ
    (๑) นอนหลับเป็นสุข
    (๒) ตื่นเป็นสุข
    (๓) ไม่ฝันร้าย
    (๔) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
    (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
    (๖) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
    (๗) ไฟ ยาพิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
    (๘) จิตเป็นสมาธิเร็ว
    (๙) ผิวหน้าผ่องใส
    (๑๐) ไม่หลงตาย
    (๑๑) ยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก
    <o:p> </o:p>
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม ด้วยวสี ๕ ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศที่มีอยู่ฯ
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง.
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง.
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง.
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี ๕ อย่าง
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มี ๗ อย่าง
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี ๑๐ อย่างฯ
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่างมีอะไรบ้าง.
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่าง คือ
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง มีอะไรบ้าง. (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง คือ)
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง. (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง คือ)
    (๑) ประเภทที่ ๑
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ประเภทที่ ๒
    (๑) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ประเภทที่ ๓
    (๑) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ประเภทที่ ๔
    (๑) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ประเภทที่ ๕
    (๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ประเภทที่ ๖
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ประเภทที่ ๗
    (๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ประเภทที่ ๘
    (๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ประเภทที่ ๙
    (๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ประเภทที่ ๑๐
    (๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๑) ประเภทที่ ๑๑
    (๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๒) ประเภทที่ ๑๒
    (๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    (๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ
    ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑
    ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑
    ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑
    ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑
    ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑
    จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑
    จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑
    จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯ
    เมตตาพรหมวิหารภาวนา
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
     
  8. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๕ ระงับภัยพิบัติและปกป้องคุ้มครอง

    อุปปาตะสันติ มนต์สำหรับระงับเหตุร้ายทั้งปวง<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    คำชี้แจงเรื่องคัมภีร์อุปปาตะสันติ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คัมภีร์อุปปาตะสันติภาษาบาลีนี้ มีคำชี้แจงเพื่อทราบประวัติย่อต่อไปนี้<o:p></o:p>
    ๑. อุปปาตะสันติ แยกเป็น ๒ คำ คือ อุปปาตะ คำ ๑ และ สันติ คำ ๑ อุปปาตะ แปลว่า เคราะห์กรรม, เหตุร้าย, อันตราย และแปลว่าสิ่งกระทบกระเทือน<o:p></o:p>
    อุปปาตะสันติ แปลว่าบทสวดสงบเคราะห์กรรม แปลว่าบทสวดสงบอันตราย แปลว่าบทสวดสงบเหตุร้าย และแปลว่าบทสวดสงบสิ่งกระทบกระเทือน<o:p></o:p>
    ๒. คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นวรรณคดีบาลีลานนาไทย พระสีลวังสะมหาเถระ แต่งที่เชียงใหม่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ระหว่าง พ.ศ. ๑๘๙๓ ถึง พ.ศ. ๒๐๑๐ เป็นคาถาล้วนจำนวน ๒๗๑ คาถา จัดเข้าในหนังสือประเภท “เชียงใหม่คันถะ” คือ คัมภีร์เชียงใหม่มีอายุประมาณ ๖๐๐ ปีเศษแล้ว
    มีคำเล่าว่า สมัยแต่งอุปปาตะสันตินั้น ที่เมืองเชียงใหม่นั้นมีโจรผู้ร้ายและ คนอัทธพาลชุกชุมมากผิดปกติ มีเหตุร้ายและสิ่งกระทบกระเทือนอยูเสมอ พระสีลวังสะ จึงให้พระสงฆ์ สามเณรและประชาชนพากันสวดและฟังอุปปาตะสันติ เพื่อกลับร้ายให้กลายเป็นดี มีผู้เลื่อมใสคัมภีร์นี้มาก และถือว่าเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ ต่อมาชาวพม่ามีความเลื่อมใสนำคัมภีร์นี้เข้าไปในประเทศพม่า เข้าใจว่านำเข้าไป ที่เมืองอังวะก่อนแล้วแพร่หลายไปทั่วประเทศพม่าสมัย ๕๐๐ ปีที่ล่วงแล้ว ชาวพม่าทั้งพระสงฆ์และประชาชนถือว่า คัมภีร์อุปปาตะสันติ มีความศักดิ์สิทธิ์มาก นิยมท่อง นิยมสวดและนิยมฟังอย่างกว้างขวาง มีคำเล่ากันว่า สมัยหนึ่งพวกจีนมาตีเมืองอ้งวะ ประเทศพม่า ชาวพม่าทั้งพระสงฆ์ ข้าราชการ และประชาชนพากันสวดคัมภีร์อุปปาตะสันติ พวกจีนได้ฟังอุปปาตะสันติโฆษณาคือ เสียงกึกก้องของอุปปาตะสันติ ก็มีความกลัวแล้วพากันหนีกลับไป<o:p></o:p>
    ๓. บุคคลและสภาวะที่อ้างถึงในคัมภีร์อุปปาตะสันติมี ๑๓ ประเภทคือ <o:p></o:p>
    ๓.๑ พระพุทธเจ้าทั้งหลายในอดีตถึงปัจจุบัน (เน้นที่ ๒๘ พระองค์)
    ๓.๒ พระปัจเจกพุทธเจ้า
    ๓.๓ พระพุทธเจ้าในอนาคต ๑ พระองค์ คือ พระเมตไตรย
    ๓.๔ โลกุตตรธรรม ๙ และพระปริยัติธรรม ๑
    ๓.๕ พระสังฆรัตนะ
    ๓.๖ พระเถระชั้นผู้ใหญ่ ๑๐๘ รูป
    ๓.๗ พระเถรีชั้นผู้ใหญ่ ๑๓ รูป
    ๓.๘ พยานาค
    ๓.๙ เปรตบางพวก
    ๓.๑๐ อสูร
    ๓.๑๑ เทวดา
    ๓.๑๒ พรหม
    ๓.๑๓ บุคคลประเภทรวม เช่น เทวดา ยักษ์ ปีศาจ คือผีที่ทำสิ่งใดๆ อย่างโลดโผน และวิชชาธรหรือพิทยาธร(สันสกฤตเรียกวิทยาธร) ถ้าเป็นภาษาอังกฤษเรียกพวก เซอเร่อคือพ่อมด แม่มด หรือผู้วิเศษ พวกวิชชาธร เป็นพวกรอบรู้เรื่องเครื่องรางและเสน่ห์ต่างๆ สามารถไปทางอากาศได้
    <o:p> </o:p>
    เรื่องราวเย็นอกเย็นใจที่สังคมมุ่งหวังและเสาะแสวงหา ที่กล่าวถึง ในคัมภีร์อุปปาตะสันติ มีประการที่สำคัญ ๓ อย่างคือ<o:p></o:p>
    ก. สันติหรือมหาสันติ ความสงบ ความราบรื่น ความเยือกเย็น ความไม่มีคลื่น<o:p></o:p>
    ข. โสตถิ ความสวัสดี ความปลอดภัย ความเป็นอยู่เรียบร้อย หรือตู้นิรภัย<o:p></o:p>
    ค. อาโรคยะ ความไม่มีสิ่งเป็นเชื้อโรค ความไม่มีโรคหรือความมีสุขภาพสมบูรณ์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    คัมภีร์อุปปาตะสันติ มีข้อความขอความช่วยเหลือ ขอให้พระรัตนตรัยและบุคคล พร้อมทั้งสิ่งทรงอิทธิพลในจักรวาลรวม ๑๓ ประเภทดังกล่าวมาแล้วช่วยสร้างสันติ หรือมหาสันติ ช่่วยสร้างโสตถิและอาโรคยะ ช่วยปรุงแต่งสันติและอาโรคยะ ขอให้ช่วยรวมสันติ รวมโสตถิและรวมอาโรคยะ และขอให้ช่วยเป็นตู้นิรภัยคุ้มครองและ กำจัดเหตุร้ายอันตรายหรือสิ่งกระทบกระเทือนต่างๆ อย่าให้เกิดมีในตน ในครอบครัว ในหมู่คณะ หรือในวงงานของตน และในวงงานของคนอื่นทั่วไป<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๔. อานิสงฆ์การสวดและการฟังอุปปาตะสันติ มีคุณประโยชน์ตามที่กล่าวไว้ ในท้ายคัมภีร์ มีดังนี้<o:p></o:p>
    ๔.๑ ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ ย่อมชนะเหตุร้ายทั้งปวงได้ และมีวุฒิภาวะคือ ความเจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ<o:p></o:p>
    ๔.๒ ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ ย่อมได้ประโยชน์ที่ตนต้องการ คือ ผู้ประสงค์ความปลอดภัยย่อมได้ความปลอดภัย คนอยากสบายย่อมได้ความสุข คนอยากมีอายุยืน ย่อมได้อายุยืน คนอยากมีลูก ย่อมได้ลูกสมประสงค์<o:p></o:p>
    ๔.๓ ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ ย่อมไม่มีโรคลมเป็นต้นมาเบียดเบียน ไม่มีอกาละมรณะคือตายก่อนอายุขัย ทุนนิมิตรคือลางร้ายต่างๆมลายหายไป<o:p></o:p>
    ๔.๔ ผู้สวดหรือผู้ฟังอุปปาตะสันติ เมื่อเข้าสนามรบย่อมชนะข้าศึก ทั้งปวงและแคล้วคลาดจากอาวุธทั้งปวง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๕. เดชของอุปปาตะสันติ การสวดอุปปาตะสันติเป็นประจำ ย่อมมีเดชดังนี้<o:p></o:p>
    ๕.๑ อุปปาตะ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน อันเกิดจากแผ่นดินไหวเป็นต้น ย่อมพินาศไป (ปะถะพะยาปาทิสัญชาตา)
    ๕.๒ อุปปาตะ คือ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน อันเกิดจากลูกไฟที่ตกจากอากาศหรือสะเก็ดดาว ย่อมพินาศไป (อุปปาตะจันตะลิกขะชา)
    ๕.๓ อุปปาตะ คือ คือเหตุร้ายหรือสิ่งกระทบกระเทือน อันเกิดจากการเิกิดจันทรุปราคาหรือสุริยุปราคา เป็นต้น ย่อมพินาศไป (อินทาทิชะนิตุปปาตา)
    <o:p> </o:p>
    ๖. คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นคัมภีร์ไทย แต่ต้นฉบับได้จากเมืองไทย ไปอยู่เมืองพม่าเสียนาน จนแทบกล่าวได้ว่า คนไทยสมัยหลังไม่มีใครรู้จัก ไม่เคยได้ยินแม้แต่ชื่อ ข้าพเจ้าจึงชำระและจัดพิมพ์เป็นอักษรไทย ด้วยวิธีเขียนให้คนอ่านคำบาลีทั่วไป สำหรับต้นฉบับนั้น ข้าพเจ้ามีแต่ฉบับเมืองพม่า และเป็นอักษรพม่า โดยท่านอาจารย์ธรรมานันทะธัมมาจริยะ ครูพระไตรปิฏก ประจำวักโพธาราม ได้กรุณาถวาย ข้าพเจ้าจึงขอขอบคุณอย่างยิ่งไว้ในที่นี้
    การที่ข้าพเจ้าได้ชำระและจัดพิมพ์อุปปาตะสันติ เป็นอักษรไทยขึ้นเป็นครั้งแรกนี้ ข้าพเจ้าถือว่าเป็นการนำคัมภีร์ไทยโบราณกลับคืนสู่เมืองไทย เพื่อให้คนไทยได้รู้จัก ได้ศึกษา ได้สวด และได้ฟังให้เกิดประโยชน์ทางสันติ ทางโสตถิและทางอาโรคยะ สืบไป ในที่สุดนี้ข้าพเจ้าขอถือโอกาสเชิญชวนมวลพุทธศาสนิกชนชาวไทย พร้อมกันยกมือสาธุแสดงความชื่นชมโสมนัสต่อการกลับมาโดยสวัสดีของคัมภีร์อุปปาตะสันติ โดยทั่วกันทุกท่านเทอญ
    <o:p> </o:p>
    พระเทพเมธาจารย
    ๗ สิงหาคม ๒๕๐๕
    วัดโพธาราม จ.นครสวรรค์
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    อุปปาตะสันติ<o:p></o:p>
    บทสวดสงบเหตุร้าย<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สามจบ)​
    (นำ) หันทะ มะยัง อุปปาตะสันติ คาถาโย ภะณา มะเส ฯ​
    <o:p> </o:p>
    คันถารัมภะ<o:p></o:p>
    คำเริ่มต้นคัมภีร์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (ก) สุทุททะโส อะยัง ธัมโม โลกัตถัง ชินะเทสิโต<o:p></o:p>
    มหาสันติกะโร โลเก สัพพะส้มปัตติทายะโก.<o:p></o:p>
    (ข) สัพพุปะปาตูสะมะโณ ภูตะยักขะนิวาระโณ
    อะกาละมัจจุสะมะโณ โสกะโรคะวินาสะโน.
    (ค) ปะระจักกะมัททะโนปิ รัญโญ วิชะยะวัฑฒะโน
    สัพพานิฏฐะหะโร สันติ ธัมมัง วักขามิ ภูตะโต.
    (ฆ) วัตถุตตะยัสสะ โย ยัตถะ สังวัณเณติ คุณุตตะเม<o:p></o:p>
    ตัสสะ ตัตถะ สุขาโรคฺยะ โสตถิโย โหนติสัพพะทา.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระพุทธเจ้าในอดีต ๒๘ พระองค์<o:p></o:p>
    ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. ตัณหังกะโร มหาวีโร สัพพะโลกานุกัมปะโก<o:p></o:p>
    วันตะสังสาระคะมะโน สัพพะกามะทะโท สะทา.<o:p></o:p>
    ๒. สัพพาภิภู สัพพะวิทู สัพพะเทวะคะรุตตะโม<o:p></o:p>
    สัพพาสะวะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๓. วะระลักขะณะสัมปันโน เมธังกะโร มหามุนิ<o:p></o:p>
    ชุตินธะโร มหาสิรี สุวัณณะคิริสันนิโภ.<o:p></o:p>
    ๔. ทิพพะรูโป มหากาโย มะหานาโถ มะหัพพะโล<o:p></o:p>
    มะหาการุณิโก สัตถา มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๕. มหาโมหะตะมัง หันตะวา โย นา โถ สะระณังกะโร<o:p></o:p>
    เทวาเทวะมะนุสสานัง โลกานัญจะ หิตังกะโร.<o:p></o:p>
    ๖. พฺยามัปปะภาภิรุจิโต นิโครธะปะริมัณฑะโล<o:p></o:p>
    นิโครธะปักกะพิมโพฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗. อะสีติระตะนุพเพโธ ทีปังกะโร มะหามุนิ<o:p></o:p>
    ปภา นิททาวะเต ตัสสะ ฐาเน ทะวาทะสะ โยชะเน.<o:p></o:p>
    ๘. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัตตะวา โลเก วินายะโก<o:p></o:p>
    โลกาโลกะกะโร สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในสารกัป ๑ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๙. อัฏฐาสีติหัตถุพเพโธ โกณทัญโญ นามะ นายะโก<o:p></o:p>
    สัพพะธัมเมหิ อะสะโม สัพพะปาระมิตาคะโม.<o:p></o:p>
    ๑๐. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มเหสิโน<o:p></o:p>
    โมเจตุ โส สัพพะภะยา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑๑. อัฏฐาสีติ ระตะนานิ อัจจุคคะโต ชุตินธะโร<o:p></o:p>
    มังคะโล นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก.<o:p></o:p>
    ๑๒. ฉัพพัณณะรังสิโย ทะสะ สะหัสสะโลกะธาตุยา<o:p></o:p>
    ผะรันตา ตัสสะ ฉาเทนติ เอสะ โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓. นะวุติระตะนุพเพโธ สุมะโน นามะ นายะโก<o:p></o:p>
    กัญจะนาจะละสังกาโส นะวุติสะหัสสายุโก.<o:p></o:p>
    ๑๔. อุเปโต พุทธะคุเณหิ สัพพะสัตตะหิเตสะโก<o:p></o:p>
    กะโรตุ โน มหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๑๕. อะสีติระตะนุพเพโธ สัฏฐีสะหัสสะอายุโก<o:p></o:p>
    เรวะโต นามะ สัมพุทโธ สัพพะโลกุตตะโร มุนิ.<o:p></o:p>
    ๑๖. ตัสสะ สะรีเร นิพพัตตา ปะภามาลา อะนุตตะรา<o:p></o:p>
    ผะรันตา โยชะเน นิจจัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗. โสภิโต นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก<o:p></o:p>
    สังสาระ สาคะเร สัตเต พะหู โมเจติ ทุกขะโต.<o:p></o:p>
    ๑๘. อัฏฐะปัญญาสะระตะนัง อัจจุคคะโต มะหามุนิ<o:p></o:p>
    โอภาเสติ ทิสา สัพพา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในวรกัป ๓ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑๙. อะโนมะทัสสี สัมพุทโธ เตชัสสี ทุระติกกะโม<o:p></o:p>
    อัฏฐะปัญญาสะระตะโน โอภาเสนโต สะเทวะเก.<o:p></o:p>
    ๒๐. นิพพานะปาปะโก โลเก วัสสะสะตะสหัสสายุโก<o:p></o:p>
    กะโรตุ โน มหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๒๑. ปะทุโม นามะ สัมพุทโธ โลกะเชฏโฐ นะราสะโภ<o:p></o:p>
    อัฏฐะปัญญาสะระตะโน อาทิจโจวะ วิโรจะติ.<o:p></o:p>
    ๒๒. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มเหสิโน<o:p></o:p>
    โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๓. อัฏฐาสีติระตะนุพเพโธ นาระโท สัพพะกามะโท<o:p></o:p>
    นิรันตะรัง ทิวารัตติง โยชะนัง ผะระเต ปะภา.<o:p></o:p>
    ๒๔. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก วินายะโก<o:p></o:p>
    โมเจติ ทุกขะโต สัตเต โสปิ โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในวรกัป ๓ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๒๕. อัฏฐะปัญญาสะระตะโน ปะทุมุตตะโร มหามุนิ<o:p></o:p>
    ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ ทฺวาทะสะ โยชะเน.<o:p></o:p>
    ๒๖. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเกมะตันทะโท<o:p></o:p>
    โมเจติ พันธะนา สัตเต โสปิ ปาเลตุ โน สะทา.<o:p></o:p>
    ๒๗. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต มหามุนิ<o:p></o:p>
    สุเมโธ นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก.<o:p></o:p>
    ๒๘. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา<o:p></o:p>
    ปาเลตุ โน สะทา พุทโธ ภะเยหิ วิวิเธหิ จะ.<o:p></o:p>
    ๒๙. ปัญญาสะระตะนุพเพโธ สุชาโต นามะ นายะโก<o:p></o:p>
    เหมะวัณโณ มะหาวีโร มะหาตะมะวิโนทะโน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๓๐. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน<o:p></o:p>
    โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ในวรกัป ๓ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๓๑. อะสีติระตะนุพเพโธ ปิยะทัสสี มหามุนิ<o:p></o:p>
    นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลกัคคะนายะโก.<o:p></o:p>
    ๓๒. โสปิ สัพพะคุณูเปโต สัพพะโลกะสุขัปปะโท<o:p></o:p>
    สัพพะโทสัง วินาเสนโต สะพัง โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๓๓. อะสีติระตะนุพเพโธ อัตถะทัสสี นะราสะโภ<o:p></o:p>
    วัสสะสะตะสะหัสสานิ โลเก อัฏฐาสิ นายะโก.<o:p></o:p>
    ๓๔. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา<o:p></o:p>
    นิรันตะรัง ทิวารัตติง นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๓๕. ธัมมะทัสสี จะ สัมพุทโธ อะสีติหัตถะมุคคะโต<o:p></o:p>
    อะติโรจะติ เตเชนะ สะเทวาสุระมานุเส.<o:p></o:p>
    ๓๖. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก มะหายะโส<o:p></o:p>
    สัพพะสัตเต ปะโมเจติ ภะยา รักขะตุ โน สะทา.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๓๗. สิทธัตโถ นามะ สัมพุทโธ สัฏฐิระตะนะมุคคะโต<o:p></o:p>
    ติภะเว โสตถิชะนะโก สะติสสะหัสสะอายุโก.<o:p></o:p>
    ๓๘. สังสาระสาคะรา โลเก สันตาเรตฺวา สะเทวะเก<o:p></o:p>
    นิพพาเปติ จะ โส สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๓๙. สัฏฐิระตะนะมุพเพโธ ติสโส โลกัคคะนายะโก<o:p></o:p>
    อะนูปะโม อะสะทิโส อะตุโล อุตตะโม ชิโน.<o:p></o:p>
    ๔๐. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะมะเหสิโน<o:p></o:p>
    อาโรคฺยัญจะ มหาลุขัง โหตุ โน ตัสสะ เตชะสา.<o:p></o:p>
    ๔๑. อัฏฐะปัญญาสะระตะโน ผุสโส โลกัคคะนายะโก<o:p></o:p>
    ชะนัมพุชัง วิโพเธนโต นิพพาเปนโต สะเทวะเก<o:p></o:p>
    ๔๒. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัตฺวา โลเก มะหายะโส<o:p></o:p>
    อุทธะรันโต พะหู สัตเต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๔๓. อะสีติระตะนุพเพโธ วิปัสสี โลกะนายะโก<o:p></o:p>
    ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา สัตตะ โยชะเน.<o:p></o:p>
    ๔๔. โสปิ เทวะมะนุสสานัง พันธะนา ปะริโมจะยิ<o:p></o:p>
    อะสีติสะหัสสายุโก นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในมัณฑกัป ๒ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๔๕. สัตตะตีหัตถะมุพเพโธ สิขี นาเมสะ นายะโก<o:p></o:p>
    ปภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา โยชะนัตตะเย.<o:p></o:p>
    ๔๖. โสปิ อะตุลฺโย สัมพุทโธ สัตตะตีสะหัสสายุโก<o:p></o:p>
    กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๔๗. เวสสะภู นามะ สัมพุทโธ เหมะรูปะสะมูปะโม<o:p></o:p>
    สัฏฐีิระตะนะมุพเพโธ สัฏฐี จะ สะหัสสายุโก.<o:p></o:p>
    ๔๘. พฺรัหฺมะเทวะมะนุสเสหิ นาคาสุระทิเชหิ วา<o:p></o:p>
    ปูชิโตปิ สะทา นาโถ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในภัททกัป ๔ พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๔๙. ตาฬีสะระตะนุพเพโธ กะกุสันโธ มหามุนิ<o:p></o:p>
    ตัสสะ กายา นิจฉะรันติ ปะภา ทฺวาทะสะ โยชะนา.<o:p></o:p>
    ๕๐. จัตตาลฬีสะ สะหัสสานิ ตัสสะ อายุ อะนุตตะโร<o:p></o:p>
    กะโรตุ โส สะทา นาโถ อายุ สุขัง พะลัญจะ โน.<o:p></o:p>
    ๕๑. โกนาคะมะนะ สัมพุทโธ ติงสะหัตถะ สะมุคคะโต<o:p></o:p>
    ติงสะวัสสะ สะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน.<o:p></o:p>
    ๕๒. ธัมมามะเตนะ ตัปเปตา เทวะสังฆัง สุราละเย<o:p></o:p>
    มะหีตะเล จะ ชะนะตัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๕๓. กัสสะโป นามะ สัมพุทโธ ธัมมะราชา ปะภังกะโร<o:p></o:p>
    วีสะตีหัตถะมุพเพโธ วีสะสะหัสสะอายุโก.<o:p></o:p>
    ๕๔. อะนูปะโมสะมะสะโม เทวะสัตถา อะนุตตะโร<o:p></o:p>
    กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคฺยัญจะ ชะยัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๕๕. อัฏฐาระสะหัตถะถุพเพโธ โคตะโม สักกะยะวัฑฒะโน<o:p></o:p>
    สัพพัญญู สัพพะติละโก สัพพะโลกะสุขัปปะโท.<o:p></o:p>
    ๕๖. สัมพุทโธ สัพพะธัมมานัง ภะเคหิ ภาคฺยะวายุโก<o:p></o:p>
    วิชชาจะระณะสัมปันโน โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๕๗. อัพภะตีตา จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏิโย<o:p></o:p>
    สัพพะโลกะมะภิญญายะ สัพพะสัตตานุกัมปิโน.<o:p></o:p>
    ๕๘. สัพพะเวระภะยาตีตา สัพพะโลกะสุขัปปะทา<o:p></o:p>
    สัพพะโทสัง วินาเสนตา สัพพะโสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระพุทธเจ้าในอนาคต พระองค์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>​
    ๕๙. อะนาคะเต จะ สัมพุทโธ เมตเตยโย เทวะปูชิโต<o:p></o:p>
    มะหิทธิโก มหาเทโว มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระปัจเจกพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>​
    ๖๐. สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา<o:p></o:p>
    นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มเหสะโย.<o:p></o:p>
    ๖๑. ทูเรปิ วิเนยเย ทิสฺวา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต<o:p></o:p>
    สันทิฏฐิกะผะเล กัตฺวา สะทา สันติง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    นวโลกุตตรธรรม ๙ และพระปริยัติธรรม ๑<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๖๒. สฺวากขาตะตาทิสัมปันโน ธัมโม สะปะริยัตติโก<o:p></o:p>
    สังสาระ สาคะรา โลเก ตาเรติ ชินะโคจะโร.<o:p></o:p>
    ๖๓. กิเลสะชาละวิทธังสี วิสุทโธ พุทธะเสวิโต<o:p></o:p>
    นิพพานะคะมะโน สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระสังฆรัตนะ<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๖๔. สีลาทิคุณะสัมปันโน สังโฆ มัคคะผะเล ฐิโต<o:p></o:p>
    ชิตินทฺริโย ชิตะปาโป ทักขิเนยโย อะนุตตะโร.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๖๕. อะนาสะโว ปะริสุทโธ นิราสาโส ภะวาภะเว<o:p></o:p>
    นิพพานะโคจะโร สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระเถระชั้นผู้ใหญ่ ๑๐๘ รูป<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>​
    ๖๖. อัญญาตะโกญทัญญัตเถโร รัตตัญญูณังอัคโค อะหุ<o:p></o:p>
    ธัมมะจักกาภิสะมะโย สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๖๗. วัปปัตเถโร มะหาปัญโญ มะหาตะมะวิโนทะโน<o:p></o:p>
    มะหาสันติกะโร โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๖๘. ภัททิโย ภัททะสีโล จะ ทักขิเนยโย อะนุตตะโร<o:p></o:p>
    โลกัตถะจะริโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๖๙. มะหานาโม มหาปัญโญ มะหาธัมมะวิทู สุโต<o:p></o:p>
    มะหาขีณาสะโว เถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๐. อัสสะชิตะเถโร มหาปัญโญ ชิตะมาโร ชิตินทฺริโย<o:p></o:p>
    ชิตะปัจจัตถิโก โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๑. อะนุปุพพิกะถัง สุตฺวา ยะโส เอกัคคะมานะโส<o:p></o:p>
    อัคคะธัมมะมะนุปปัตโต โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๒. จัตฺวาธิกา จะ ปัญญาสะ เถรา คิหิสะหายะกา<o:p></o:p>
    ปัตฺวานะ ปะระมัง สันติง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๓. เย ติงสะ ภัททะวัคคิยา รูเปนาตุละวัณณิโน<o:p></o:p>
    ขีณาสะวา วะสีภูตา เต กะโรนตุ อะนามะยัง.<o:p></o:p>
    ๗๔. อุรุเวลละกัสสะโปปิ มะหาปะริสานะมุตตะโม<o:p></o:p>
    ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๕. โย นะทีกัสสะปัตเถโร ปุญญักเขตโต อะนุตตะโร<o:p></o:p>
    สาสังโฆ สีละสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๖. ธัมมะปัชชะลิโต สันโต โย เถโร คะยากัสสะโป<o:p></o:p>
    สังยุตโต ภะวะนิเสนโห สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๗. โลกะนาถัง ฐะเปตฺวานะ ปัญญะวันตานะ ปาณินัง<o:p></o:p>
    ปัญญายะ สารีปุตตัสสะ กะลัง นาคฆะติ โสฬะสิง.<o:p></o:p>
    ๗๘. สาริปุตโต มะหาปัญโญ ปะฐะโม อัคคะสาวะโก<o:p></o:p>
    ธัมมะเสนาปะติ เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๗๙. ปาทังคุลิกะมัตเตนะ เวชะยันตะปะกัมปะโน<o:p></o:p>
    ปะถะวิง มะหะติง สัพพัง สะมัตโถ ปะริวัตติตุง.<o:p></o:p>
    ๘๐. โมคคัลลาโน มะหาเถโร ทุติโย อัคคะสาวะโก<o:p></o:p>
    อิทธิมันตานัง โส อัคโค สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๘๑. มะหากัสสะปัตเถโรปิ อุตตัตตะกะนะกะสันนิโภ<o:p></o:p>
    ธุตะคุณัค คะ นิกขิตโต ตะติโย สัตถุสาวะโก<o:p></o:p>
    ๘๒. อะรัญญะวาสาภิระโต ปังสุกูละธะโรมุนิ<o:p></o:p>
    สุคะตะสาสะนะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๘๓. อาปัตติอะนาปัตติยา สเตกิจฉายะ โกวิโท<o:p></o:p>
    วินะเย อัคคะนิกขิตโต อุปาลิ สัตถุวัณณิโต.<o:p></o:p>
    ๘๔. วินะเย ปาระมิปปัตโต วินะยัคโคจะโร มุนิ<o:p></o:p>
    กะโรตุ โน มหาสันติง โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๘๕. อะนุรุทธะ มะหาเถโร ทิพพะจักขู นะมุตตะโม<o:p></o:p>
    ญาติเสฏโฐ ภะคะวะโต โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๘๖. อุจจากุลิกานัง อัคโค ภัททิโย สุสะมาหิโต<o:p></o:p>
    กาฬิโคธายะ ปุตโต จะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๘๗. อานันโท พุทธุปัฏฐาโก สังคีติสาธุสัมมะโต<o:p></o:p>
    พะหุสสุโต ธัมมะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๘๘. กิพิิโล สิริสัมปันโน มะหาสุขะสะมัปปิโต<o:p></o:p>
    มะหาขีณาสะโว ชาโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๘๙. คะรุวาสัง วะสิตฺวานะ ปะสันโน พุทธะสาสะเน<o:p></o:p>
    ภะคุ จะระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๐. กุลัปปะสาทะชะนะโก กาฬุทายี มะหิทธิโก<o:p></o:p>
    เอตะทัคคัฏฐิโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๑. เสฏโฐ ธัมมะกะถิกานัง ติณณัง เวทานะ ปาระคู<o:p></o:p>
    ปุณโณ มันตานิยา ปุตโต เถโร โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๒. ภาระทฺวาโช มะหาเถโร สีหะนาทานะมุตตะโม<o:p></o:p>
    ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๓. สังขิตตะ ภาสิตะมัตถัง วิตถาเรนะ วิชานะโก<o:p></o:p>
    กัจจายะโน ภะวะนิเสนโห เถโร โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๔. ละกุณฏะกะภัททิโย เถโร มัญชุสสะรานะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๕. อะระณะวิหารีณัง อัคโค ทักขิเนยโย อะนุตตะโร<o:p></o:p>
    สุภูติ ภูตะทะมะโน เถโร โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๖. อะรัญญะวาสีนัง อัคโค เรวะโต ขะทิระวะนิโย<o:p></o:p>
    วิเวกาภิระโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๗. ณายีนัง อุตตะโม เถโร กังขาเรวะตะนามะโก<o:p></o:p>
    สะมาธิฌานะกุสะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๙๘. โสโณ จะ โกฬิวีโสปิ อารัทธะวีริยานะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    ปะหิตัตโต สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.
    ๙๙. กัลยาณะวากกะระณานัง โสโณ กุฏิกัณโณปิ จะ
    อัคโคติ วัณณิโต เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.
    ๑๐๐. ลาภีนะมุตตะโม เถโร สีวะลิ อิติ วิสุโต
    โส ระโต ปัจจะยาทิมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๑. สัทธาธิมุตตานัง อัคโค วักกะลิ อิติ นามะโก<o:p></o:p>
    ปาโมชชะพะหุโล เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๒. ราหุโล พุทธะปุตโตปิ สิกขากามานะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    ทายาโท สัพพะธัมเมสุ มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๓. สัทธายะ ปัพพะชิตฺวานะ รัฏฐะปาโล ปะรักกะมี<o:p></o:p>
    เอตะทัคเค ฐิโตเยวะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๔. กุณฑะธาโน มะหาเถโร สะลากัง ปะฐะมัง คะโต<o:p></o:p>
    ฐะปิโตเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๕. ปะฏิภานะวันตานัมปิ อัคโคติ พุทธะวัณณิโต<o:p></o:p>
    วังคีโส อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๖. สะมันตะปาสาทิกานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต<o:p></o:p>
    อุปะเสโน วังคันตะปุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๗. ทัพโพ มัลละปุตโต เถโร เสนาสะนะปัญญาปะโก<o:p></o:p>
    ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๘. ปิลินทะวัจฉะสะมะโณ เทวะตานัง ปิโย อะหุ<o:p></o:p>
    ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๐๙. พาหิโย ทารุจีริโย ขิปปาภิญญานะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคฺยัญจะ ชะยัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๑๑๐. กุมาระกัสสะปัตเถโร จิตตะกะถีนะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๑. ปฏิสัมภิทาปัตตานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต<o:p></o:p>
    โกฏฐิโต อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๒. อัปปาพาโธ มะหาเถโร อัปปาพาธานะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    พากุโล อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๓. ปุพเพนิวาสะเวทีนัง อัคโคติ พุทธะวัณณิโต<o:p></o:p>
    โสภิโต นามะโส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๔. มหากัปปินัตเถโรปิ ภิกขุโอวาทะโก อะหุ<o:p></o:p>
    กุสะโล โอวาททะทาเน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๕. ภิกขุโนวาทะกานัค โค นันทะโก อิติ วิสสุโต<o:p></o:p>
    ปาเลตุ โน สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๖. อินทฺริเยสุ คุตตะทฺวาโร อัคคัฏฐาเน ฐิโต อะหุ<o:p></o:p>
    นันทัตเถโร วะสิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๗. เตโชธาตุกุสะลานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต<o:p></o:p>
    สาคะโต นามะ โส เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๘. สัญญาวิวัฏฏะกุสะโล ปะธาโน ภาวะนาระโต<o:p></o:p>
    พุทธะสิสโส มหาปันโถ มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๑๙. จูฬะปันถะกัตเถโรปิ มะโนมะยาภินิมมิโต<o:p></o:p>
    ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๐. ปฏิภาเนยยะกานัง ตุ อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต<o:p></o:p>
    ราโธ เถโร มหาโสตถิง กะโรตุ โน อะนามะยัง.<o:p></o:p>
    ๑๒๑. ลูขะจีวะระธะรานัง ภิกขูนัง อุตตะโม อะหุ<o:p></o:p>
    โมฆะราชะมะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๒. วิมะโล วิมะสัปปัญโญ สุรูโป สุสะมาหิโต<o:p></o:p>
    ระโช นะ ลิมปะติ ขันเธ มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๓. ธัมมะปาโล มะหาปาโล มะหาธัมมะธะโร ยะติ<o:p></o:p>
    มะหาขีณาสะโว โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๔. จักขุปาโล มะหาเถโร ปะธาโน สีละสังวุโต<o:p></o:p>
    ปะหิตัตโต มะหากาโย มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๕. สัพพะเวระภะยาตีโต นาระโท อาสะวักขะโย<o:p></o:p>
    มหาสันติกะโร โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๖. พุทธะปูชายะ นิระโต ชินะภัตติปะรายะโน<o:p></o:p>
    สัทธัมมะสะวะโน เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๗. ปัจฉิมะภะวะสัมปัตโต โคตะโม ภาวะนาระโต<o:p></o:p>
    ราคักขะยะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๘. เสนาสะเนสุ สัปปายัง สัทธา ฌานัง สะมาระภิ<o:p></o:p>
    โคธิโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๒๙. พุทเธ ปะสันนะมานะโส สุพาหุ ปัญชะลีกะโต<o:p></o:p>
    ขีณาสะโว วะสีภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๐. วิปัสสะนายะ ปะสุโต วัลลิโย สุสะมาหิโต<o:p></o:p>
    สะโต ณายี วะเนวาสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๑. อุตติโย วินะยะธะโร อะติกกันโต นะรามะเร<o:p></o:p>
    ธาเรณโต อันติมัง เทหัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๒. วิมะโล วิระโชชัลโล ชาโต ปัญฑะระเกตุนา<o:p></o:p>
    พิมพิสารัทธะโช เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๓. รัมมารัญเญ วะสีตฺวานะ ภาเวนโต กุสะลัง พะหุง<o:p></o:p>
    โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะภิโย สันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๔. ปุพเพนิวาสัง ชานันโต ทิพพะจักขุ วิโสธะโน<o:p></o:p>
    นาคีโตระหะติง ปัตโต โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๕. ปาติโมกขะมะนุปปัตโต วิชะโย รัญญะโคจะโร<o:p></o:p>
    ลาภาลาภี ตะถาสังสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๖. ตัณหาชะฏัง วิชะเฏตฺวา วัฑเฒตฺวานะ วิปัสสะนัง<o:p></o:p>
    สังฆรักขิโต มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๗. อะรัญญะวาสาภิระโต ภะวะเนตติสะมูหะโต<o:p></o:p>
    ธัมมานัง ปาระมิปปัตโต อุตตะโร ปาตุ โน ภะยา.<o:p></o:p>
    ๑๓๘. ปุพเพ ปุญญานิ กัตตฺวานะ ปุพพะโยคัง สะมาระภิ<o:p></o:p>
    อุสสะโภ ระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๓๙. สะมาปัตติ สะมาปันโน ฉะฬะภิญโญ มหิทธิโก<o:p></o:p>
    สิวะโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๐. สัตตาริยะธะโน เถโร ธะนิโย ธัมมะสาคะโร<o:p></o:p>
    วันตะสังสาระคะมะโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๑. ปัญจักขันเธ ปะริญญายะ ภาวะยิตฺวานะ นิพพุตัง<o:p></o:p>
    ปัตฺวานะ ปะระมัง สันติง โปสิโย ปาตุ โน ภะยา<o:p></o:p>
    ๑๔๒. อุปะนิสสะยะสัมปันโน อุชชะโย พุทธะมามะโก<o:p></o:p>
    โลกัตถะปะสุโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๓. พุทธัปปะสาทะสัมปันโน ปัพพะชิ ชินะสาสะเน<o:p></o:p>
    สัญชะโย นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๔. มารัญชะโย มะหาเถโร รามะเณยโย มะหิทธิโก<o:p></o:p>
    นิพพานะนินนะจิตโต โส สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๕. อุโภ ปาปัญจะ ปุญญัญจะ วีติวัตโต อะนาสะโว<o:p></o:p>
    วีรัตเถโร ระหัปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๖. ปุณณะมาสะมะหาเถโร ปังสุกูละธะโร ยะติ<o:p></o:p>
    ปุพพะกิจจะวิธิง กัตฺวา มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๗. ปัญจะฉินโน ปัญจะชะโห ปัญจะ จุตตะริภาวะโน.<o:p></o:p>
    ปัญจะสังคาติโค เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๘. ปุพเพ ราคัง วิจาเรนโต ชินะภัตติปะรายะโน<o:p></o:p>
    เพลัฏฐะสีโส วังสะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๔๙. ปัญจุปันนานิ อะภะโย นิกันติ นัตถิ ชีวิเต<o:p></o:p>
    อะชิโต โส มะหาเถโร มหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๐. วิวัฏฏะนิสสะเย ปุญเญ กัตฺวา สัมพุทธะภัตติมา<o:p></o:p>
    กุลลัตเถโร ระหัปปัตโต มหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๑. วิปัสสี ธัมมะทายาโท เถโร นิโคฺรธะนามะโก<o:p></o:p>
    นิพพานาคะมะสันทิฏโฐ สะทา สันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๒. ติสโส วิชชา อะนุปปัตโต สุคันโธ นามะ โส ระโห<o:p></o:p>
    สัพพะปาปะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๓. นันทิโย สัทธาสัมปันโน ชิตะเกลโส มะหาเถโร<o:p></o:p>
    อะภิญญา ปาระมิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๔. กิเลสา ฌาปิตา เยนะ ชิตะธัมมะระเตนะ โส<o:p></o:p>
    กัมมาระปุตตะวิมะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๕. เทวะโลกะมะนุสเสสุ อะนุภุตฺวา วิภูติโย<o:p></o:p>
    ติสสัตเถโร มะหาภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๖. สุวิมุตโต มะหานาโค ตีหิ วังเกหิ มุตตะโก<o:p></o:p>
    สุมังคะโล มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๗. นิรัคคะโฬ นิราสาโส มะละขีละวิโสธะโน<o:p></o:p>
    วิเวกาภิระโต คุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๘. ปะวิเวกะมะนุปปัตโต คิริมานันทะนามะโก<o:p></o:p>
    ภาเวนโต กุสะเล ธัมเม สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๕๙. พุทธะสาสะนะมารัทโธ สะมิทธิ ภาวะนาระโต<o:p></o:p>
    สะมิทธิคุณะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๐. อาราธิตะชิโน สันโต โชติตเถโร มหาระหา<o:p></o:p>
    วิมุตโต สัพพะสังสารา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๑. เสนาสะนานิ ปันตานิ เสวันโต ฌานะมาระภิ<o:p></o:p>
    ฉะฬะภิญโญ มะหาจุนโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๒. ฉันนัตเถโร สะหะชาโต สุณันโต ชินะสาสะนัง<o:p></o:p>
    โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๓. เมฆิโย พุทธุปัฏฐาโก ชินะภัตติปะรายะโน<o:p></o:p>
    มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๔. อุปะวาโณ มะหาเถโร มะหากาโย มะหาระหา<o:p></o:p>
    มะหิทธิโก มะหาเตโช สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๕. สังกิจโจ โจระฑะมะโน สัพพะสังโยชะนักขะโย<o:p></o:p>
    ปาเลตุ โน สัพพะภะยา โสตถฺยาโรคฺยัง ทะทาตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๖. ปัญหะพฺยากะระเณ เฉโก เมตตาฌานะระโต ยะติ<o:p></o:p>
    โสปาโกปายะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๗. เขตตะสัมปัตติสัมปัตโต วัฑฒะมาโนวะ โสตถินา<o:p></o:p>
    สุมะโน อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๘. ปิโย เทวะมะนุสสานัง สานุตเถโร พะหุสสุโต<o:p></o:p>
    เมตตาฌายี ตะโมฆาตี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๖๙. โย จะ ปุพเพ กะตัง ปาปัง กุสะ เลนะ ปะหียะติ<o:p></o:p>
    อังคุลิมาโล โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๐. วิปัสสะนาธะรา เยปิ เถรา สะมะถะยานิกา<o:p></o:p>
    ขีณาสะวา มะหาเตชา มะหาตะมะวิโนทะนา.<o:p></o:p>
    ๑๗๑. ฌานิกาฌานิกา เยปิ ธัมมาภิสะมะยาทะโย<o:p></o:p>
    สัพเพ โสตถิง สะทา เทนตุ ชะยะมาโรคฺยะมายุโน<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระเถรีชั้นผู้ใหญ่ ๑๓ รูป<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๑๗๒. รัตตัญญูณัง ภิกขุนีนัง โคตะมี ชินะมาตุจฉา<o:p></o:p>
    ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๓. มะหาปัญญานะมัคคัฏฐา เขมาเถรีติ ปากะฏา<o:p></o:p>
    สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๔. เถรี อุปปะละวัณณา จะ อิทธิมันตีนะ มุตตะมา<o:p></o:p>
    สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๕. วินะยัทธะรีนัง อัคคา ปะฏาจาราติ วิสสุตา<o:p></o:p>
    ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๖. ธัมมะกะถิกะปะวะรา ธัมมะทินนาติ นามิกา<o:p></o:p>
    ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๗. ฌายิกานัง ภิกขุนีนัง นันทา เภรีติ นาเมสา<o:p></o:p>
    อัคคัฏฐาเน ฐิตา อะหุ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๘. อารัทธะวีริยานัง อัคคา โสณาเถรีติ นามิกา<o:p></o:p>
    ฐะปิตา ตัตถะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๗๙. ทิพพะจักขุกานัง อัคคา พะกุลา อิติ วิสสุตา<o:p></o:p>
    วิสุทธะนะยะนา สาปิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๘๐. กุณฑะละเกสี ภิกขุนี ขิปปาภิญญานะมุตตะมา<o:p></o:p>
    ฐะปิตาเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๘๑. เถรี ภัททะกาปิลานี ปุพพะชาติมะนุสสะรี<o:p></o:p>
    ตาสังเยวะ ภิกขุนีนัง อัคคา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๘๒. เถรี ตุ ภัททะกัจจานา มะหาภิญญานะมุตตะมา<o:p></o:p>
    ชิเนนะ สุขะทุกขัง สา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๘๓. ลูขะจีวะระธารีนัง อัคคา กิสาปิ โคตะมี<o:p></o:p>
    ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๘๔. สิงคาละมาตา ภิกขุนี สัทธาธิมุตตานะ มุตตะมา<o:p></o:p>
    กะโรนตุโน มะหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๑๘๕. อัญญา ภิกขุนิโย สัพพา นานาคุณะธะรา พะหู<o:p></o:p>
    ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา โสกะโรคาทิสัมภะวา.<o:p></o:p>
    ๑๘๖. โสตาปันนาทะโย เสกขา สัทธาปัญญาสีลาทิกา<o:p></o:p>
    ภาคะโส เกลสะทะหะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พญานาค<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑๘๗. สุมะโน สุมะนะจะโล อะระวาเฬระปัตตะโก<o:p></o:p>
    จัมเปยโย มุจะลินโท จะ กัมพะโล ภุชะคิสสะโร.<o:p></o:p>
    ๑๘๘. กาละนาโค มะหากาโฬ สังขะปาโล มะโหทะโร<o:p></o:p>
    มะณิกัณโฐ มะณิอัคขิ นันทะนาโคปะนันทะโก.<o:p></o:p>
    ๑๘๙. วะรุโณ ธะตะรัฏโฐ จะ กุงคุวิโล ปะลาละโก<o:p></o:p>
    จิตฺระนาโค มะหาวีโร ฉัพฺยาปุตโต จะ วาสุกี.<o:p></o:p>
    ๑๙๐. กัณหาโคตะโม ภุชะนินโท อัคคิธูมะสิโข ตะถา<o:p></o:p>
    จูโฬทะโร อะหิจฉัตโต นาคา เอราปะถาทะโย.<o:p></o:p>
    ๑๙๑. อาสิวิสา โฆระวิสา เย สัพเพ นะยะนาวุธา<o:p></o:p>
    ชะลัฏฐา วะ ถะลัฏฐา วา ปัพพะ เตยยา นะทีจะรา<o:p></o:p>
    กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อายุมาโรคิยัง สะทา.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เปรต<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๑๙๒. นิชฌามะตัณหิกา เปตา อุสุสัตติ จะ โลมะกา<o:p></o:p>
    มังสะปิณฑาทะโย เปตา เปตา เวมานิกาทะโย<o:p></o:p>
    ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา สะทา เต สุขิโน สะทา.<o:p></o:p>
    อสูร<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๑๙๓. เย ปะหาราทะสัมพะรา พะละยาสุระคะณา จะ เย<o:p></o:p>
    เวปะจิตตาสุระคะณา จันทาสุระคะณาทะโย.<o:p></o:p>
    ๑๙๔. สัพเพ เตปิ มหาเตชา ภูตะยักขะนิวาระณา<o:p></o:p>
    กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เทวดา<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๑๙๕. เย ยักขา สัตตะสะหัสสา ภุมมา กาปิละวัตถุกา<o:p></o:p>
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสสิโณ.<o:p></o:p>
    ๑๙๖. สัพเพ ติสะระณา ยักขา มะเหสักขา ชุตินธะรา<o:p></o:p>
    กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา.<o:p></o:p>
    ๑๙๗. ฉะสะหัสสา เหมะวะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน<o:p></o:p>
    พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๙๘. สาตาคิรา ติสะหัสสา ยักขา นีลาทิวัณณิโน<o:p></o:p>
    นานาปะภายะ สัมปันนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๑๙๙. เวสสามิตตา ปัญจะสะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน<o:p></o:p>
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโณ<o:p></o:p>
    โมทะมานา อะภิกกามุง สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๐๐. กุมภีโร ราชะคะหิโก เวปุลลัสสะนิเวสะนัง<o:p></o:p>
    ภิยโย นัง สะตะสะหัสสัง ยักขานัง ปะยิรุปาสะติ<o:p></o:p>
    โส ยักเขหิ ปะริวาโร สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๐๑. ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ<o:p></o:p>
    คันธัพพานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส.<o:p></o:p>
    ๒๐๒. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา<o:p></o:p>
    โส ราชา สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๐๓. ทักขินัญจะ ทิสัง ราชา วิรุฬโห ตัง ปะสาสะติ<o:p></o:p>
    กุมภัณฑานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส.<o:p></o:p>
    ๒๐๔. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา<o:p></o:p>
    วิรุฬโห สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๐๕. ปัจฉิมัญจะ ทิสัง ราชา วิรูปักโข ปะสาสะติ<o:p></o:p>
    นาคานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส.<o:p></o:p>
    ๒๐๖. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา<o:p></o:p>
    วิรูปักโข สะปุสเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๐๗. อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา กุเวโร ตัง ปะสาสะติ<o:p></o:p>
    ยักขานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส.<o:p></o:p>
    ๒๐๘. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา<o:p></o:p>
    กุเวโร สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๐๙. ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก<o:p></o:p>
    ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง.<o:p></o:p>
    ๒๑๐. จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา<o:p></o:p>
    ทัททัฬหะมานา อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๑๑. เตสัง มายาวิโน ทาสา อาคุง วัญจะนิกา สะฐา<o:p></o:p>
    มายา กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วิตุจจะ วิตุโฏ สะหะ.<o:p></o:p>
    ๒๑๒. จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ<o:p></o:p>
    ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ.<o:p></o:p>
    ๒๑๓. จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะโนสะโภ<o:p></o:p>
    วะโร ปัญจะสิโข เจวะ ติมพะรู สุริยะวัจฉะสา.<o:p></o:p>
    ๒๑๔. เอเต จัญเญ จะ ราชาโน คันธัพพา จะ มะหัพพะลา<o:p></o:p>
    โมทะมานา สะทา โสตถิง โน กะโรณตุ อะนามะยัง.<o:p></o:p>
    ๒๑๕. มะหันตา นาคะสา นาคา เวสาลา สะหะ ตัจฉะกา<o:p></o:p>
    กัมพะลัสสะตะรา จาปิ เมรูปาทะสิตา พะลา.<o:p></o:p>
    ๒๑๖. ยามุนา ธะตะรัฏฐา จะ สัพเพ นาคา ยะสัสสิโน<o:p></o:p>
    เอราวะโณ มะหานาโค โน กะโรณตุ อานามะยัง.<o:p></o:p>
    ๒๑๗. มะหิทธิกา สุปัณณา เย นาคะราเช มะหัพพะเล<o:p></o:p>
    คะเหตตะวา ชินะเขตเตวะ ปักขันทิงสุ นะเภ พะลา.<o:p></o:p>
    ๒๑๘. ปะฐัพฺยาโป จะเตโช จะ วาโย เทวา มะหิทธิกา<o:p></o:p>
    อุปะจาเรนะ นิพพัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๑๙. วะรุณา วาระณา เทวา โสโม จะ ยะสะสา สะหะ<o:p></o:p>
    เมตตาการุณิกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๐. ปัณณาสะโยชะนายาเม วิมาเน ระตะนามะเย<o:p></o:p>
    ฐิโต ตะเม วิหันตะวานะ สุริโย โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๑. จันโท สีตะกะโร โลเก ปะภายุชชะลิโตทะโย<o:p></o:p>
    มะหันธะการะวิทธังสิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๒. เวณฑู จะ สะหัสสี เทวา อะสะมา จะ ทุเว ยะมา<o:p></o:p>
    จันทัสสูปะนิสา เทวา เทวาสูริยะนิสสิตา<o:p></o:p>
    พุทธัสสะ มามะกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๓. นักขัตตานิ ปุรักขิตฺวา เทวา มันทะวะลาหะกา<o:p></o:p>
    สักโก ปุรินทะโท เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๔. มะหันตา สะหะภู เทวา ชะละมัคคิสิขาริวะ<o:p></o:p>
    อะริฏฐะกา จะ โรชา จะ อุมาปุปผะนิภาสิโน.<o:p></o:p>
    ๒๒๕. วะรูณา สะหะธัมมา จะ อัจจุตา จะ อะเนชะกา<o:p></o:p>
    สุเลยยะรุจิรา เทวา เทวา วาสะวะเนสิโน<o:p></o:p>
    ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๖. สะมานา มะหาสะมานา มานุสา มานุสุตตะมา<o:p></o:p>
    ขิฑฑาปะโทสิกา เทวา เทวา มะโนปะโทสิกา.<o:p></o:p>
    ๒๒๗. อะถาปิ หะระโย เทวา เทวา โลหิตะวาสิโน<o:p></o:p>
    ปะระคา มะหาปาระคา สัพเพ เทวา ยะสัสสิโน<o:p></o:p>
    ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๒๘. สุกกา กะรุมหา อะรุณา อาคุง เวฆะนะสา สะหะ<o:p></o:p>
    โอทาตะคัยหา ปาโมกขา อาคุง เทวา วิจักขะณา.<o:p></o:p>
    ๒๒๙. สะทามัตตา หาระคะชา มิสสะกา จะ ยะสัสสิโน<o:p></o:p>
    ถะยะนัง อาคะปัชชุนโน โย ทิสาสะวะภิวัสสะติ.<o:p></o:p>
    ๒๓๐. ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน<o:p></o:p>
    อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน<o:p></o:p>
    โมทะมานา ชินะทานา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๓๑. โลกะธาตุสะหัสเสสุ ทะสะเสววะ สะมันตะโต<o:p></o:p>
    เทวาทะโย ปาณะคะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๓๒. เขมิยา กัฏฐะกายา จะ โชตินามา มะหิทธิกา<o:p></o:p>
    ลัมพีตะกา ลามะเสฏฐา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๓๓. ชะลัฏฐา จะ ถะลัฏฐัญเญ เทวากาสัฏฐะกาทะโย<o:p></o:p>
    ยักขะคันธัพพะกุมภัณฑา ปิสาจา เย มะโหระคา<o:p></o:p>
    เมตตะจิตตา จะ สัพเพ เต โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๓๔. ตาวะติงสา จะ เย เทวา ยามา เทวา มะหิทธิกา<o:p></o:p>
    ตุสิตา จะ มะหา เทวา นิมมานะระติโนมะรา.<o:p></o:p>
    ๒๓๕. วะสะวัตตีสุ ระติโน สัพเพ เทวา สะวาสะวา<o:p></o:p>
    พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พรหม<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๒๓๖. พฺรัหฺมาโน ปาริสัชชา จะ เย จะ พฺรัหฺมะปุโรหิตา<o:p></o:p>
    มะหาพฺรัหฺมา จะ สัพเพ เต ปะฐะมัชฌานะสัณฐิโน.<o:p></o:p>
    ๒๓๗. เมตตาวิหาริโน สันตา สัมพุทธัสสะ ปะรายะนา<o:p></o:p>
    กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง เสกขาเสกขะปุถุชชะนา.<o:p></o:p>
    ๒๓๘. ปะริตตาภัปปะมาณาภา พฺรัหฺมา จาภัสสะรา ตะถา<o:p></o:p>
    พุทธะปูชายะ นิระตา ทุติยัชฌานะสัณฐิโน.<o:p></o:p>
    ๒๓๙. เมตตาการุณิกา สัพเพ สัพพะสัตตะหิเตสิโน<o:p></o:p>
    กะโรนตุ โน มะหาสันติง โสตถิมาโรคฺยะมายุวัง.<o:p></o:p>
    ๒๔๐. ปะริตตะสุภาพฺรัหฺมาโน อัปปะมาณะสุภา จะ เย<o:p></o:p>
    สุภะกิณหา จะ พฺรัหฺมาโน ตะติยัชฌานะสัณฐิโน.<o:p></o:p>
    ๒๔๑. ปะภายะ ผะระณา โลเก พุทธะฌานะระตา สะทา<o:p></o:p>
    อะหิงสา สัพพะสัตเตสุ สะทา สันติง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๒. เวหัปผะลาปิ พฺรัหฺมาโน จะตุถถัชฌานะสัณฐิโน<o:p></o:p>
    เสกขะปุถุชชะนาเสกขา สะทา สันติง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๓. สัมปัตติยา นะ หายันติ พฺรัหฺมาโน ชินะสาวะกา<o:p></o:p>
    อะวิหานามะกา สัพเพ สะทา สันติง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๔. อะตัปปา นามะ พฺรัหฺมาโน จะตุถถัชฌานะสัณฐิโน<o:p></o:p>
    พฺรัหฺมะวิหาริกา สัพเพ โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๕. สุทัสสา นามะ พฺรัหฺมาโน ภิรูปา ฌานะโภคิโน<o:p></o:p>
    อะปุนาคะมะนา กาเม สันติง ผาสุง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๖. พฺรัหฺมะวิหาระสัมปันนา ชินะภัตติปะรายะนา<o:p></o:p>
    พฺรัหฺมาโน สุทัสสี นามะ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๗. อะกะนิฏฐา จะ พฺร้หฺมาโน เชฏฐา สัพพะคุเณหิ จะ<o:p></o:p>
    ปะหีนะภะวะนิเสนหา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๘. ปะฐะมารูปะพฺรัหฺมาโน สัพพะรูปะวิราคิโน<o:p></o:p>
    ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๔๙. ทุติยารูปะพฺรัหฺมาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน<o:p></o:p>
    ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๐. ตะติยารูปะพฺรัหฺมาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน<o:p></o:p>
    ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๑. จะตุตถารูปะพฺรัหฺมาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน<o:p></o:p>
    ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    บุคคลประเภทรวม<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๒๕๒. เวเทเหปะระโคยาเน ชัมพูทีเป กุรุมหิ จะ<o:p></o:p>
    เทวะยักขะปิสาเจหิ สัทธิง วิชชาธะราทะโย.<o:p></o:p>
    ๒๕๓. อากาสัฏฐา จะ พฺรัหฺมาโน ชะลัฏฐา จันตะลิกขะชา<o:p></o:p>
    ทะวิปะทาทะโย เย สัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๔. มาระเสนะวิฆาตัสสะ ชินัสสะ สุขะฌายิโน<o:p></o:p>
    เตโชพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๕. นานาคุณะวิจิตตัสสะ รูปะกายัสสะ สัตถุ โน<o:p></o:p>
    สัพพะเทวะมะนุสสานัง มาระพันธะวิโมจิโน<o:p></o:p>
    เมตตาพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๖. สัพพัยญุตาทิกายัสสะ ธัมมะกายัสสะ สัตถุโน<o:p></o:p>
    จักขาทะยะโคจะรัสสาปิ โคจะรัสเสวะ ภูริยา<o:p></o:p>
    เตโชพะเลนะ มะหะตา สัพพะ มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๗. รูปะกายะสะทิสัสสะ นิมมิตัสสะ มะเหสิโน<o:p></o:p>
    ธัมมัสสะ วัตตุโน สัคเค เทวานัง สุคะตา ปะติ<o:p></o:p>
    เตโชพะเลนะ มะหาตา สะทา มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๘. สิกขิตฺวา มานุเส เทเว โมจะวิตฺวา สะเทวะเก<o:p></o:p>
    สังขาเร ปะชะหันตัสสะ นิพพุตัสสะ มะเหสิโน<o:p></o:p>
    มหันเตนานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๕๙. จะตุราสีติสะหัสสะ ธัมมักขันธัสสะ เตชะสา<o:p></o:p>
    นะวังคะสาสะนัสสาปิ นะวะโลกุตตะรัสสะ จะ<o:p></o:p>
    สัพพะปาปะปะวาเหนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๖๐. มะหะโตริยะสังฆัสสะ ปัญญักเขตตัสสะ ตาทิโน<o:p></o:p>
    ปะหีนะสัพพะปาปัสสะ สีลาทิกขันธะธาริโณ<o:p></o:p>
    มะหาเตชานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    ๒๖๑. ปาตาเล ภูตะลากาเส เทวะยักขะปิสาจะกา<o:p></o:p>
    วิชชาธะรา จะ คันธัพพา นาคะกุมภัณฑะรักขะสา<o:p></o:p>
    สัพเพสะมานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อานุภาพของอุปปาตะสันติ<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    ๒๖๒. อิจเจวะมุปปาตะสันติง โย วะเทยยะ สุเณยยะ วา<o:p></o:p>
    วิเชยยะ สัพพะปาปานิ วุทธัตตัญจะ ภะวิสสะติ.<o:p></o:p>
    ๒๖๓. โสตถิกาโม ละเภ โสตถิง สุขะกาโม สุขังละเภ<o:p></o:p>
    อายุกาโม ละเภยยายุง ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง.<o:p></o:p>
    ๒๖๔. นะ ตัสสะ โรคา พาเธนติ วาตะปิตตาทิสัมภะวะ<o:p></o:p>
    อะกาละมะระณัง นัตถิ นะ เทโว วิสะโมสะเร.<o:p></o:p>
    ๒๖๕. นะ จุปปาตะภะตัง ตัสสะ ดนปี ปัตตะภะยัง ตะถา<o:p></o:p>
    นัสสันติ ทุนนิมิตตานิ ปาปะกัมมัฏฐิตานิ จะ<o:p></o:p>
    ทีฆะมายุ มะหาโสตถิง อาโรคฺยัญจะ สะทา ภะเว.<o:p></o:p>
    ๒๖๖. โย สุตฺวาปิ มะหาสันติง สังคามัง ปะวิเส นะโร<o:p></o:p>
    วิชะเย เวริโน สัพเพ นะ สัตเถหะยะภิภูยะเต.<o:p></o:p>
    ๒๖๗. สัพพะทา ละภะเต ปิติง นะวิปัตติง นาวะคาหะติ<o:p></o:p>
    โรเคหิ นาภิภูยะเต สะวัตถูหิ วิวัฑฒะเต.<o:p></o:p>
    ๒๖๘. ยัตฺระ เทเส วะโกวะกา พาฬหะกา รักขะสาทะโย<o:p></o:p>
    อุปปาตะสันติโฆเสนะ สัพเพ ตัตถะ สะมันติ เต.<o:p></o:p>
    ๒๖๙. ยะมุททิสสะ วะเท สันติง สะชีวัญจาปะยะชีวิตัง<o:p></o:p>
    โส มุจจะเต มะหาทุกขา ปัปโปติ สุคะติง สะทา.<o:p></o:p>
    ๒๗๐. เทวัฏฐาเน นาคะเร วา นิจจะมุปปาตะสันติยา<o:p></o:p>
    ปาละกา เทวะราชาโน เตชะสิรีวิวัฑฒะนา.<o:p></o:p>
    ๒๗๑. ปะถะพะยาปาทิสัญชาตา อุปปาตา จันตะลิกขะชา<o:p></o:p>
    อินทาทิชะนิตุปปาตา ปาปะกัมมะสะมุฏฐิตา<o:p></o:p>
    สัพพุปปาตา วินัสสันติ เตชะสุปปาตะสันติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อุปปาตะสันติ นิฏฐิตาฯ<o:p></o:p>
    จบอุปปาตะสันติ<o:p></o:p>
    มนต์สำหรับระงับเหตุร้ายทั้งปวง<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1026" style='position:absolute; z-index:1' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    พระคาถาอาการะวัตตาสูตร

    พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๒๘ พระองค์ที่ล่วงไปแล้วก็ดี พระพุทธเจ้าในปัจจุบันก็ดี ได้ทรงกระทำตามกันมาทุกๆพระองค์ พระสูตรนี้เป็นพระสูตรอันใหญ่ยิ่งหาสูตรอื่นมาเปรียบมิได้ ด้วยมีทั้ง พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ พระปิฎก ขอท่านทั้งหลายอย่าได้ทิ้งวาง ในที่อันไม่สมควรเลย จงทำการสักการะบูชา สวดมนต์ ภาวนา ฟัง ตามสติกำลังด้วยเทอญ

    . อิติปิโสภะคะวา อะระหัง
    อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ
    อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุคะโต
    อิติปิโสภะคะวา โลกะวิทู
    อิติปิโสภะคะวา อะนุตตะโรปุริสะธัมมะสาระถิ
    อิติปิโสภะคะวา สัตถาเทวะมะนุสสานัง
    อิติปิโสภะคะวา พุทโธ
    อิติปิโสภะคะวา ภะคะวาติ
    (พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม)

    . อิติปิโสภะคะวา อะภินิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะนิธานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหากะรุณา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะโยคะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยุติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ชุติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะโอกกันติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะฐิติ ปาระมิสัมปันโน
    (อะภินิหาระวัคโค ทุติโย)

    . อิติปิโสภะคะวา คัพภะวุฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คัพภะมะละวิระหิตะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุตตะมะชาติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะภิรูปะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุวัณณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหาสิริ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อาโรหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะรินาหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สุนิฏฐะ ปาระมิสัมปันโน
    (คัพภะวุฏฐานะวัคโค ตะติโย)

    . อิติปิโสภะคะวา อะภิสัมโพธิ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมาธิขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญญาขันธะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    (อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุฏโฐ)

    . อิติปิโสภะคะวา มะหาปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุถุปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา หาสะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ชะวะนะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ติกขะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจะจักขุ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระ ปาระมิสัมปันโน
    (มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม)

    . อิติปิโสภะคะวา ทานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิริยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ขันตี ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัจจะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะธิษฐานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา เมตตา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุเปกขา ปาระมิสัมปันโน
    (ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ)

    . อิติปิโสภะคะวา ทะสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะสะอุปะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทะสะปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมะติงสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะภิญญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะมาธิ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิมุตติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ทะสะปาระมิวัคโค สัตตะโม)

    . อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะวิปัสสะนาวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะโนมะยิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อิทธิวิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะระจิตตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะระณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะระณะธัมมะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    (วิชชาวัคโค อัฏฐะโม)

    . อิติปิโสภะคะวา ปะริญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะหานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะริญญาปะหานะสัจฉิกิริยาภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ปะริญญานะวัคโค นะวะโม)

    ๑๐. อิติปิโสภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สะติปัฏฐานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัมมัปปะทานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อิทธิปาทะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อินทรียะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โพชฌังคะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา มะหาปุริสะสัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะระหัตตะพะละวิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
    (โพธิปักขิยะวัคโค ทะสะโม)

    ๑๑. อิติปิโสภะคะวา ทะสะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ฐานาฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิปากะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นานาธาตุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นานาธิมุตติกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อินทริยะปะโรปะริยัตตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา นิโรธะวุฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ทะสะพะละญาณะวัคโค ทะสะโม)

    ๑๒ . อิติปิโสภะคะวา โกฏิสะหัสสานังปะกะติสะหัสสานังหัตถีนังพะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุริสะโกฏิทะสะสะหัสสานังพะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจะจักขุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมักกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สีละคุณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คุณะปาระมิสะมาปัตติ ปาระมิสัมปันโน
    (กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม)

    ๑๓. อิติปิโสภะคะวา ถามะพะละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ถามะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปุริสะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะตุละยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อุสาหะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะเวสิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ถามะพะละวัคโค เตระสะโม)

    ๑๔. อิติปิโสภะคะวา จะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โลกัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ญาณัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ติวิธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปาระมิอุปะปาระมิปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
    (จะริยาวัคโค จะตุระสะโม)

    ๑๕. อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุอะนิจจะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุทุกขะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุอะนัตตะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อายัตตะเนสุติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อัฏฐาระสะธาตุสุติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วิปะรินามะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
    (ลักขะณะวัคโค ปัณณะระสะโม)

    ๑๖. อิติปิโสภะคะวา คะตัตถานะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา คะตัตถานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วะสิตะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา วะสิตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สิกขา ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สิกขาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สังวะระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สังวะระญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    (คะตัตถานะวัคโค โสฬะสะโม)

    ๑๗. อิติปิโสภะคะวา พุทธะปะเวณี ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา พุทธะปะเวณีญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุพรหมวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะนาวะระณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา อะปะริยันตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา สัพพัญญุตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
    อิติปิโสภะคะวา จะตุวีสะติโกฏิสะตะวัชชิระ ปาระมิสัมปันโน
    (ปะเวณีวัคโค สัตตะระสะโม)<o:p></o:p>
    <hr align="center" size="2" width="100%"> ​
    อานิสงส์อาการวัตตาสูตร<o:p></o:p>
    ......ในสมัยหนึ่งสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับอยู่ ณ เขาคิชฌกูฎบรรพตคีรี ใกล้ราชธานี
    ราชคฤห์มหานคร ในสมัยครั้งนั้นพระสารีบุตรพุทธสาวก เข้าไปสู่ที่เฝ้าถวายอภิวาทโดยเคารพแล้วนั่ง
    ในที่ควรส่วนข้างหนึ่งเล็กแลดูสหธัมมิกสัตว์ทั้งหลาย ก็เกิดปริวิตกในใจคิดถึงกาลต่อไปภายหน้าว่า
    “อิเม โข สตฺตา ฉินฺนมูลา อตีตสิกฺขา” สัตว์ทั้งหลายเหล่านี้ที่หนาไปด้วยกิเลสมีอวิชชาหุ้มห่อไว้ มี
    สันดานอันรกชัฏด้วยอกุศล คือ โลภะ โทสะ โมหะ ชื่อว่ากุศลมูลขาดแล้ว มีสิกขาอันละเสียแล้ว เที่ยง
    ที่จะไปสู่อบายทั้ง ๔ คือ นรก เปรตวิสัย อสุรกายและสัตดิรัจฉาน เมื่อสัตว์หนาไปด้วยอกุศล จะนำตน
    ให้ไปไหม้อยู่ในอบายภูมิตลอดกาลยืดยาวนาน ธรรมเครื่องกระทำให้เป็นพระพุทธเจ้า คือบารมี
    ๓๐ ทัศ มีอยู่จะห้ามกันเสียได้ซึ่งจตุราบายทุกข์ทั้งมวล และธรรมที่พระองค์ตรัสไว้ในพระสูตร
    พระวินัย พระปรมัตถ์ล้วนเป็นธรรมที่จะนำให้สัตว์พ้นจากสังสารทุกข์ทั้งนั้น เมื่อปริวิตกเช่นนี้เกิดมีแก่
    พระธรรมเสนาบดีพระสารีบุตรแล้ว ด้วยความเมตตากรุณาแก่ประชาชนทั้งหลายที่เกิดมาในสุดท้าย
    ภายหลังจะได้ปฏิบัติเป็นเครื่องป้องภัยในอบาย พระผู้เป็นเจ้าจึงยกอัญชลีกรถวายอภิวาทพระบรม
    โลกนาถเจ้า แล้วทูลถามว่าข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เจริญ “เย เกจิ ทุปฺปญฺญา ปถคฺคลา” บุคคลทั้ง
    หลายเหล่าใดเหล่าหนึ่ง มีปัญญายังหนาด้วยโมหะหารู้จักพุทธกรณธรรม คือบารมีแห่งพระพุทธเจ้านั้น
    ไม่เพราะเป็นคนอันธพาล กระทำซึ่งกรรมอันเป็นบาปทั้งปวงด้วยอำนาจราคะ โทสะ โมหะ เข้าครอบ
    งำกระทำกรรมตั้งแต่เบาคือ ลหุกรรม จนกระทั่งกรรมหนักคือครุกรรม โดยไม่มีความกระดากอาย
    เบื้องหน้าแต่แตกกายทำลายขันธ์ จากชีวิตอินทรีย์แล้วจะไปเกิดในอเวจีนิรยาบาย ข้าแต่พระผู้มีพระภาค
    เจ้าข้าผู้ประเสริฐ ธรรมอันสุขุมคัมภีรภาพสามารถปราบปรามห้ามเสียซึ่งสัตว์ทั้งหลาย มิให้ตกไปสู่
    นรกใหญ่จะมีอยู่หรือพระพุทธเจ้าข้า <o:p></o:p>

    ในลำดับนั้นสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแสดงอาการวัตตาสูตร
    กำหนดด้วยวรรค ๕ วรรค มีนวราทิคุณวรรค เป็นต้น จนถึงปารมีทัตตะวรรค เป็นคำรบ ๕
    คาถาอาการวัตตาสูตรนี้ มีอานุภาพยิ่งกว่าสูตรอื่น ๆ ในการที่ป้องกันภัยอันตรายแก่ผู้มาตาม
    ระลึกอยู่เนืองนิตย์ บาปกรรมทั้งปวงจะไม่ได้ช่องหยั่งลงสู่สันดานได้ด้วยอำนาจอาการวัตตาสูตรนี้
    และบุคคลผู้ใดได้ฟังก็ดีได้เขียนเองก็ดี หรือได้จ้างท่านผู้อื่นเขียนให้ก็ดีได้ท่องทรงจำไว้ก็ดี ได้กล่าว
    สอนผู้อื่นก็ดี ได้สักการบูชาเคารพนับถือก็ดี ได้สวดมนต์ภาวนาอยู่เนือง ๆ ก็ดี ก็จะได้พ้นจากภัย ๓๐
    ประการคือภัยอันเกิดแต่ งูพิษ สุนัขป่า สุนัขบ้าน โคบ้าน และโคป่า กระบือบ้านและกระบือเถื่อน
    พยัคฆะ หมู เสือ สิงห์ และภัยอันเกิดแต่คชสารอัสดรพาชี จตุรงคชาติของพระราชา ผู้เป็นจอมของ
    นรชน ภัยอันเกิดแต่น้ำและเพลิงเกิดแต่มนุษย์และอมอุษย์ภูตผีปิศาจเกิดแต่อาชญาของแผ่นดินเกิดแต่
    ยักษ์กุมภัณฑ์ และคนธรรพ์อารักขเทวตา เกิดแต่มาร ๕ ประการที่ผลาญให้วิการต่าง ๆ เกิดแต่วิชาธร
    ผู้ทรงคุณวิทยากรและภัยที่จะเกิดแต่มเหศวรเทวราช ผู้เป็นใหญ่ในเทวโลกรวมเป็นภัย ๓๐ ประการ
    อันตรธานพินาศไป ทั้งโรคภัยที่เสียดแทงอวัยวะน้อยใหญ่ ก็จะวินาศเสื่อมคลายหายไปด้วยอำนาจ
    เคารพนับถือในพระอาการวัตตาสูตรนี้แล ดูกรสารีบุตรบุคคลผู้นั้นเมื่อยังท่องเที่ยวอยู่ในสังสรวัฏฏ์ จะ
    เป็นผู้มีปัญญาละเอียดสุขุม มีชนมายุยืนยงคงทนนาน จนเท่าถึงอายุไขยเป็นกำหนดจึงตายจะตายด้วยอุ
    ปัททวันอันตราย นั้นหามิได้ ครั้นเมื่อสิ้นชีพแล้วจะได้ไปอุบัติขึ้นบนสวรรค์ร่างกายก็จะมีฉวีวรรณอัน
    ผ่องใจดุจทองคำธรรมชาติ จักษุประสาทก็จะรุ่งเรืองงามมองดูได้ไกลมิได้วิปริต จะได้เป็นพระอินทร์
    ๓๖ กัลปเป็นประมาณ จะได้สมบัติพระยาจักรพรรดิราชาธิราช ๑๖ กัลป คับครั่งไปด้วยรัตนะ ๗
    ประการก็ด้วยอานิสงส์ที่ได้สวดสาธยายอยู่เนืองนิตย์ “ทุคฺคตึ โส น คจฺฉติ” แม้แต่สดับฟังท่านอื่น
    เทศนา ด้วยจิตประสันนาการเลื่อมใสก็ไม่ไปสู่คติตลอดยืดยาวนานถึง ๙๐ แสนกัลป์<o:p></o:p>

    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1027" style='position:absolute; z-index:2' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    <o:p> </o:p>


    พระคาถาธารณปริตร<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    น้อมรำลึกถึงพระปัญญาคุณ พระเมตตาธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ แห่งองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ โดยกล่าวคำนอบน้อมนมัสการคือ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ๓ จบ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. พุทธานัง ชิวิตตัสสะ นะ สักกา เกนะจิ อันตะราโย กาตุง ตถา เม โหตุ<o:p></o:p>
    อตีตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต อัปปฏิหะตะญาณัง อนาคตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต อัปปฏิหะตะญาณัง ปัจจุปันนัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต อัปปฏิหะตะญาณัง<o:p></o:p>
    ๒. อิเมหิ ตีหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต <o:p></o:p>
    สัพพัง กายะกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปริวัตตัง สัพพัง วจีกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปริวัตตัง สัพพัง มะโนกัมมัง ญาณะปุพพังคะมัง ญาณานุปริวัตตัง<o:p></o:p>
    ๓. อิเมหิ ฉะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต<o:p></o:p>
    นัตถิ ฉันทัสสะ หานิ นัตถิ ธัมมะเทสนายะ หานิ นัตถิ วิริยัสสะ หานิ นัตถิ วิปัสสะนายะ หานิ นัตถิ สมาธิธัสสะ หานิ นัตถิ วิมุตติยา หานิ<o:p></o:p>
    ๔. อิเมหิ ทะวาทะสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต<o:p></o:p>
    นัตถิ ทะวา นัตถิ ระวา นัตถิ อัปผุฏฏัง นัตถิ เวคายิตัตตัง นัตถิ พะยาวะฏะมะโน นัตถิ อัปปฏิสังขารุเปกขา<o:p></o:p>
    ๕. อิเมหิ อัฏฐาระสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ พุทธัสสะ ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง<o:p></o:p>
    สัมมาสัมพุทธานัง นัตถิ ตะถาคะตัสสะ กายะทุจริตตัง นัตถิ ตะถาคะตัสสะ วจีทุจริตตัง <o:p></o:p>
    นัตถิ ตะถาคะตัสสะ นะโมทุจริตตัง นัตถิ อตีตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญาณัง นัตถิ อนาคตัง เส พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญาณัง นัตถิ ปัจจุปันนัง เส พุทธัสสะ
    ภะคะวะโต ปะฏิหะตะญาณัง<o:p></o:p>
    นัตถิ สัพพัง กายะกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปริวัตตัง<o:p></o:p>
    นัตถิ สัพพัง วจีกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปริวัตตัง<o:p></o:p>
    นัตถิ สัพพัง มะโนกัมมัง ญาณานุปุพพัง คะมัง ญาณัง นานุปริวัตตัง<o:p></o:p>
    อิมัง ธาระณัง อะมิตัง อะสะมัง สัพพะสัตตานัง ตาณังเลณัง สังสาระ ภะยะภีตานัง อัคคัง มหาเตชัง<o:p></o:p>
    ๖. อิมัง อานันทะ ธาระณะปริตรตัง ธาเรหิ วาเรหิ ปริปุจฉาหิ <o:p></o:p>
    ตัสสะ กาเย วิสัง นะ กะเมยยะ อุทะเกนะ ลัคเคยยะ อัคคีนะ ทะเหยยะ นานาภะยะวิโก นะ เอกาหาระโก นะ ทะวิหาระโก นะ ติหาระโก นะ จะตุหาระโก นะ อุมมัตตะกัง นะ มุฬะหะกัง มนุสเสหิ อะมนุสเสหิ นะ หิงสะกา<o:p></o:p>
    ๗. ตัง ธาระณัง ปริตตัง ยถา กะตะเม<o:p></o:p>
    ชาโล มหาชาโล ชาลิตเต มหาชาลิตเต ปุคเค มหาปุคเค สัมปัตเต มหาสัมปัตเต ภูตัง
    คะมะหิ ตะมังคะลัง<o:p></o:p>
    ๘. อิมัง โข ปะนานันทะ ธาระณะปริตตัง สัตตังสะเตหิ สัมมาสัมพุทธโกฏีหิ ภาสิตัง<o:p></o:p>
    วัตเต อะวัตเต คันธเว อะคันธะเว โนเม อะโนเม เสเว อะเสเว กาเย อะกาเย ธาระเณ <o:p></o:p>
    อะธาระเณ อิลลิ มิลลิ ติลลิ มิลลิ โยรุเข มหาโยรุกเข ภูตัง คะมะหิ ตะมังคะลัง<o:p></o:p>
    ๙. อิมัง โข ปะนานันทะ ธาระณะปริตตัง นะวะ นะ วุติยา สัมมาสัมพุทธโกฏีหิ ภาสิตัง<o:p></o:p>
    ทิฏฐิลา ทัณทิลา มันติลา โรคิลา ขะระลา ทุพพิลา เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ความเป็นมาของพระคาถาธารณปริตร<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เมื่อครั้งออกพรรษาปี ๒๕๒๖ พระป่ากรรมฐานรูปหนึ่งได้มีโอกาสออกวิเวก เจริญรุกขมูล ธุดงค์ทางภาคเหนือและชายแดนฝั่งพม่า เขตติดต่อพรมแดน ในแวดวงหมู่บ้านชาวเขาเผ่าต่างๆ นานเกือบ ๓ เดือน ขณะปักกลดพักที่ดอยพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน ได้พบและ ปรึกษาธรรมปฏิบัติและอื่นๆ กับพระอาจารย์รังสรรค์ โชติปาโล ซึ่งเพิ่งจะธุดงค์เดินป่า มาจากประเทศพม่า และได้จดจำเอา “พระคาถาธารณปริตร” จากวัดอรัญตะยา ในมัณฑะเล ประเทศพม่า มาด้วย<o:p></o:p>
    เนื่องจากเห็นว่าเป็นบทสวดสรรเสริญพุทธคุณ ที่ในประเทศไทยเรายังไม่คุ้นเคย หรือมีปรากฏมาก่อน จะด้วยสาเหตุใดก็ตามที เมื่อพระป่ามาพบกันหลายองค์ที่จังหวัดลำพูน ก็ได้นำพระคาถาธารณปริตรบทนี้ ทำวัตรเย็นร่วมกันติดต่อกันอยู่ ๕ วันก่อนทำเพียร ภาวนาทุกค่ำคืน ได้ปรากฏเห็นหมู่เทวาอารักษ์ในนิมิต มาชุมนุมและร้องชมเชยสรรเสริญ ชื่นบาน ร่าเริงมาก ที่ได้ยินพระป่ากรรมฐานเจริญพระคาถาธารณปริตรอันทรงคุณเป็นเลิศนี้<o:p></o:p>
    พระภิกษุกรรมฐานทั้ง ๕-๖ รูป ครั้นเจริญพระปริตรนี้ที่ห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน ต่างได้เห็นนิมิต เทวาอารักษ์ ชื่นชมตรงกันทั้งสิ้น แม้จะน้อมนำ ทำน้ำพระพุทธมนต์ โปรดหมู่ญาติโยมในที่ต่างๆ ก็ศักดิ์สิทธิ์เหลือประมาณ จึงได้พิจารณาเห็นว่าพระพุทธานุภาพของพระปริตรบทนี้ ทรงคุณเหลือประมาณ สมควรที่พุทธศาสนิกชนทุกท่านจะได้นำไปสาธยายบูชาต่อไป<o:p></o:p>
    อนึ่ง ข้าพเจ้าได้ทราบจากหลวงปู่ทวด วัดช้างให้ว่า ผู้ที่สาธยายมนต์พระปริตรบทนี้ทุกๆ วัน อย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง พร้อมกับเร่งบริจาคทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา จะสามารถรอดพ้นจากวิกฤตมหาอุบัติภัยโลกที่จะบังเกิด.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1028" style='position:absolute; z-index:3' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    พระคาถาชินบัญชร<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ก่อนที่จะเจริญภาวนา ให้ตั้งจิตใจให้เป็นสมาธิ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ มีเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) เป็นที่สุด แล้ว ตั้งนะโม ๓ จบ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง <o:p></o:p>
    อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา <o:p></o:p>
    อิติปิโส ภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ <o:p></o:p>
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
    ๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.
    ๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
    ๔. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ
    โกญทัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
    ๕. ทักขิเณ สะวะเณ มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
    ๖. เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว.
    ๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
    ๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
    ๙. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอตาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
    ๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง.
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
    ๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏา นาฏิยะ สุตตะกัง.
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
    ๑๒. ชินาณาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา
    วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา.
    ๑๓. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะ ชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
    ๑๔. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา
    ๑๕. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติ ฯ
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    อานุถาพแห่งพระคาถา<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>​
    ผู้ใดได้สวดภาวนาพระคาถาชินบัญชรนี้เป็นประจำอยู่เสมอ จะทำให้เกิดความเป็นสิริมงคล สมบูรณ์พูลผล ศัตรูหมู่พาลไม่กล้ำกราย ไปทางใดย่อมเกิดเมตตามหานิยม เกิดลาภผลพูลทวี ขจัดภัยจากภูตผีปีศาจตลอดจนคุณไสยต่างๆ ทำน้ำมนต์รดแก้วิกลจริต แก้สรรพโรคภัยหายสิ้น เป็นสิริมงคลแก่ชีวิต มีคุณานุภาพตามแต่จะปรารถนา ดังคำโบราณว่า “ฝอยท่วมหลังช้าง” จะเดินทางไปที่ใดๆ สวด ๑๐ จบ แล้วอธิฐาน จะสำเร็จสมดังใจ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อานิสงส์แห่งพระคาถาชินบัญชร<o:p></o:p>​
    <o:p> </o:p>
    พนะคาถาชินบัญชรนี้เป็นคาถาที่ศักสิทธฺ์ยิ่งนัก ตกทอดมาจากลังกา เจ้าประคุณสมเด็จฯ ค้นพบในคัมภีร์โบราณ ได้ดัดแปลงแก้ไขแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ได้เนื้อถ้อยกระทง ความสมบูรณ์ แปลออกมาแล้วมีแต่สิ่งสิริมงคลแก่ผู้สวดภาวนาทุกประการ<o:p></o:p>
    คาถานี้เป็นการอัญเชิญพระพุทธานุภาพแห่งพระบรมศาสดาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    และพระพุทธเจ้าที่ได้เคยตรัสรู้มาก่อนหน้านั้น จากนั้นเป็นการอัญเชิญพระอรหันตขีณาสพ ผู้สำเร็จคุณธรรมวิเศษ แต่ละองค์ไม่เหมือนกัน นอกจากนั้นยังอัญเชิญพระสูตรต่างๆ อันโบราณาจารย์เจ้าถือว่าเป็นพระพุทธมนต์อันวิเศษแต่ละสูตร มารวมกันสอดคล้องเป็น กำแพงแก้วคุ้มกันตั้งแต่กระหม่อมจอมขวัญของผู้ภาวนาพระคาถาลงมาจนล้อมรอบตัว จนกระทั่ง<o:p></o:p>
    หาช่องว่างให้อันตรายสอดแทรกเข้ามามิได้.<o:p></o:p>
     
  9. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๖ บทสวดพิเศษ

    ยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎก<o:p></o:p>​

    ยอดพระกัณฑ์ฉบับนี้ ได้มาจากต้นฉบับเดิมที่จารไว้บนใบลานเป็นอักษรขอม ซึ่ง เปิดกรุครั้งแรกที่เมืองสวรรคโลก มีบันทึกเอาไว้ว่าผู้ใดสวดมนต์เป็นประจำทุกเช้าเย็น
    จะป้องกันภัยอันตรายต่างๆได้รอบด้าน ภาวนาพระคาถาอื่นสัก ๑๐๐ปีก็ไม่เท่ากับ
    อานิสงส์ของการสวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎกนี้เพียงครั้งเดียว
    ผู้ใดที่สวดครบ ๗ วัน หรือครบอายุปัจจุบันของตัวเอง จะมีโชคลาภ ทำมาค้าขายรุ่งเรือง
    ปราศจากภัยพิบัติทั้งปวง ก่อนสวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฏก พึงคุกเข่าพนมมือตั้งใจบูชาพระรัตนตรัย นมัสการพระรัตนตรัย นมัสการพระพุทธเจ้า นมัสการพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ขอให้ตั้งจิตมั่นในบทสวดมนต์ จะมีเทพยดาอารักษ์ทั้งหลายร่วมอนุโมทนาสาธุการ อย่าได้ทำเล่นจะเกิดโทษแก่ตัว
    <o:p> </o:p>

    ยอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎกมีดังนี้
    ๑. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา
    ๒. อะระหัง ตัง สะระณัง คัจฉามิ
    อะระหัง ตัง สิระสา นะมามิ
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ
    โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ
    โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ
    ๓. อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา
    ๔. อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ
    อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    พุทธัง สิระสา นะมามิ
    ๕. อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา
    ๖. อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน <o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
    ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    ๗. อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    ๘. อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมาฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    ๙. อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสัญญานา
    สัญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา
    สัญญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา
    สัญญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    ๑๐. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน
    ๑๑. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน
    ๑๒. กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชมภูทีปัญจะอิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ
    ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อัง ขุ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ อิ สวา สุ สุ สวา อิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ
    ๑๓. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิ ปัญจะ อิสาะโร ธัมมา
    ๑๔. กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาพุทโธ สุ คะ ลา โน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะ ปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมมาสัททะ ปัญจะ สัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ๑๕. ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุ ยะ ปะ กะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ๑๖. นิมมานะระติ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ๑๗. ปะระนิมมิตะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ๑๘. พรหมมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ
    ๑๙. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
    ๒๐. อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
    ๒๑. สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จะตุวีสะติเสนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ
    ๒๒. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิโส ภะคะวา
    ๒๓. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ๒๔. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ๒๕. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ๒๖. นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ
    สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง
    ๒๗. นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะ ตัสสะ หาโย นะโม อุอะมะ
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุ อะมะ อาวันทา นะโม พุทธายะ นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ
    อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก (แปล)
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    ๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก
    ๒. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ด้วยเศียรเกล้า
    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เอง ด้วยเศียรเกล้า
    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า
    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า
    ๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นอนุตตะโร คือ ยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตื่นจากกิเลส
    ๔. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า
    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วยเศียรเกล้า
    ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็น
    ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ด้วยเศียรเกล้า
    ๕. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น รูปขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เวทนาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สัญญาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สังขารขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น วิญญาณขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
    ๖. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ น้ำจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
    ๗. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นยามา
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นดุสิต
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นนิมมานรดี
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในกามาวจรภูมิ
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในรูปาวจรภูมิ
    ๘. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปฐมญาน
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ทุติยญาน
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ตติยญาน
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ จตุตถญาน
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปัญจมญาน
    ๙. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ
    ๑๐. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค
    ๑๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล และ พระอรหัตตผล
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล
    พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล และ พระอรหัตตผล
    ๑๒. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นอิสสระแห่งชมภูทวีป
    ธรรมะฝ่ายกุศล ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า
    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ด้วยหัวใจพระวินัยปิฎก ด้วยหัวใจพระสุตตันตปิฎก ด้วยหัวใจพระอภิธรรมปิฎก
    ด้วยมนต์คาถา ด้วยหัวใจมรรคสี่ ผลสี่ และ นิพพานหนึ่ง ด้วยหัวใจพระเจ้าสิบชาติทรงแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ
    ด้วยหัวใจพระพุทธคุณเก้า ด้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยอันวิจิตรพิสดาร
    ๑๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต
    ๑๔. ธรรมะฝ่ายกุศล ของผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกา
    ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
    ธรรมะฝ่ายกุศล พระพุทธเจ้าเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นยามา
    ธรรมะฝ่ายกุศล ด้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด้วยพระบารมีอันยอดเยี่ยมของพระโพธิสัตว์ทั้งห้า ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต
    ๑๕. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดุสิต
    ๑๖. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นนิมมานรดี
    ๑๗. ธรรมฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้รู้แจ้ง สังขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็นของไม่เที่ยง เป็นความทุกข์ มิใช่เป็นตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี
    ๑๘. ธรรมะฝ่ายกุศล ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นพรหมโลก ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งตราบเข้าสู่พระนิพพาน
    ๑๙. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยการสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
    ๒๐. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
    ๒๑. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
    ๒๒. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น
    ๒๓. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
    ๒๔. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
    ๒๕. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
    ๒๖. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว
    ๒๗. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยคำสอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยพระธรรมคำสั่งสอน ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1027" style='position:absolute; z-index:2' from="0,10.1pt" to="468pt,10.15pt" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>

    พระคาถาทิพย์มนต์

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)​
    หมวดธาตุทั้ง ๖

    <o:p> </o:p>
    <!--[if !supportLists]-->๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->วาโยจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    วาโยจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    วาโยจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->เตโชจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    เตโชจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    เตโชจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๓.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->อาโปจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    อาโปจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    อาโปจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๔.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->ปะฐะวีจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ปะฐะวีจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ปะฐะวีจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๕.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->อากาสาจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    อากาสาจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    อากาสาจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๖.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->วิญญานัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    วิญญานัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    วิญญานัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ
    วิญญูหิติ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระณีโย อนุตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)
    <o:p> </o:p>
    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ อิติอุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา จะตูททิสัง ผะริตวา วิหะระติ สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ นะปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโยโหติ อะมะนุสสานัง ปิโยโหติ เทวะตา รักขันติ นาสสะ อัคคิวา วิสังวา สัตถัง วา กะมะติ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ อิติอุทธะมะโธ ติริยัง เอเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต ภะวะตุสัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง.
    หมวดขันธ์ ๕

    <o:p> </o:p>
    <!--[if !supportLists]-->๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->รูปัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    รูปัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    รูปัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->เวทะนาจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    เวทะนาจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    เวทะนาจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๓.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สัญญาจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สัญญาจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สัญญาจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๔.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->สังขาราจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สังขาราจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สังขาราจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๕.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->วิญญานัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    วิญญานัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    วิญญานัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ
    วิญญูหิติ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระณีโย อนุตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)
    <o:p> </o:p>
    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ อิติอุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา จะตูททิสัง ผะริตวา วิหะระติ สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ นะปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโยโหติ อะมะนุสสานัง ปิโยโหติ เทวะตา รักขันติ นาสสะ อัคคิวา วิสังวา สัตถัง วา กะมะติ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ อิติอุทธะมะโธ ติริยัง เอเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต ภะวะตุสัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง.
    หมวดอายะตะนะ ๑๒

    <o:p> </o:p>
    <!--[if !supportLists]-->๑.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> จักขุงจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    จักขุงจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    จักขุงจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๒.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> โสตัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    โสตัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    โสตัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๓.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> ฆานัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ฆานัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ฆานัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๔.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> ชิวหาจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ชิวหาจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ชิวหาจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๕.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> กาโยจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    กาโยจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    กาโยจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๖.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> มะโนจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    มะโนจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    มะโนจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๗.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> รูปัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    รูปัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    รูปัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๘.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> สัทโทจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สัทโทจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    สัทโทจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๙.[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]--> คัณโธจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    คัณโธจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    คัณโธจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๑๐[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->. ระโสจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ระโสจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ระโสจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๑๑[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->. ผฏฐัพพาจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    โผฏฐัพพาจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    โผฏฐัพพาจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <!--[if !supportLists]-->๑๒[FONT=&quot] [/FONT]<!--[endif]-->. ธัมมาระมะนัญจะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ธัมมาระมะนัญจะ ธัมมะเมตตัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    ธัมมาระมะนัญจะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ
    วิญญูหิติ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลี กะระณีโย อนุตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)
    <o:p> </o:p>
    ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ อิติอุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง เมตตา กรุณา มุฑิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา จะตูททิสัง ผะริตวา วิหะระติ สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ นะปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ มะนุสสานัง ปิโยโหติ อะมะนุสสานัง ปิโยโหติ เทวะตา รักขันติ นาสสะ อัคคิวา วิสังวา สัตถัง วา กะมะติ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ อิติอุทธะมะโธ ติริยัง เอเวรัง อะเวรา สุขะชีวิโน กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต ภะวะตุสัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง อะระหังพุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะมามิหัง.
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1028" style='position:absolute; z-index:3' from="0,6.45pt" to="468pt,6.5pt" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]-->
    <o:p> </o:p>
    พระอิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘

    <o:p> </o:p>
    (นำ) หันทะ มะยัง อะนุสสะระณะ ปาฐะ คาถาโย ภะณา มะเส ฯ
    <o:p> </o:p>
    พระพุทธคุณ ๕๖<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. อิ. อิฏโฐ สัพพัญญุตัญญานัง อิจฉันโต อาสะวักขะยัง
    อิฏฐัง ธัมมัง อะนุปปัตโต อิทธิมันตัง นะมามิหัง
    ๒. ติ. ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม
    ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง
    ๓. ปิ. ปิโย เทวะมะนุสสานัง ปิโยพรหมานะมุตตะโม
    ปิโย นาคะสุปัณณานัง ปิณินทริยัง นะมามิหัง
    ๔. โส. โสกา วิรัตตะจิตโต โย โสภะนาโม สะเทวะเก
    โสกัปปัตเต ปะโมเทนโต โสภะวัณณัง นะมามิหัง
    ๕. ภะ. ภะชิตา เยนะ สัทธัมมา ภัคคะปาเปนะ ตาทินา
    ภะยะสัตเต ปะหาเสนโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง
    ๖. คะ. คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะมาปิโต สะเทวะกัง
    คัจฉะมาโน สิวัง รัมมัง คะตะธัมมัง นะมามิหัง
    ๗. วา. วานา นิกขะมิ โย ตัณหา วาจัง ภาสะติ อุตตะมัง
    วานะ นิพพาปะ นัตถายะ วายะมันตัง นะมามิหัง
    ๘. อะ. อะนัสสา สะกะสัตตานัง อัสสาสัง เทติ โย ชิโน
    อะนันตะคุณะสัมปันโน อันตะคามิง นะมามิหัง
    ๙. ระ. ระโต นิพพานะสัมปัตเต ระโต โย สัตตะโมจะเน
    รัมมาเปตีธะ สัตเต โย ระณะจัตตัง นะมามิหัง
    ๑๐. หัง. หัญญะติ ปาปะเก ธัมเม หังสาเปติ ปะรัง ชะนัง
    หังสะมานัง มะหาวีรัง หันตะปาปัง นะมามิหัง
    ๑๑. สัม. สังขะตาสังขะเต ธัมเม สัมมา เทเสสิ ปาณินัง
    สังสารัง สังวิฆาเฏติ สัมพุทธันตัง นะมามิหัง
    ๑๒. มา. มาตาวะ ปาลิโต สัตเต มานะถัทเธ ปะมัททิโต
    มานิโต เทวะสังเฆหิ มานะฆาฏัง นะมามิหัง
    ๑๓. สัม. สัญจะยัง ปาระมี สัมมา สัญจิตะวา สุขะมัตตะโน
    สังขารานัง ขะยัง ทิสวา สันตะคามิง นะมามิหัง
    ๑๔. พุท. พุชฌิตวา จะตุสัจจานิ พุชฌาเปติ มะหาชะนัง
    พุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคัง พุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง
    ๑๕. โธ. โธติ ราเค จะ โทเส จะ โธติ โมเห จะ ปาณินัง
    โธตะเกลสัง มะหาปุญญัง โธตาสะวัง นะมามิหัง
    ๑๖. วิช. วิเวเจติ อะสัทธัมมา วิจิตะวา ธัมมะเทสะนัง
    วิเวเก ฐิตะจิตโต โย วิทิตันตัง นะมามิหัง
    ๑๗. ชา. ชาติธัมโม ชะราธัมโม ชาติอันโต ปะกาสิโต
    ชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะ ชาติมุตตัง นะมามิหัง
    ๑๘. จะ. จะเยติ ปุญญะสัมภาเร จะเยติ สุขะสัมปะทัง
    จะชันตัง ปาปะกัมมานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง
    ๑๙. ระ. ระมิตัง เยนะ นิพพานัง รักขิตา โลกะสัมปะทา
    ระชะโทสาทิเกลเสหิ ระหิตันตัง นะมามิหัง
    ๒๐. ณะ. นะมิโตเยวะ พรหเมหิ นะระเทเวหิ สัพพะทา
    นะทันโต สีหะนาทัง โย นะทันตัง ตัง นะมามิหัง
    ๒๑. สัม. สังขาเร ติวิเธ โลเก สัญชานาติ อะนิจจะโต
    สัมมา นิพพานะสัมปัตติ สัมปันโน ตัง นะมามิหัง
    ๒๒.ปัน. ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก
    ปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันนัง ตัง นะมามิหัง
    ๒๓. โน. โน เทติ นิระยัง คันตุง โน จะ ปาปัง อะการะยิ
    โน สะโม อัตถิ ปัญญายะ โนนะธัมมัง นะมามิหัง
    ๒๔. สุ. สุนทะโร วะระรูเปนะ สุสะโร ธัมมะภาสะเน
    สุทุททะสัง ทิสาเปติ สุคะตันตัง นะมามิหัง
    ๒๕. คะ. คัจฉันโต โลกิยา ธัมมา คัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง
    คะโต โส สัตตะโมเจตุง คะตัญญาณัง นะมามิหัง
    ๒๖. โต. โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร
    โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตละจิตตัง นะมามิหัง
    ๒๗. โล. โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร
    โลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามิหัง
    ๒๘. กะ. กันโต โย สัพพะสัตตานัง กัตวา ทุกขักขะยัง ชิโน
    กะเถนโต มะธุรัง ธัมมัง กะถาสัณหัง นะมามิหัง
    ๒๙. วิ. วินะยัง โย ปะกาเสติ วิทธังเสตวา ตะโย ภะเว
    วิเสสัญญาณะสัมปันโน วิปปะสันนัง นะมามิหัง
    ๓๐. ทู. ทูเส สัตเต ปะหาเสนโต ทูรัฏฐาเน ปะกาสะติ
    ทูรัง นิพพานะมาคัมมะ ทูสะหันตัง นะมามิหัง
    ๓๑. อะ. อันตัง ชาติชะราทีนัง อะกาสิ ทิปะทุตตะโม
    อะเนกุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตัง นะมามิหัง
    ๓๒. นุต. นุเทติ ราคะจิตตานิ นุทาเปติ ปะรัง ชะนัง
    นุนะ อัตถัง มะนุสสานัง นุสาสันตัง นะมามิหัง
    ๓๓. ตะ. ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ ธัมมะเทสะนัง
    ตัณหายะ วิจะรันตานัง ตัณหาฆาฏัง นะมามิหัง
    ๓๔. โร. โรเสนโต เนวะ โกเปติ โรเสเหวะ นะ กุชฌะติ
    โรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะหันตัง นะมามิหัง
    ๓๕. ปุ. ปุณันตัง อัตตะโน ปาปัง ปุเรนตัง ทะสะปาระมี
    ปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตัง นะมามิหัง
    ๓๖. ริ. ริปุราคาทิภูตัง วะ ริทธิยา ปะฏิหัญญะติ
    ริตตัง กัมมัง นะ กาเรตา ริยะวังสัง นะมามิหัง
    ๓๗. สะ. สัมปันโน วะระสีเลนะ สะมาธิปะวะโร ชิโน
    สะยัมภูญาณะสัมปันโน สัณหะวาจัง นะมามิหัง
    ๓๘. ทัม. ทันโต โย สะกะจิตตานิ ทะมิตะวา สะเทวะกัง
    ทะทันโต อะมะตัง เขมัง ทันตินทริยัง นะมามิหัง
    ๓๙. มะ. มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธ มะหันตัง ญาณะมาคะมิ
    มะหิตัง นะระเทเวหิ มะโนสุทธัง นะมามิหัง
    ๔๐. สา. สารัง เทตีธะ สัตตานัง สาเรติ อะมะตัง ปะทัง
    สาระถี วิยะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหัง
    ๔๑. ระ. รัมมะตาริยะสัทธัมเม รัมมาเปติ สะสาวะกัง
    รัมเม ฐาเน วะสาเปนตัง ระณะหันตัง นะมามิหัง
    ๔๒. ถิ. ถิโต โย วะระนิพพาเน ถิเร ฐาเน สะสาวะโก
    ถิรัง ฐานัง ปะกาเสติ ถิตัง ธัมเม นะมามิหัง
    ๔๓. สัต. สัทธัมมัง เทสะยิตวานะ สันตะนิพพานะปาปะกัง
    สะสาวะกัง สะมาหิตัง สันตะจิตตัง นะมามิหัง
    ๔๔. ถา. ถานัง นิพพานะสังขาตัง ถาเมนาธิคะโต มุนิ
    ถาเน สัคคะสิเว สัตเต ถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง
    ๔๕. เท. เทนโต โย สัคคะนิพพานัง เทวะมะนุสสะปาณินัง
    เทนตัง ธัมมะวะรัง ทานัง เทวะเสฏฐัง นะมามิหัง
    ๔๖. วะ. วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง อะนาสะวัง
    วันทิตัง เทวะพรหเมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง
    ๔๗. มะ. มะหะตา วิริเยนาปิ มะหันตัง ปาระมิง อะกา
    มะนุสสะเทวะพรหเมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง
    ๔๘. นุส. นุนะธัมมัง ปะกาเสนโต นุทะนัตถายะ ปาปะกัง
    นุนะ ทุกขาธิปันนานัง นุทาปิตัง นะมามิหัง
    ๔๙. สา. สาวะกานังนุสาเสติ สาระธัมเม จะ ปาณินัง
    สาระธัมมัง มะนุสสานัง สาสิตันตัง นะมามิหัง
    ๕๐. นัง. นันทันโต วะระสัทธัมเม นันทาเปติ มะหามุนิ
    นันทะภูเตหิ เทเวหิ นันทะนียัง นะมามิหัง
    ๕๑. พุท. พุชฌิตาริยะสัจจานิ พุชฌาเปติ สะเทวะกัง
    พุทธะญาเณหิ สัมปันนัง พุทธัง สัมมา นะมามิหัง
    ๕๒. โธ. โธวิตัพพัง มะหาวีโร โธวันโต มะละมัตตะโน
    โธวิโต ปาณินัง ปาปัง โธตะเกลสัง นะมามิหัง
    ๕๓. ภะ. ภะยะมาปันนะสัตตานัง ภะยัง หาเปติ นายะโก
    ภะเว สัพเพ อะติกกันโต ภะคะวันตัง นะมามิหัง
    ๕๔. คะ. คะหิโต เยนะ สัทธัมโม คะตัญญาเณนะ ปาณินัง
    คะหะณิยัง วะรัง ธัมมัง คัณหาเปนตัง นะมามิหัง
    ๕๕. วา. วาปิตัง ปะวะรัง ธัมมัง วานะโมกขายะ ภิกขุนัง
    วาสิตัง ปะวะเร ธัมเม วานะหันตัง นะมามิหัง
    ๕๖. ติ. ติณโณ โย สัพพะปาเปหิ ติณโณ สัคคา ปะติฏฐิโต
    ติเร นิพพานะสังขาเต ติกขะญาณัง นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    ฉัปปัญญาสะ พุทธะคาถา พุทธะคุณา สุคัมภิรา<o:p></o:p>
    เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา.<o:p></o:p>
    <o:p></o:p>
    พระธรรมคุณ ๓๘<o:p></o:p>
    สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก<o:p></o:p>
    เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วัญญูหีติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. สวาก. สวาคะตันตัง สิวัง รัมมัง สวานะยัง ธัมมะเทสิตัง
    สวาหุเนยยัง ปุญญะเขตตัง สวาสะภันตัง นะมามิหัง
    ๒. ขา. ขาทันโต โย สัพพะปาปัง ขายิโต โย จะ มาธุโร
    ขายันตัง ติวิธัง โลกัง ขายิตันตัง นะมามิหัง
    ๓. โต. โตเสนโต สัพพะสัตตานัง โตเสติ ธัมมะเทสะนัง
    โตสะจิตตัง สะมิชฌันตัง โตสิตันตัง นะมามิหัง
    ๔. ภะ. ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห อนุตตะโร
    ภัคคะกิเลสะสัตตานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง
    ๕. คะ. คัจฉันโต รัมมะเก สิเว คะมาปิโต สะเทวะเก
    คัจฉันโต พรหมะจะริเย คัจฉันตันตัง นะมามิหัง
    ๖. วะ. วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง วันตะปาปะกัง
    วันตัง พาละมิจฉาทีนัง วันตะคันถัง นะมามิหัง
    ๗. ตา. ตาเรสิ สัพพะสัตตานัง ตาเรสิ โอริมังติรัง
    ตาเรนตัง โอฆะสังสารัง ตาเรนตันตัง นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    ๘. ธัม. ธะระมาเนปิ สัมพุทเธ ธัมมัง เทสัง นิรันตะรัง
    ธะเรติ อะมังตัง ฐานัง ธะเรนตันตัง นะมามิหัง
    ๙. โม. โมหัญเญ ทะมันโต สัตเต โมหะชิเต อะการะยิ
    โมหะชาเต ธัมมะจารี โมหะชิตัง นะมามิหัง
    ๑๐. สัน. สัพพะสัตตะตะโมนุโท สัพพะโสกะวินาสะโก
    สัพพะสัตตะหิตักกะโร สัพพะสันตัง นะมามิหัง
    ๑๑. ทิฏ. ทิฏเฐ ธัมเม อะนุปปัตโต ทิฏฐิกังขาทะโย ลุโต
    ทิฏฐี ทวาสัฏฐิ ฉินทันโต ทิฏฐะธัมมัง นะมามิหัง
    ๑๒. ฐิ. ฐิติสีละสะมาจาเร ฐิติเตระสะธุตังคะเก
    ฐิติธัมเม ปะติฏฐาติ ฐิติปะทัง นะมามิหัง
    ๑๓. โก. โกกานัง ราคัง ปีเฬติ โกโธปิ ปะฏิหัญญะติ
    โกกานัง ปูชิโต โลเก โกกานันตัง นะมามิหัง
    ๑๔. อะ. อัคโค เสฏโฐ วะระธัมโม อัคคะปัญโญ ปะพุชฌะติ
    อัคคัง ธัมมัง สุนิปุณัง อัคคันตัง วะ นะมามิหัง
    ๑๕. กา. กาเรนโต โย สิวัง รัชชัง กาเรติ ธัมมะจาริเย
    กาตัพพะสุสิกขากาเม กาเรนตันตัง นะมามิหัง
    ๑๖. ลิ. ลิโต โย สัพพะทุกขานิ ลิขิโต ปะฏิกัตตะเย
    ลิมปิเตปิ สุวัณเณนะ ลิตันตังปิ นะมามิหัง
    ๑๗. โก. โก สะทิโสวะ ธัมเมนะ โก ธัมมัง อะภิปูชะยิ
    โก วินทะติ ธัมมะระสัง โกสะลันตัง นะมามิหัง
    ๑๘. เอ. เอสะติ พุทธะวะจะนัง เอสะติ ธัมมะมุตตะมัง
    เอสะติ สัคคะโมกขัญจะ เอสะตันนัง นะมามิหัง
    ๑๙. หิ. หิเน ฐาเน นะ ชายันเต หิเน โถเมติ สุคคะติง
    หิเน โมหะสะมัง ชาลัง หินันตังปิ นะมามิหัง
    ๒๐. ปัส. ปะกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โย สะเทวะเก
    ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง
    ๒๑. สิ. สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
    สีเลนะ นิพพุติง ยันติ สีละธัมมัง นะมามิหัง
    ๒๒. โก. โก โส อัคคะปุญโญ พุทโธ โกธะชะหัง อะธิคัจฉะติ
    โก ธัมมัญจะ วิชานาติ โกธะวันตัง นะมามิหัง
    ๒๓. โอ. โอภะโต สัพพะกิเลสัง โอภัญชิโต สัพพาสะวัง
    โอภะโต ทิฏฐิชาลัญจะ โอภะตัง ตัง นะมามิหัง
    ๒๔. ปะ. ปัญญา ปะสัฏฐา โลกัสมิง ปัญญา นิพเพธะคามินี
    ปัญญายะ นะ สะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง
    ๒๕. นะ. นะรานะระหิตัง ธัมมัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง
    นะรานัง กามะปังเกหิ นะมิตันตัง นะมามิหัง
    ๒๖. ยิ. ยิชชะเต สัพพะสัตตานัง ยิชชะเต เทวะพรหมุนา
    ยิชชิสสะเต จะ ปาณีหิ ยิฏฐันตัมปิ นะมามิหัง
    ๒๗. โก. โกปัง ชะหะติ ปาปะกัง โกธะโกธัญจะ นาสะติ
    โกธัง ชะเหติ ธัมเมนะ โกธะนุทัง นะมามิหัง
    ๒๘. ปัจ. ปะปัญจาภิระตา ปะชา ปะชะหิตา ปาปะกา จะโย
    ปัปโปติ โสติวิปุโล ปัชโชตันตัง นะมามิหัง
    ๒๙. จัต. จะริตวา พรหมะจะริยัง จัตตาสะโว วิสุชฌะติ<o:p></o:p>
    จะชาเปนตัง วะ ทาเนนะ จะชันตันตัง นะมามิหัง
    ๓๐. ตัง. ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ สัพพะวีริยัง
    ตะโนติ สีละสะมาธิง ตะนันตังวะ นะมามิหัง
    ๓๑. เว. เวรานิปิ นะ พันธันติ เวรัง เตสูปะสัมมะติ
    เวรัง เวเรนะ เวรานิ เวระสันตัง นะมามิหัง
    ๓๒. ทิ. ทีฆายุโก พะหุปุญโญ ทีฆะรัตตัง มะหัพพะโล
    ทีฆะสุเขนะ ปุญเญนะ ทีฆะรัตตัง นะมามิหัง
    ๓๓. ตัพ. ตะโต ทุกขา ปะมุญจันโต ตะโต โมเจติ ปาณิโน
    ตะโต ราคาทิเกลเสหิ ตะโต โมกขัง นะมามิหัง
    ๓๔. โพ. โพธิง วิชชา อุปาคะมิ โพเธติ มัคคะผะลานิ จะ
    โพธิยา สัพพะธัมมานัง โพธิยันตัง นะมามิหัง
    ๓๕. วิญ. วิระติ สัพพะทุกขัสมา วิริเยเนวะ ทุลละภา
    วิริยาตาปะสัมปันนา วิระตันตัง นะมามิหัง
    ๓๖. ญู. ญูตัญญาเณหิ สัมปันนัง ญูตะโยคะสะมัปปิตัง
    ญูตัญญาณะทัสสะนัญจะ ญูตะโยคัง นะมามิหัง
    ๓๗. หี. หีสันติ สัพพะโทสานิ หีสันติ สัพพะภะยานิ จะ
    หีสะโมหา ปะฏิสสะตา หีสันตันตัง นะมามิหัง
    ๓๘. ติ. ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม
    ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อัฏฐัตติงสะ ธัมมะคาถา ธัมมะคุณา สุคัมภิรา<o:p></o:p>
    เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระสังฆคุณ ๑๔<o:p></o:p>
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. สุ. สุทธะสีเลนะ สัมปันโน สุฏฐ โย ปะฏิปันนะโก
    สุนทะโร สาสะนะกะโร สุนทะรันตัง นะมามิหัง
    ๒. ปะ. ปะฏิสัมภิทัปปัตโต โย ปะสัฏโฐ วะ อะนุตตะโร
    ปัญญายะ อุตตะโร โลเก ปะสัฏฐันตัง นะมามิหัง
    ๓. ฏิ. ติตถะกะระชิโต สังโฆ ติตโถ ธีโรวะ สาสะเน
    ติตถิโย พุทธวะจะเน ติตถันตังปิ นะมามิหัง
    ๔. ปัน. ปะสัฏโฐ ธัมมะคัมภีโร ปัญญะวา จะ อะวังกะโต
    ปัสสันโต อัตถะธัมมัญจะ ปะสัฏฐังปิ นะมามิหัง
    ๕. โน. โน เจติ กุสะลัง กัมมัง โน จะ ปาปัง อะการะยิ
    โนนะตัง พุชฌะติ ธัมมัง โนทิสันตัง นะมามิหัง
    ๖. ภะ. ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห จะ ปาณินัง
    ภัญชะโก สัพพะเกลสานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง
    ๗. คะ. คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต โลกุตตะรัมปิจะ
    คะโตเยวะ กิเลเสหิ คะมิตันตัง นามาะมิหัง
    ๘. วะ. วัณเณติ กุสะลัง ธัมมัง วัณเณติ สีละสัมปะทัง
    วัณเณติ สีละรักขิตัง วัณณิตันตัง นะมามิหัง
    ๙. โต. โตเสนโต เทวะมะนุสเส โตเสนโต ธัมมะเทสะยิ
    โตเสติ ทุฏฐะจิตเตปิ โตเสนตันตัง นะมามิหัง
    ๑๐. สา. สาสะนัง สัมปะฏิจฉันโน สาสันโต สิวะคามินิง
    สาสะนะมะนุสาสันโต สาสันตันตัง นะมามิหัง
    ๑๑. วะ. วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง สุทิฏฐิกัง
    วันตัญจะ สัพพะปาปานิ วันตะเกลสัง นะมามิหัง
    ๑๒. กะ. กะโรนโต สีละสะมาธิง กะโรนโต สาระมัตตะโน
    กะโรนโต กัมมะฐานานิ กะโรนตันตัง นะมามิหัง
    ๑๓. สัง. สังสาเร สังสะรันตานัง สังสาระโต วิมุจจิ โส
    สังสาระทุกขา โมเจสิ สังสุทธันตัง นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    ๑๔. โฆ. โฆระทุกขักขะยัง กัตวา โฆสาเปติ สุรัง นะรัง
    โฆสะยิ ปิฏะกัตตะยัง โฆสะกันตัง นะมามิหัง
    <o:p> </o:p>
    จะตุททะสะ สังฆะคาถา สังฆะคุณา สุคัมภิรา<o:p></o:p>
    เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา<o:p></o:p>
    ฉัปปัญญาสะ พุทธะคุณา ธัมมะคุณา อัฏฐะติงสะติ<o:p></o:p>
    สังฆคุณา จะ จุททะสะ อัฏฐตตะระสะเต อิเม<o:p></o:p>
    ทิเน ทิเน สะระเตปิ โสตถี โหนติ นิรันตะรันติ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    จบพระคาถาอิติปิโสรัตนมาลา ๑๐๘<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1026" style='position:absolute; z-index:1' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    คาถาปลุกจักระ<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    จักระที่ 7 มีสีม่วง อยู่กลางกระหม่อม ธาตุคือ ตัวรู้ มีหน้าที่ให้ความมีชีวิตชีวา ช่วยรักษาโรค สัมพันธ์กับต่อมไพเนียล และศูนย์รวมประสาทของตาข้างขวา อัญมณีที่ส่งผลคือเพชร และอามิทิส อาหารที่บำรุงเลี้ยงคือพืชผักสีม่วง เช่นกะหล่ำม่วง มะเขือม่วง สาหร่ายสีแดงอมม่วง มีอานุภาพช่วยสัมผัสสิ่งที่เรามองไม่เห็น เช่น วิญญาณในภพภูมิต่างๆ เทพเทวดา สัมพันธ์กับความเชื่อในการเวียนว่ายตายเกิด มีอานุภาพช่วยรักษาโรคที่ร้ายแรง แม้กระทั่งมะเร็ง ถ้าจักระหมดอานุภาพจะขาดความกระตือรือร้น สับสน ว้าวุ่น ลังเล ทำตัวแปลกแยก ห่างเหินสังคม แก่เกินวัย ไม่มีศรัทธา<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    จักระที่ 6 มีสีคราม อยู่กลางหน้าผาก ธาตุคือ แสงสว่าง มีหน้าที่เป็นตาดวงที่สาม ให้ชีวิตชีวาแก่สมองส่วนล่างและระบบประสาท ให้เกิดญาณทัศนะ ใช้ทำลายเชื้อโรคได้บางชนิด สัมพันธ์กับต่อมใต้สมอง ต่อมฐานสมองเกี่ยวกับตาข้างซ้าย จมูก และหูทั้งสองข้าง อัญมณีสีน้ำเงินแก่ เช่น ลาปิส ไพลิน มีผลต่อจักระนี้ อาหารคือพืชผักสีน้ำเงินแก่ เช่น อัญชัญ จักระนี้มีอานุภาพให้เข้าสมาธิง่าย มีตาทิพย์ จิตใจสงบสุข มีความจงรักภักดี ช่วยการสร้างจินตนาการอันบรรเจิด ทำลายเชื้อโรคบางชนิดได้ ถ้าหมดอานุภาพจะทำให้ขาดสมาธิ ขี้กลัว ชอบเยาะเย้ยถากถาง เครียด ปวดหัว มีปัญหาสายตา ฝันร้าย เบื่อโลกอย่างไม่มีเหตุผล
    <o:p> </o:p>
    จักระที่ 5 มีสีน้ำเงินฟ้า อยู่กลางลำคอ ธาตุอากาศ มีหน้าที่เกี่ยวกับการหายใจ การแสดงออก การพูด และการสื่อสาร สัมพันธ์กับต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์ ลำคอ และปาก อัญมณีที่ส่งผลคือเพชร พลอยสีน้ำเงินอ่อน เช่น อะความารีน อาหารบำรุงเลี้ยงคือพืชผลสีน้ำเงินอ่อนหรือสีฟ้า มีอานุภาพในการสำแดงวาทศิลป์ สื่อความหมายได้ชัดเจน พูดจาถ่อมตน สร้างสรรค์ มีเมตตา สุภาพอ่อนโยน น่าเชื่อถือ และให้เกียรติผู้อื่น ถ้าหมดอานุภาพจะทำให้มีปัญหาในการพูดและสื่อความหมาย ใช้ความรู้อย่างไม่ฉลาด ขาดการใช้วิจารณญาณ หดหู่ ไม่ร่าเริง มีปัญหาเรื่องไทรอยด์
    <o:p> </o:p>
    จักระที่ 4 มีสีเขียว อยู่กลางทรวงอก ธาตุลม มีหน้าที่รับพลังจากจักรวาล เทพ หรือวิญญาณชั้นสูงให้เกิดพลังชีวิต ช่วยให้เลือดไหลเวียนดี ช่วยร่างกายแข็งแรง ใช้ล้างพิษของโรค ทั้งช่วยประสาทส่วนบนและส่วนล่างให้เกิดสมดุล อวัยวะที่เกี่ยวข้องได้แก่หัวใจ ปอด ต่อมไทมัสที่เกี่ยวข้องกับภูมิต้านทาน ยังสัมพันธ์กับแขนทั้งสองข้าง อัญมณีที่ส่งผลคือ หยก เพชร พลอย มรกต อาหารบำรุงเลี้ยงได้แก่ ผักใบเขียวต่างๆ มีอานุภาพให้เกิดความรัก มีอัปมัญญาธรรม มีเมตตาสงสารในเพื่อนมนุษย์ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เปิดเผย อยู่ร่วมกับเพื่อนมนุษย์อย่างมีความสุข ไม่เอารัดเอาเปรียบ ไม่เห็นแก่ตัว ช่วยล้างพิษได้ ถ้าขาดอานุภาพจะผิดหวังเรื่องความรัก เอาแต่ใจตัว ควบคุมตัวเองไม่ได้ มักเกิดโรคหัวใจ หอบหืด และภูมิต้านทานต่ำหรือเกิดโรคภูมิต้านทานไวเกิน
    <o:p> </o:p>
    จักระที่ 3 มีสีเหลือง อยู่กลางระหว่างลิ้นปี่กับสะดือ ตรงระดับกระเพาะ ธาตุไฟ มีหน้าที่ช่วยระบบประสาททำงานได้ดี ช่วยระบบย่อยอาหาร ดูดซึมอาหาร เผาผลาญอาหาร ความคุมอารมณ์ ช่วยให้สำเร็จในสิ่งที่ประสงค์ตามปรารถนา ต่อมที่เกี่ยวข้องได้แก่ตับอ่อน ต่อมหมวกไต ตับ ถุงน้ำดี ระบบประสาทกล้ามเนื้อ อัญมณีที่ส่งผลได้แก่ ทองคำ แก้วตาเสือ บุษราคัม อาหารที่บำรุงเลี้ยงคือผักผลไม้สีเหลือง ข้าวธัญพืชและถั่วต่างๆ มีอานุภาพช่วยให้มั่นใจในตนเอง มีเจตน์จำนงแน่วแน่ กระฉับกระเฉงมีพลังชีวิต มีความตื่นตัวอยู่เสมอ มีอารมณ์ขัน มีความร่าเริงแจ่มใส เชื่อในความเป็นอมตะ ทำอะไรก็จะทำจนสำเร็จ ถ้าหมดอานุภาพจะทำให้เป็นคนขี้ระแวง ไม่เชื่อมั่นตนเอง มักโกรธ เกลียด มีปัญหาระบบย่อย ไปจนถึงการขับถ่าย
    <o:p> </o:p>
    จักระที่ 2 มีสีส้ม อยู่ที่สะดือ ธาตุน้ำ มีหน้าที่ให้ความรู้สึกทางเพศ นำอาหารไปหล่อเลี้ยงร่างกาย ช่วยล้างพิษ สัมพันธ์กับรังไข่ อัณฑะ ต่อมลูกหมาก อวัยวะเพศ ม้าม มดลูก กระเพาะปัสสาวะ อัญมณีที่ส่งผลคือปะการัง และแร่ธาตุสีส้ม อาหารได้แก่ ส้ม ไข่ มีอานุภาพควบคุมอารมณ์ได้ดี รู้จักให้และรับ ชอบความเปลี่ยนแปลง ยอมรับความคิดใหม่ๆ มีความคิดสร้างสรรค์และอยู่ร่วมกับเพื่อนมนุษย์ ช่วยล้างพิษมลภาวะและไอโรค ถ้าเสื่อมอานุภาพจะทำให้มักมากในอาหารและกามคุณ มีปัญหาเรื่องเพศ สับสน เห็นแก่ตัว อิจฉา ริษยา ต้องการครอบครองทั้งที่ไม่สมควร มีปัญหาเกี่ยวกับระบบปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์

    จักระที่ 1 สีแดง อยู่ที่ก้นกบ ธาตุดิน มีหน้าที่ทำให้ร่างกายแข็งแรง มีสัญชาตญาณการต่อสู้เพื่อตนเอง มีภูมิต้านทานดี สัมพันธ์กับต่อมหมวกไต ไต กระดูกสันหลัง ลำไส้ใหญ่ ขาทั้งสองข้าง กระดูกทั้งหมด อาหารบำรุงเลี้ยงได้แก่เนื้อสัตว์ต่างๆ แครอท มะเขือเทศ อัญมณีที่ส่งผลคือ ทับทิม โกเมน มาร่า มีอานุภาพทำให้สุขภาพแข็งแรง มีความสำเร็จทางโลกและทางวัตถุ มีความอดทน กล้าหาญ มีสัญชาตญาณเพื่อการอยู่รอด ถ้าหมดอานุภาพจะทำให้เป็นคนโลภ เห็นแก่ตัว โกรธง่าย เครียด ท้องผูก ปวดตามสันหลังและกระดูก
    การปลุกจักระทั้งเจ็ดสามารถทำได้ด้วยภูมิปัญญาไทยที่มีมาช้านาน คือคำบริกรรมหรือคาถาดังนี้:
    <o:p> </o:p>
    1.บริกรรม หายใจเข้า ภะคะวา อะระหัง กลั้นลมหายใจ สัมมาสัมพุทโธ หายใจออก วะตะ เม นาโถ
    <o:p> </o:p>
    2.คาถาเปิดจักระ พุทธัง บังเกิด เปิดโลก โลกะวิทู นะมะพะทะ พุทโธ ธัมโม สังโฆ โลกะทีปัง อากาสะกะสิณัง วิโสธะยิ ฯ
    <o:p> </o:p>
    3.ปรุงธาตุ (เอาธาตุมาผสมกัน) นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ นะจะนะจะ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ มะภะมะภะ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ พะกะพะกะ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ ทะสะทะสะ
    <o:p> </o:p>
    4.จักระกลางกระหม่อม ชัมภูทีปัญจะ อิสะโร กุสะลา ธัมมา นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ ปัญจะพุทธานะมะมิหัง อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อัง ขุ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ โส โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ วิ เว อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติ วิอัตถิฯ
    <o:p> </o:p>
    5.จักระหน้าผาก อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ, อิเมนา พุทธะ ตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ, สะหัสสะเนตโต เทวินโท ทิพพะจักขุง วิโสทะยิ, อิกะวิติ พุทธะสังมิ โลกะวิทูฯ
    <o:p> </o:p>
    6.จักระท้ายทอย(เป็นจักระเสริม) อิติ ปาระมิตา ติงสา อิติ สัพพัญญุมาคะตา อิติ โพธิ มะนุปปัตโต อิติ ปิโส จะ เต นะโมฯ
    <o:p> </o:p>
    7.จักระคอ นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอ ออ นอ อะ นะอะกะอัง อุมิอะมิ มะหิสุตัง สุนะพุทธัง อะสุนะอะฯ
    <o:p> </o:p>
    8.จักระหัวใจ (จังหวะที่ท่องให้อัดพลังเข้าไป) อายันตุ โภนโต อิธะ ทานะ สีละ เนกขัมมะ ปัญญา สะหะ วิริยะ ขันติ สัจจะธิฏฐานะ เมตตุเปกขา ยุทธายะ โว คัณหะถะ อาวุธานีติฯ
    <o:p> </o:p>
    9.จักระหน้าท้องระดับกระเพาะ ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ มาภาติ จันทิมา สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พรัหมะโณ อะถะ สัพพะ มะโหรัตติง พุทโธ ตะปะติ เตชะสาฯ อะโรคยา ปะระมา ลาภา, สันตุฏฐี ปะระมัง ธะนัง, วิสาสา ปะระมา ญาตี, นิพพานัง ปะระมัง สุขังฯ
    <o:p> </o:p>
    10.จักระสะดือ สุกิติมา สุภาจาโร สุสีละวา สุปาคะโต, ยัสสะสีมาวะ เจ ธีโร เกสะโร วา อะสัมภิโตฯ
    <o:p> </o:p>
    11.จักระฐาน อิปิภะวา ระสัมสัมโธ ชาระสัมโน คะโลวิอะ ตะปุสะ มะระสัตเทมะ สาพุทภะ วาติ คะโธนัง นุสวะถา ถิสา ทัมริโร นุตทูกะโต สุปันณะจะ วิชพุทมาหัง อะคะโสติฯ
    <o:p> </o:p>
    เหล่านี้คือคำบริกรรมเพื่อปรุงธาตุและเปิดจักระ ที่ภูมิปัญญาไทยได้อาศัยพุทธบารมีมาสร้าง เสริมพลังแก่ผู้ปฏิบัติ<o:p></o:p>
     
  10. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๗ ให้พรและอุทิศส่วนกุศล

    คำประกาศส่วนบุญ แผ่ส่วนบุญ (ยังกิญจิ กุสะละกัมมัง )<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ยังกิญจิ กุสะละกัมมัง กุศลผลบุญใดๆ ที่ข้าพเจ้าได้สร้างสมอบรมด้วยกาย วาจาจิต ข้าพเจ้าได้บริจาคทาน สมาทานรักษาศีล เจริญเมตตาภาวนา จงเป็นประโยชน์เกื้อกูล แก่ตัวของข้าพเจ้า ตราบใดที่ข้าพเจ้า ยังเวียนว่ายตายเกิด ในวัฏฏสงสาร ด้วยอำนาจแห่งกุศล<o:p></o:p>
    และผลแห่งทานนี้ ขึ้นชื่อว่าความยากจนเข็ญใจ ไร้ทรัพย์อับปัญญา โรคาพาธ จงอย่าเกิดมี กับตัวของข้าพเจ้า จงดลบันดาลให้ข้าพเจ้าเจริญด้วยลาภยศ สรรเสริญสุข ถึงพร้อมด้วย สมบัติและบริวาร ในภพที่ข้าพเจ้าเกิดแล้ว จงบันดาลให้ข้าพเจ้าเป็นสัมมาทิฏฐิ มีความเห็นชอบ มีบัณฑิตเป็นสหาย มีบัณฑิตเป็นผู้ชี้ทาง พ้นจากอำนาจเป็นความเป็นพาล<o:p></o:p>
    ทุกภพชาติ จงเป็นอุปนิสัย เป็นปัจจัยแห่งนิพพาน บุญใดๆ ที่เป็นผลสำเร็จ กับตัวของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอธิษฐาน อุทิศแผ่ไปซึ่งส่วนแห่งกุศลและผลแห่งบุญนี้ จงเป็นไปเพื่อประโยชน์<o:p></o:p>
    เกื้อกูลแก่ปิยะชนทั้งหลาย ของข้าพเจ้า มีบิดามารดา ปู่ย่าตายาย ญาติมิตรสหาย ครูอาจารย์ ท่านผู้มีพระคุณทั้งหลาย เจ้ากรรมนายเวร เทพเจ้าทั้งหลายและสรรพสัตว์ ทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย จงถึงซึ่งความสุข อย่าเบียดเบียนซึ่งกันและกัน อย่าจองเวรซึ่งกันและกัน อย่าผูกพยาบาทอาฆาตซึ่งกันและกัน จงเป็นผู้มีสุขรักษาตนเถิด ขอให้สัตว์ทั้งหลาย ปิยะชนทั้งหลาย ท่านผู้มีพระคุณทั้งหลาย จงถึงที่อันตนปรารถนาด้วย อำนาจแห่งกุศลผลแห่งทาน ผลแห่งศีล ผลแห่งเมตตาภาวนาที่ข้าพเจ้าได้กระทำแล้ว และอุทิศให้นี้ทั่วหน้ากันเทอญ.<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1027" style='position:absolute; z-index:2' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    คำกรวดน้ำ (อิมินา ปุญญะกัมเมนะ)<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าได้สร้างตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ขออุทิศส่วนกุศลให้แก่คุณบิดามารดา และทั้ง ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน ผู้มีพระคุณ ญาติกาครูอุปัชฌาย์อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร พระมหากษัตริย์ และมิตรรักสนิท เพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา แม่พระเพลิง แม่พระพาย แม่พระโพสพ พระภูมิเจ้าที่ พระพิรุณ พระยายมราช นายนิริยบาล ทั้งท้าวจัตุโลกบาล สิริพุทธอำมาตย์ชั้นจาตุมหาราชิกาเบื้องบน จนถึงที่สุดพรหมาเบื้องต่ำ ตั้งแต่อเวจีขึ้นมา จนถึงมนุษย์โลก โดยรอบสุดขอบจักรวาล อนันตจักรวาลคุณพระศรีรัตนตรัยและเทพยดาทั้งหลาย ตลอดทั้งอินทร์พรหม ยมยักษ์ คนธรรพ์ นาคา ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ได้สุข ขอให้ได้สุขยิ่งๆ ขึ้นไป ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าอุทิศให้ไปนี้ จงเป็นอุปนิสัย ปัจจัยให้ถึงพระนิพพานในปัจจุบัน และอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    พุทธังอนันตัง ธัมมังจักรวาลัง<o:p></o:p>
    สังฆังนิพพานัง ปัจจโยโหนตุ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <!--[if gte vml 1]><v:line id="_x0000_s1026" style='position:absolute; z-index:1' from="0,12pt" to="468pt,12.05pt" o:allowincell="f" strokecolor="#d4d4d4" strokeweight="1.75pt"> <v:shadow on="t" origin=",32385f" offset="0,-1pt"/> </v:line><![endif]--><!--[if !vml]-->[​IMG]<!--[endif]--><o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>

    อุทิศส่วนกุศล (อิทัง ปุญญะผะลัง)<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    อิทัง ปุญญะผะลัง ผลบุญใด ที่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้บำเพ็ญแล้ว ณ โอกาสนี้ ขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ที่ข้าพเจ้าเคยล่วงเกินมาแล้วตั้งแต่ชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี
    ขอเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายได้โปรดโมทนาส่วนกุศลนี้ ได้โปรดอดโทษให้แก่ข้าพเจ้า นับตั้งแต่บัดนี้ ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน

    และขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่มารดา บิดา ครู อาจารย์ ผู้มีพระคุณทุกท่าน เทพเจ้าทั้งหลาย ที่ปกปักรักษาข้าพเจ้าและครอบครัว และเทพเจ้าทั้งหลายทั่วสากลพิภพ และพระยายมราช
    ขอมารดา บิดา ครู อาจารย์ ผู้มีพระคุณทุกท่าน เทพเจ้าทั้งหลาย ที่ปกปักรักษาข้าพเจ้าและครอบครัว เทพเจ้าทั้งหลายทั่วสากลพิภพ และท่านพระยายมราช ได้โปรดโมทนาส่วนกุศลนี้
    และโปรดเป็นสักขีพยาน ในการบำเพ็ญกุศล ของข้าพเจ้า ในครั้งนี้ด้วยเถิด

    และขออุทิศส่วนกุศลนี้ แก่ท่านทั้งหลาย ที่เสวยความสุขอยู่ก็ดี เสวยความทุกข์อยู่ก็ดี เป็นญาติก็ดี มิใช่ญาติก็ดี ขอให้ท่านทั้งหลายจงโมทนาส่วนกุศลนี้ พึงได้รับประโยชน์และความสุข เช่นเดียวกับข้าพเจ้าจะพึงได้รับ ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด

    ผลบุญใดที่ข้าพเจ้าทั้งหลายได้บำเพ็ญแล้ว ณ โอกาส นี้ ขอผลบุญนี้ จงเป็นปัจจัย
    ให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้เข้าถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันด้วยเทอญ
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]--><o:p></o:p>
    บทแผ่เมตตาให้ตนเอง

    อะหัง สุขิโต โหมิ ขอให้ข้าพเจ้า มีความสุข
    นิททุกโข โหมิ ปราศจากความทุกข์
    อะเวโร โหมิ ปราศจากเวร
    อัพยาปัชโฌ โหมิ ปราศจากอุปสรรค อันตรายทั้งปวง
    อะนีโฆ โหมิ ปราศจากความทุกข์กาย ทุกข์ใจ
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ มีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
    แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์

    สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
    อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
    อัพะยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
    อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย
    สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
    บทแผ่ส่วนกุศล

    อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่มารดา บิดา ของข้าพเจ้า ขอให้มารดา บิดา ของข้าพเจ้ามีความสุข
    อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข<o:p></o:p>
    อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข<o:p></o:p>
    อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข
    อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเปตา<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข<o:p></o:p>
    อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข<o:p></o:p>
    อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา<o:p></o:p>
    ขอส่วนบุญนี้ จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ<o:p></o:p>
     
  11. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๘ รวมคาถา

    คาถาเงินล้าน

    <o:p> </o:p>
    ตั้ง นะโม ๓ จบ
    สัมปะจิตฉามิ
    นาสังสิโม พรหมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ (คาถาปัดอุปสรรค)
    พรหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุ เม (คาถาเงินแสน)
    มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม (คาถาลาภไม่ขาดสาย)
    มิเตพาหุหะติ (คาถาเงินล้าน)
    พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง
    วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ
    มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม (คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า)
    สัมปะติจฉามิ (คาถาเร่งลาภให้ได้เร็วขึ้น)
    เพ็ง เพ็ง พา พา หา หา ฤา ฤา
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    บูชาเฉพาะตัวคาถา ๙ จบ
    พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ)
    วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี
    <o:p> </o:p>
    บูชา ๙ จบ หลวงพ่อบอกว่าเป็นเบี้ยต่อไส้ ถ้าภาวนาควบกับอาปาฯ จิตยิ่งสะอาดจะยิ่งเห็นผล<o:p></o:p>​
    หลวงพ่อได้คาถาบทเหล่านี้จากองค์สมเด็จฯ ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ เป็นเวลา ๔ ปี จึงจะได้ครบถ้วน ท่านบอกว่าคาถาที่ได้จากกรรมฐานเขาจะไม่บอกใคร เมื่อวันที่ ๓๑ ธ.ค. ๒๕๒๗ เวลา ๒๓.๕๙ น. ได้อนุญาตให้ลูกหลานและพุทธบริษัทใช้ได้เป็นสาธารณะ เพื่อช่วยบรรเทาสภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ อีกทั้งการก่อสร้างของวัดท่าซุงจะต้องเร่งรัดให้เสร็จทันฉลองวัดในปี ๒๕๓๒ จึงจำเป็นที่จะต้องใช้คาถาเหล่านี้ช่วยเพื่อพุทธบริษัทและลูกหลานของหลวงพ่อมีความคล่องตัวขึ้น
    คาถา “นาสังสิโม” หลวงพ่อให้ท่องเพิ่มเติมเมื่อปี ๒๕๓๒
    คาถา “เพ็ง เพ็ง พา พา หา หา ฤา ฤา” พระปัจเจกพุทธเจ้ามาบอกหลวงพ่อ เมื่อ
    พ.ย. ๒๕๓๓ เป็นภาษาโบราณ แต่เทียบกับภาษาไทยอ่านได้อย่างนี้ เป็นคาถามหาลาภ มีผลยิ่งใหญ่มาก
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระคาถามหาจักรพรรดิของหลวงปู่ดู่ วัดสระแก

    <o:p> </o:p>
    นะโมพุทธายะ พระพุทธะไตรรัตนญาณ มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะสุธรรมมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
    อัคคีธานัง วะรัง คันธัง สิวะลี จะ มหาเถรัง อะหัง วันทามิ ทูระโต อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    คำไหว้บารมี 30 ทัศ(แบบครูบาศรีวิชัย)
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->​
    ทานะ ปาระมี สัมปันโน , ทานะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตาไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    สีละ ปาระมี สัมปันโน , สีละ อุปะปารมี สัมปันโน , สีละ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    เนกขัมมะ ปาระมี สัมปันโน , เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปันโน , เนกขัมมะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    ปัญญา ปาระมี สัมปันโน , ปัญญา อุปะปารมี สัมปันโน , ปัญญา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    วิริยะ ปาระมี สัมปันโน , วิริยะ อุปะปารมี สัมปันโน , วิริยะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    ขันตี ปาระมี สัมปันโน , ขันตี อุปะปารมี สัมปันโน , ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    สัจจะ ปาระมี สัมปันโน , สัจจะ อุปะปารมี สัมปันโน , สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    อะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ อุปะปารมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    เมตตา ปาระมี สัมปันโน , เมตตา อุปะปารมี สัมปันโน , เมตตา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    อุเปกขา ปาระมี สัมปันโน , อุเปกขา อุปะปารมี สัมปันโน , อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    ทะสะ ปาระมี สัมปันโน , ทะสะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหัง
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    อธิบาย บารมี 30 ทัศ<o:p></o:p>
    การบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ในชาตินั้นๆ บารมีที่บำเพ็ญนั้นคือ ทานบารมี เนกขัมมบารมี ปัญญาบารมี วิริยบารมี ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี และอุเบกขาบารมี รวมเรียกว่าบารมี ๓๐ (๓ x ๑๐) โดยแบ่งเป็นบารมีชั้นธรรมดา ๑๐ (บารมี) บารมี ชั้นกลาง ๑๐ (อุปบารมี) และ บารมีชั้นสูง ๑๐ (ปรมัตถบารมี) รวมเป็นบารมี ๓๐ ประการ
    ในอรรถกถาจริยาปิฎกพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๓ ได้จัดชาดกเรื่องต่างๆ ลงในบารมีทั้ง ๓๐ ประการ มีนัยโดยสังเขปที่น่าศึกษา ดังนี้
    ๑. ทานบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ยทานบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสีวิราช (๒๗/๔๙๙) ทรงบำเพ็ญทานอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร (๒๘/๕๔๗) และทรงบำเพ็ญทานปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นกระต่ายป่าสสบัณฑิต (๒๗/๓๑๖)
    ๒. ศีลบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญศีลบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพญาช้างฉัตทันต์เลี้ยงมารดา (๒๗/๗๒) ทรงบำเพ็ญศีลอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพญานาคภูริทัต (๒๘/๕๔๓)
    ๓. เนกขัมมบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญเนกขัมมบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นอโยฆรราชกุมาร (๒๗/๕๑๐) ทรงบำเพ็ญเนกขัมมอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นหัตถิปาลกุมาร (๒๗/๕๐๙) และทรงบำเพ็ญเนกขัมมปรมัตถบารมี ในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าจูฬสุตโสม (๒๗/๕๒๗)
    ๔. ปัญญาบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญปัญญาบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นสัมภวกุมาร (๒๗/๕๑๕) ทรงบำเพ็ญปัญญาอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นอำมาตย์วิธุรบัญฑิต (๒๘/๕๔๖) และทรงบำเพ็ญปัญญาปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นเสนกบัณฑิต (๒๗/๔๐๒)
    ๕. วิริยบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญวิริยบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพญากปิ (๒๗/๕๑๖) ทรงบำเพ็ญวิริยอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าสีลวมหาราช (๒๗/๕๑) และทรงบำเพ็ญวิริยปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระมหาชนก (๒๘/๕๓๙)
    ๖. ขันติบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญขันติบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นจูฬธัมมปาลราชกุมาร (๒๗/๓๕๘) ทรงบำเพ็ญขันติอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นธัมมิกเทพบุตร (๒๗/๔๕๗) และทรงบำเพ็ญขันติปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นขันติวาทีดาบส (๒๗/๓๑๓)
    ๗. สัจจบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญสัจจบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นวัฏฏกะ (ลูกนกคุ่ม (๒๗/๓๕) ทรงบำเพ็ญสัจจอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพญาปลาช่อน (๒๗/๗๕) และทรงบำเพ็ญสัจจปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ามหาสุตโสม (๒๘/๕๓๗)
    ๘. อธิษฐานบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญอธิษฐานบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพญากุกกุระ (๒๗/๒๒) ทรงบำเพ็ญอธิษฐานอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นมาตังคบัณฑิต (๒๗/๔๙๗) และทรงบำเพ็ญอธิษฐานปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเตมิยราชกุมาร (๒๘/๕๓๘)
    ๙. เมตตาบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญเมตตาบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นสุวรรณสามดาบส (๒๘/๕๔๐) ทรงบำเพ็ญเมตตาอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นกัณหาทีปายนดาบส (๒๗/๔๔๔) และทรงบำเพ็ญเมตตาปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าเอกราช
    ๑๐. อุเบกขาบารมี พระโพธิสัตว์ทรงบำเพ็ญอุเบกขาบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นกัจฉปบัณฑิต (๒๗/๒๗๓) ทรงบำเพ็ญอุเบกขาอุปบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นพญามหิส (๒๗/๒๗๘) และทรงบำเพ็ญอุเบกขาปรมัตถบารมีในขณะที่เสวยพระชาติเป็นโลมหังสบัณฑิต (๒๗/๙๔)
    หมายเหตุ เลขหน้าเป็นลำดับเล่มพระไตรปิฎก เลขหลังเป็นลำดับชาดก เช่น (๒๗/๒๗๓) หมายถึง พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ ชาดกเรื่องที่ ๒๗๓)
    * การบำเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์ในชาติหนึ่ง ๆ มิใช่ว่าจะทรงบำเพ็ญบารมีเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ทรงบำเพ็ญทานบารมี หรือทรงบำเพ็ญศีลบารมีอย่างเดียวเท่านั้น แต่ในชาติเดียวกันนั้น ได้บำเพ็ญบารมีหลายอย่างควบคู่กันไป แต่อาจเด่นเพียงบารมีเดียว ที่เหลือนอกนั้นเป็นบารมีระดับรอง ๆ ลงไป เช่น ในชาติที่เป็นพระเวสสันดรทรงบำเพ็ญบารมีครบทั้ง ๑๐ บารมี
    <o:p> </o:p>
    คาถาสวดบูชาเจ้าแม่กวนอิม

    (เป็นการออกเสียงตามภาษาจีนแต้จิ๋วที่ชาวไทยเชื้อสายจีนในไทยแปลไว้ทั้งสองบท แต่ในความเป็นจริงแล้ว ท่านสามารถอธิษฐานเป็นภาษาไทยหรือภาษาอะไรก็ได้ เพราะว่าการสื่อความหมายจะใช้แรงอธิษฐาน ที่เกิดจากความตั้งใจอันแน่วแน่ของผู้กราบไหว้ในขณะสวดบริกรรมนั่นเองที่สำคัญที่สุด)
    บทสรรเสริญพระคุณ<o:p></o:p>
    นะโมกวงซิอิม ผ่อสัก
    นำโมไต๋ชื้อ ไต๋ปุย กิวโคว่ กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิมผู่สัก (กราบ)
    นำโมไต๋ชื้อ ไต๋ปุย กิวโคว่ กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิมผู่สัก (กราบ)
    นำโมไต๋ชื้อ ไต๋ปุย กิวโคว่ กิวหลั่ง กวงไต๋เล่งก้ำ กวงสี่อิมผู่สัก (กราบ)
    นำโมฮูก นำโมหวบ นำโมเจ็ง นำโมกิวโคว่ กิวหลั่ง กวงสี่อิมผู่สัก ทั่งจี้โต
    โอม เกียล้อฮวดโต เกียล้อฮวดโต เกียล้อฮวดโต ล้อเกียฮวดโต ล้อเกียฮวดโต
    ซาผ่อออ เทียงล้อซิ้ง ตี่ล้อซิ้ง นั้งลี่หลั่ง หลั่งลี่ซิ้ง เจ็กเฉียก ใจเอียง ห่วยอุ่ยติ๊ง
    นำโมม่อออป่อเยี๊ยปอล้อบิ๊ก (กราบ)
    บทมหากรุณาธารณีสูตร

    โชยชิ่ว โชยงั่ง บ่อไหง๋ ไต่ปุยซิมทอลอ นีจิ่ว (๓ จบ)
    ปึงซือออนีทอ ยูไล้ (๓ จบ) ​

    นำมอ ฮอลาตัน นอตอลา เหย่ เย นำมอ ออลีเย ผ่อลูกิดตีซอปอลาเย ผู่ทีสัตตอพอเย หม่อฮอสัตตอพอเย หม่อ ฮอเกียลูนี เกียเยงัน สัตพันลาฮัวอี ซูตัน นอตันเซ นำมอ สิดกิด ลีตออีหม่งออลีเย ผ่อลูกิด ตีสิด ฮูลาเลงถ่อพอ นำมอ นอลา กินซี ซีลี หม่อฮอพันตอซาเม สะพอ ออทอ เตาซีพง ออซีเย็น สะพอ สะตอ นอมอ พอสะตอ นอมอ พอเค มอฮัว เตอเตา ตันจิต ทองัน ออพอ ลูซี ลูเกียตี เกียลอตี อีซีลี หม่อฮอ ผู่ทีสัตตอ สัตพอ สัตพอ มอลา มอลา มอซี มอซี ลีทอยิน กีลูกีลูกิดมง ตูลู ตูลู ฟาเซเยตี หม่อ ฮอฮัว เซเยตี ทอลา ทอลา ตีลีนี สิด ฮูลาเย เจลา เจลา มอมอ ฮัวมอลา หมกตีลี อีซี อีซี สิดนอ สิดนอ ออลาซัน ฮูลาเซลี ฮัวซอ ฮัวซัน ฮูลา เซเย ฮูลู ฮูลู มอลา ฮูลู ฮูลู ซีลี ซอลา ซอลา สิดลี สิดลี ซูลู ซูลู ผู่ถี่เย ผู่ถี่เย ผู่ถ่อเย ผู่ถ่อเย มีตีลีเย นอลา กินซี ตีลีสิด นีนอ ผ่อเย มอนอ ซอผ่อฮอ สิดถ่อเย ซอผ่อฮอ หม่อฮอ สิดถ่อเย ซอผ่อฮอ สิดทอยีอี สิดพันลาเย ซอผ่อฮอ นอลากินซี ซอผ่อฮอ มอลานอลา ซอผ่อฮอ สิดลาเซง ออหมกเคเย ซอผ่อฮอ ซอผ่อหม่อฮอ ออสิดถ่อเย ซอผ่อฮอ เจกิดลา ออสิดถ่อเย ซอผ่อฮอ ปอทอมอกิดสิดถ่อเย
    ซอผ่อฮอ นอลากินซี พันเคลาเย ซอผ่อฮอ มอพอลี เซงกิดลาเย ซอผ่อฮอ นำมอห่อลาตัน นอตอลาเยเย นำมอออลีเย ผ่อลูกิตตี ชอพันลาเย ซอผ่อฮอ งันสิดตินตู มันตอลา ปัดถ่อเย ซอผ่อฮอ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (เจ้าแม่กวนอิมมหาโพธิสัตว์ (อวโลกิเตศวร) ผู้ทรงแบ่งภาคได้หลายภาค เพื่อมาโปรดสรรพสัตว์ ทั้งหลาย และทรงเอื้ออารีย์แก่มวลมนุษย์ที่ได้กราบไหว้บูชาให้ประสบผลสำเร็จอันพึงปรารถนา ได้อย่างน่ามหัศจรรย์ ท่านสามารถช่วยปัดเป่าความทุกข์ภัยพยันตรายให้ท่านที่เดือดร้อน ท่านสามารถสวดคาถาบูชาเจ้าแม่กวนอิมให้ครบ ๑๐๘ จบทุกวันโดยตั้งจิตอธิษฐานให้แน่วแน่ ก็จะได้ผลสำเร็จอันพึงปรารถนาทุกประการ)
    <o:p> </o:p>
    คำบูชาบรมครูพระโลกอุดร
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]--><o:p></o:p>


    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯลฯ ( 3 จบ ) <o:p></o:p>​

    โย อะริโย มะหาเถโร อะระหัง อะภิญญาธะโร ปฎิสัมภิทัปปัตโต เตวิชโช พุทธะสาวะโก พะหู เมตตาทิวาสะโน มะหาเถรา นุสาสะโก โส โลกุตตะโร นาโม อัมเหหิ อะภิปูชิโต อิฐะ ฐานูปะมาคัมมะ กุสะเล โน นิโยชะเย ปุตตะเมวะ ปิยัง เทสิ มัคคะผะลัง วะ เทสสะติ ปะระมะสาริกะธาตุ วะชิรัญจา ปิวานิตัง โส โลเก จะ อุปปันโน เอเกเนวะ หิตังกะโร อะยัง โน โข ปุญญะลาโภ อัปปะมัตโต ภะเวตัพโพ สาธุกันตัง อะนุกะริสสามะ ยัง เวเรนะ สุภาสิตัง โลกุตตะโร จะ มหาเถโร เทวะตา นะระปูชิโต โลกุตตะระคุณัง เอตัง อะหัง วันทามิ ตัง สะทา มะหาเถรา นุภาเวนะ สุขัง โสตถี ภะวันตุ เม<o:p></o:p>

    บทสวด แบบย่อ
    โลกุตตะโร จะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา
    หรือ
    ภาวนา ๓ จบ , ๗ จบ , ๙ จบ (เช้า-เย็น ตื่นนอนและก่อนนอน) <o:p></o:p>​

    โลกุตตะโร จะ มะหาเถโร อะหัง วันทามิ ตัง สะทา เมตตาลาโภ นะโสมิยะ อะหะพุทโธ
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    คาถาบูชาพระสยามเทวาธิราช

    สะยามะเทวาธิราชา เทวาติเทวา มะหิทธิกา เทยยะรัฏฐัง อะนุรักขันตุ อาโรคะเยนะ สุเขนะ จะ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา สะยามะเทวานุภาเวนะ สะยามะเทวะเตชะสา ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัททะวา อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิภาคยัง สุขัง พะลัง สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒิ จะ ยะสะวา สะตะวัสสา จะ อายุ จะ ชีวะสิทธี ภะวันตุ เม
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    <o:p> </o:p>
    พระคาถาบูชาพระพุทธเจ้าหลวง

    พระสยามมินโธ วะโรอิติ พุทธสังมิ อิติอรหัง สะหัสสะกายัง วะรังพุทโธ นะโม พุทธายะ
    (หรืออาจว่าคาถาแบบเต็มรูปแบบดังนี้)
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    อิติปิ โส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ
    พระสยามมินโท วะโรอิติ พุทธะสังมิ อิติอะระหัง สะหัสสะกายัง วะรังพุทโธ
    นะโม พุทธายะ มาสีสะมานัง
    (หรือจะช่วยกันรวมจิตอธิษฐานภาวนาพระคาถาบูชาพระพุทธเจ้าหลวง
    โดยขอพรจากพระองค์ท่านเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้)
    ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า ...(ชื่อ) ขอถวายบังคมองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ขออัญเชิญพระบารมีแห่งพระองค์โปรดดลบันดาล ให้ข้าพระพุทธเจ้ามีความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าทั้งชีวิตครอบครัว และธุรกิจการงาน หวังสิ่งใด ขอให้สมปรารถนา ขออัญเชิญพระบารมีแห่งพระองค์ โปรดดลบันดาลพิทักษ์รักษา ปกแผ่ให้ ปวงชนชาวไทยทั้งชาติ ปราศจากภยันตราย อันก่อความแตกแยกสามัคคี ให้มีแต่สันติสุข
    ขอให้ชาติไทยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข เพื่อให้ปวงชนชาวไทยอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็น
    เป็นสุข ภายใต้พระบารมีของล้นเกล้าล้นกระหม่อมแห่งองค์พระบาท
    สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และพระมหากษัตราธิราชไทยทุกพระองค์ด้วยเทอญ
     
  12. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    หมวดที่ ๘ ศีล

    ว่าด้วยข้อห้ามและศีลที่พระพุทธเจ้าได้บัญญัติไว้สำหรับผู้ที่บวชเป็นสามเณรและภิกษุ ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องกระทำเมื่ออยู่ในสมเพศ เป็นที่น่าเสียดายว่าในตำราพิธีการบวชที่มีอยู่หลายเล่มนั้น ทั้งของธรรมยุตและมหานิกายได้เว้นไว้โดยมิได้กล่าวถึงศีลสำหรับพระภิกษุทั้งใหม่และเก่า ซึ่งอาจเป็นเพราะว่ามันมากถึง ๒๒๗ ข้อ อันอาจจะเปลืองเนื้อที่กระดาษหรืออย่างไรไม่ทราบได้ ทำให้พระในปัจจุบันนี้อาจจะละเมิดศีลโดยที่มิควรจะเป็น ทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ หรืออาจจะลืมไปแล้วเสียด้วยว่าสิ่งที่กำลังทำอยู่นั้นผิดศีลข้อใด <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ห้ามฉันเนื้อ ๑๐ อย่าง<!--[if !supportNestedAnchors]--><!--[endif]--><o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ๑. เนื้อมนุษย์ ๒. เนื้อช้าง ๓. เนื้อม้า ๔. เนื้อสุนัข<o:p></o:p>
    ๕. เนื้องู ๖. เนื้อราชสีห์ ๗.เนื้อหมี ๘. เนื้อเสือโคร่ง<o:p></o:p>
    ๙. เนื้อเสือดาว ๑๐. เนื้อเสือเหลือง
    <o:p> </o:p>
    อัฐบาน <!--[if !supportNestedAnchors]--><!--[endif]-->น้ำควรดื่ม ๘ ชนิด<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ๑. อัมพปานะ น้ำผลมะม่วง ๒. ชมพุปานะ น้ำชมพู่ (หรือผลหว้า)<o:p></o:p>
    ๓. โจจปานะ น้ำกล้วยมีเมล็ด ๔. โมจปานะ น้ำกล้วยไม่มีเมล็ด<o:p></o:p>
    ๕. มธกปานะ น้ำมะทราง ๖. มุททิกปานะ น้ำผลจัน หรือ องุ่น<o:p></o:p>
    ๗. สาลุกปานะ น้ำเง่าอุบล ๘. ผารุสกปานะ น้ำผลมะปราง หรือลิ้นจี่ หรือผลไม้ชนิดอื่น เช่น ผลสะคร้อ ผลเล็บเหยี่ยว น้ำผลพุทรา น้ำมันเปรียง น้ำมันงา น้ำนม น้ำข้าวต้ม น้ำผักดอง.<o:p></o:p>
    น้ำผลไม้เหล่านี้ คฤหัสถ์ทำถวายพระฉันได้ พระทำเองไม่ควรฉัน น้ำผลไม้เหล่านี้เป็นยาแก้โรคหิว โรคหิวเป็นกันทุกคน ต้องแก้ทุกวันเพราะความหิวเป็นโรคยิ่งกว่าโรคอื่นทั้งหมด ดังพุทธพจน์ว่า “ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา” ความหิว เป็นโรค อย่างยิ่ง.<o:p></o:p>
    ศีล ๑๐ ข้อของสามเณร<o:p></o:p>

    ๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์ทั้งมนุษย์และเดรัจฉาน
    ๒. เว้นจากการลักทรัพย์
    ๓. เว้นจากการเสพเมถุน
    ๔. เว้นจากการพูดเท็จ
    ๕. เว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
    ๖. เว้นจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล (หลังเที่ยงวันไปแล้ว)
    ๗. เว้นจากการฟ้อนรำขับร้องและการบรรเลง ตลอดถึงการดูการฟังสิ่งเหล่านั้น
    ๘. เว้นจากการทัดทรงตกแต่งประดับร่างกาย การใช้ดอกไม้ของหอมเครื่องประเทืองผิวต่างๆ
    ๙. เว้นจากการนอนที่นอนสูงใหญ่และยัดนุ่นสำลีอันมีลายวิจิตร (เว้นจากการนั่งนอนเหนือเตียงตั่ง<o:p></o:p>
    ที่มีเท้าสูงเกินประมาณ)
    ๑๐. เว้นจากการรับเงินทอง
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    ศีล ๒๒๗ ข้อของพระภิกษุ<o:p></o:p>

    ปาราชิก<o:p></o:p>

    มี ๔ ข้อได้แก่
    ๑. เสพเมถุน แม้กับสัตว์เดรัจฉานตัวเมีย (ร่วมสังวาสกับคนหรือสัตว์)
    ๒. ถือเอาทรัพย์ที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตน จากบ้านก็ดี จากป่าก็ดี (ขโมย)
    ๓. พรากกายมนุษย์จากชีวิต (ฆ่าคน)หรือแสวงหาศาสตราอันจะนำไปสู่ความตายแก่ร่างกายมนุษย์
    ๔. กล่าวอวดอุตตริมนุสสธัมม์ อันเป็นความเห็นอย่างประเสริฐ อย่างสามารถ น้อมเข้าในตัวว่า ข้าพเจ้ารู้อย่างนี้ ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้ (ไม่รู้จริง แต่โอ้อวดความสามารถของตัวเอง) <o:p></o:p>
    สังฆาทิเสส <o:p></o:p>

    มี ๑๓ ข้อ ถือเป็นความผิดหากทำสิ่งใดต่อไปนี้ <o:p></o:p>
    ๑. ปล่อยน้ำอสุจิด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน<o:p></o:p>
    ๒. เคล้าคลึง จับมือ จับช้องผม ลูบคลำ จับต้องอวัยวะอันใดก็ตามของสตรีเพศ
    ๓. พูดจาหยาบคาย เกาะแกะสตรีเพศ เกี้ยวพาราสี
    ๔. การกล่าวถึงคุณในการบำเรอตนด้วยกาม หรือถอยคำพาดพิงเมถุน
    ๕. ทำตัวเป็นสื่อรัก บอกความต้องการของอีกฝ่ายให้กับหญิงหรือชาย แม้สามีกับภรรยา หรือแม้แต่หญิงขายบริการ
    ๖. สร้างกุฏิด้วยการขอ<o:p></o:p>
    ๗. สร้างวิหารใหญ่ โดยพระสงฆ์มิได้กำหนดที่ รุกรานคนอื่น
    ๘. แกล้งใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล<o:p></o:p>
    ๙. แกล้งสมมุติแล้วใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล
    ๑๐. ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน
    ๑๑. เป็นพวกของผู้ที่ทำสงฆ์ให้แตกกัน
    ๑๒. เป็นผู้ว่ายากสอนยาก และต้องโดนเตือนถึง 3 ครั้ง
    ๑๓. ทำตัวเป็นเหมือนคนรับใช้ ประจบคฤหัสถ์
    <o:p> </o:p>
    อนิยตกัณฑ์ <o:p></o:p>

    มี ๒ ข้อได้แก่
    ๑. การนั่งในที่ลับตา มีอาสนะกำบังอยู่กับสตรีเพศ และมีผู้มาเห็นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้พูดขึ้นด้วยธรรม ๓ ประการอันใดอันหนึ่งกล่าวแก่ภิกษุนั้นได้แก่ ปาราชิกก็ดี สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุนั้นถือว่ามีความผิดตามที่อุบาสกผู้นั้นกล่าว
    ๒. ในสถานที่ที่ไม่เป็นที่ลับตาเสียทีเดียว แต่เป็นที่ที่จะพูดจาค่อนแคะสตรีเพศได้สองต่อสองกับภิกษุผู้เดียว และมีผู้มาเห็นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้พูดขึ้นด้วยธรรม 2 ประการอันใดอันหนึ่งกล่าวแก่ภิกษุนั้นได้แก่ สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุนั้นถือว่ามีความผิดตามที่อุบาสกผู้นั้นกล่าว <o:p></o:p>
    นิสสัคคิยปาจิตตีย์ <o:p></o:p>

    มี ๓๐ ข้อ ถือเป็นความผิดได้แก่ <o:p></o:p>
    ๑. เก็บจีวรที่เกินความจำเป็นไว้เกิน ๑๐ วัน
    ๒. อยู่โดยปราศจากจีวรแม้แต่คืนเดียว
    ๓. เก็บผ้าที่จะทำจีวรไว้เกินกำหนด ๑ เดือน<o:p></o:p>
    ๔. ใช้ให้ภิกษุณีซักผ้า<o:p></o:p>
    ๕. รับจีวรจากมือของภิกษุณี<o:p></o:p>
    ๖. ขอจีวรจากคฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติ เว้นแต่จีวรหายหรือถูกขโมย<o:p></o:p>
    ๗. รับจีวรเกินกว่าที่ใช้นุ่ง เมื่อจีวรถูกชิงหรือหายไป<o:p></o:p>
    ๘. พูดทำนองขอจีวรดีๆ กว่าที่เขากำหนดจะถวายไว้แต่เดิม<o:p></o:p>
    ๙. พูดให้เขารวมกันซื้อจีวรดีๆ มาถวาย<o:p></o:p>
    ๑๐. ทวงจีวรจากคนที่รับอาสาเพื่อซื้อจีวรถวายเกินกว่า ๓ ครั้ง<o:p></o:p>
    ๑๑. หล่อเครื่องปูนั่งที่เจือด้วยไหม<o:p></o:p>
    ๑๒. หล่อเครื่องปูนั่งด้วยขนเจียม (ขนแพะ แกะ) ดำล้วน<o:p></o:p>
    ๑๓. ใช้ขนเจียมดำเกิน ๒ ส่วนใน ๔ ส่วน หล่อเครื่องปูนั่ง<o:p></o:p>
    ๑๔. หล่อเครื่องปูนั่งใหม่ เมื่อของเดิมยังใช้ไม่ถึง ๖ ปี<o:p></o:p>
    ๑๕. เมื่อหล่อเครื่องปูนั่งใหม่ ให้เอาของเก่าเจือปนลงไปด้วย<o:p></o:p>
    ๑๖. นำขนเจียมไปด้วยตนเองเกิน ๓ โยชน์ เว้นแต่มีผู้นำไปให้
    ๑๗. ใช้ภิกษุณีที่ไม่ใช้ญาติทำความสะอาดขนเจียม
    ๑๘. รับเงินทอง
    ๑๙. ซื้อขายด้วยเงินทอง
    ๒๐. ซื้อขายโดยใช้ของแลก
    ๒๑. เก็บบาตรที่มีใช้เกินความจำเป็นไว้เกิน ๑๐ วัน
    ๒๒. ขอบาตร เมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน ๕ แห่ง
    ๒๓. เก็บเภสัช ๕ (เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย)ไว้เกิน ๗ วัน
    ๒๔. แสวงและทำผ้าอาบน้ำฝนไว้เกินกำหนด ๑ เดือนก่อนหน้าฝน
    ๒๕. ให้จีวรภิกษุอื่นแล้วชิงคืนในภายหลัง
    ๒๖. ขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร
    ๒๗. กำหนดให้ช่างทอทำให้ดีขึ้น
    ๒๘. เก็บผ้าจำนำพรรษา (ผ้าที่ถวายภิกษุเพื่ออยู่พรรษา) เกินกำหนด
    ๒๙. อยู่ป่าแล้วเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน
    ๓๐. น้อมลาภสงฆ์มาเพื่อให้เขาถวายตน
    <o:p> </o:p>
    ปาจิตตีย์ มี ๙๒ ข้อได้แก่ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ๑. ห้ามพูดปด
    ๒. ห้ามด่า
    ๓. ห้ามพูดส่อเสียด
    ๔. ห้ามกล่าวธรรมพร้อมกับผู้ไม่ได้บวชในขณะสอน
    ๕. ห้ามนอนร่วมกับอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช้ภิกษุ)เกิน ๓ คืน
    ๖. ห้ามนอนร่วมกับผู้หญิง
    ๗. ห้ามแสดงธรรมสองต่อสองกับผู้หญิง
    ๘. ห้ามบอกคุณวิเศษที่มีจริงแก่ผู้มิได้บวช
    ๙. ห้ามบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแก่ผู้มิได้บวช
    ๑๐. ห้ามขุดดินหรือใช้ให้ขุด
    ๑๑. ห้ามทำลายต้นไม้
    ๑๒. ห้ามพูดเฉไฉเมื่อถูกสอบสวน
    ๑๓. ห้ามติเตียนภิกษุผู้ทำการสงฆ์โดยชอบ
    ๑๔. ห้ามทิ้งเตียงตั่งของสงฆ์ไว้กลางแจ้ง
    ๑๕. ห้ามปล่อยที่นอนไว้ ไม่เก็บงำ
    ๑๖. ห้ามนอนแทรกภิกษุผู้เข้าไปอยู่ก่อน
    ๑๗. ห้ามฉุดคร่าภิกษุออกจากวิหารของสงฆ์
    ๑๘. ห้ามนั่งนอนทับเตียงหรือตั่งที่อยู่ชั้นบน
    ๑๙. ห้ามพอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชั้น
    ๒๐. ห้ามเอาน้ำมีสัตว์รดหญ้าหรือดิน
    ๒๑. ห้ามสอนนางภิกษุณีเมื่อมิได้รับมอบหมาย
    ๒๒. ห้ามสอนนางภิกษุณีตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้ว
    ๒๓. ห้ามไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู่
    ๒๔. ห้ามติเตียนภิกษุอื่นว่าสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ
    ๒๕. ห้ามให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ
    ๒๖. ห้ามเย็บจีวรให้นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ
    ๒๗. ห้ามเดินทางไกลร่วมกับนางภิกษุณี
    ๒๘. ห้ามชวนนางภิกษุณีเดินทางเรือร่วมกัน
    ๒๙. ห้ามฉันอาหารที่นางภิกษุณีไปแนะให้เขาถวาย
    ๓๐. ห้ามนั่งในที่ลับสองต่อสองกับภิกษุณี
    ๓๑. ห้ามฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน ๓ มื้อ
    ๓๒. ห้ามฉันอาหารรวมกลุ่ม
    ๓๓. ห้ามรับนิมนต์แล้วไปฉันอาหารที่อื่น
    ๓๔. ห้ามรับบิณฑบาตเกิน ๓ บาตร
    ๓๕. ห้ามฉันอีกเมื่อฉันในที่นิมนต์เสร็จแล้ว
    ๓๖. ห้ามพูดให้ภิกษุที่ฉันแล้วฉันอีกเพื่อจับผิด
    ๓๗. ห้ามฉันอาหารในเวลาวิกาล
    ๓๘. ห้ามฉันอาหารที่เก็บไว้ค้างคืน
    ๓๙. ห้ามขออาหารประณีตมาเพื่อฉันเอง
    ๔๐. ห้ามฉันอาหารที่มิได้รับประเคน
    ๔๑. ห้ามยื่นอาหารด้วยมือให้ชีเปลือยและนักบวชอื่นๆ
    ๔๒. ห้ามชวนภิกษุไปบิณฑบาตด้วยแล้วไล่กลับ
    ๔๓. ห้ามเข้าไปแทรกแซงในสกุลที่มีคน ๒ คน
    ๔๔. ห้ามนั่งในที่ลับมีที่กำบังกับมาตุคาม (ผู้หญิง)
    ๔๕. ห้ามนั่งในที่ลับ (หู) สองต่อสองกับมาตุคาม
    ๔๖. ห้ามรับนิมนต์แล้วไปที่อื่นไม่บอกลา
    ๔๗. ห้ามขอของเกินกำหนดเวลาที่เขาอนุญาตไว้
    ๔๘. ห้ามไปดูกองทัพที่ยกไป
    ๔๙. ห้ามพักอยู่ในกองทัพเกิน ๓ คืน
    ๕๐. ห้ามดูเขารบกันเป็นต้น เมื่อไปในกองทัพ
    ๕๑. ห้ามดื่มสุราเมรัย
    ๕๒. ห้ามจี้ภิกษุ
    ๕๓. ห้ามว่ายน้ำเล่น
    ๕๔. ห้ามแสดงความไม่เอื้อเฟื้อในวินัย
    ๕๕. ห้ามหลอกภิกษุให้กลัว
    ๕๖. ห้ามติดไฟเพื่อผิง
    ๕๗. ห้ามอาบน้ำบ่อยๆเว้นแต่มีเหตุ
    ๕๘. ให้ทำเครื่องหมายเครื่องนุ่งห่ม
    ๕๙. วิกัปจีวรไว้แล้ว (ทำให้เป็นสองเจ้าของ-ให้ยืมใช้) จะใช้ต้องถอนก่อน
    ๖๐. ห้ามเล่นซ่อนบริขารของภิกษุอื่น
    ๖๑. ห้ามฆ่าสัตว์
    ๖๒. ห้ามใช้น้ำมีตัวสัตว์
    ๖๓. ห้ามรื้อฟื้นอธิกรณ์(คดีความ-ข้อโต้เถียง)ที่ชำระเป็นธรรมแล้ว
    ๖๔. ห้ามปกปิดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่น
    ๖๕. ห้ามบวชบุคคลอายุไม่ถึง ๒๐ ปี
    ๖๖. ห้ามชวนพ่อค้าผู้หนีภาษีเดินทางร่วมกัน
    ๖๗. ห้ามชวนผู้หญิงเดินทางร่วมกัน
    ๖๘. ห้ามกล่าวตู่พระธรรมวินัย (ภิกษุอื่นห้ามและสวดประกาศเกิน ๓ ครั้ง)
    ๖๙. ห้ามคบภิกษุผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย
    ๗๐. ห้ามคบสามเณรผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย
    ๗๑. ห้ามพูดไถลเมื่อทำผิดแล้ว
    ๗๒. ห้ามกล่าวติเตียนสิกขาบท
    ๗๓. ห้ามพูดแก้ตัวว่า เพิ่งรู้ว่ามีในปาฏิโมกข์
    ๗๔. ห้ามทำร้ายร่างกายภิกษุ
    ๗๕. ห้ามเงื้อมือจะทำร้ายภิกษุ
    ๗๖. ห้ามโจทภิกษุด้วยอาบัติสังฆาทิเสสที่ไม่มีมูล
    ๗๗. ห้ามก่อความรำคาญแก่ภิกษุอื่น
    ๗๘. ห้ามแอบฟังความของภิกษุผู้ทะเลาะกัน
    ๗๙. ให้ฉันทะแล้วห้ามพูดติเตียน
    ๘๐. ขณะกำลังประชุมสงฆ์ ห้ามลุกไปโดยไม่ให้ฉันทะ
    ๘๑. ร่วมกับสงฆ์ให้จีวรแก่ภิกษุแล้ว ห้ามติเตียนภายหลัง
    ๘๒. ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อบุคคล
    ๘๓. ห้ามเข้าไปในตำหนักของพระราชา
    ๘๔. ห้ามเก็บของมีค่าที่ตกอยู่
    ๘๕. เมื่อจะเข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องบอกลาภิกษุก่อน
    ๘๖. ห้ามทำกล่องเข็มด้วยกระดูก งา หรือเขาสัตว์
    ๘๗. ห้ามทำเตียง ตั่งมีเท้าสูงกว่าประมาณ
    ๘๘. ห้ามทำเตียง ตั่งที่หุ้มด้วยนุ่น
    ๘๙. ห้ามทำผ้าปูนั่งมีขนาดเกินประมาณ
    ๙๐. ห้ามทำผ้าปิดฝีมีขนาดเกินประมาณ
    ๙๑. ห้ามทำผ้าอาบน้ำฝนมีขนาดเกินประมาณ
    ๙๒. ห้ามทำจีวรมีขนาดเกินประมาณ
    <o:p> </o:p>
    ปาฏิเทสนียะ มี ๔ ข้อได้แก่
    ๑. ห้ามรับของคบเคี้ยว ของฉันจากมือภิกษุณีมาฉัน
    ๒. ให้ไล่นางภิกษุณีที่มายุ่งให้เขาถวายอาหาร
    ๓. ห้ามรับอาหารในสกุลที่สงฆ์สมมุติว่าเป็นเสขะ (อริยบุคคล แต่ยังไม่ได้บรรลุเป็นอรหันต์)
    ๔. ห้ามรับอาหารที่เขาไม่ได้จัดเตรียมไว้ก่อนมาฉันเมื่ออยู่ป่า <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เสขิยะ <o:p></o:p>
    สารูป มี ๒๖ ข้อได้แก่ <o:p></o:p>
    ๑. นุ่งให้เป็นปริมณฑล (ล่างปิดเข่า บนปิดสะดือไม่ห้อยหน้าห้อยหลัง)
    ๒. ห่มให้เป็นนปริมณฑล (ให้ชายผ้าเสมอกัน)
    ๓. ปกปิดกายด้วยดีไปในบ้าน
    ๔. ปกปิดกายด้วยดีนั่งในบ้าน
    ๕. สำรวมด้วยดีไปในบ้าน
    ๖. สำรวมด้วยดีนั่งในบ้าน
    ๗. มีสายตาทอดลงไปในบ้าน (ตาไม่มองโน่นมองนี่)
    ๘. มีสายตาทอดลงนั่งในบ้าน
    ๙. ไม่เวิกผ้าไปในบ้าน
    ๑๐. ไม่เวิกผ้านั่งในบ้าน
    ๑๑. ไม่หัวเราะดังไปในบ้าน
    ๑๒. ไม่หัวเราะดังนั่งในบ้าน
    ๑๓. ไม่พูดเสียงดังไปในบ้าน
    ๑๔. ไม่พูดเสียงดังนั่งในบ้าน
    ๑๕. ไม่โคลงกายไปในบ้าน
    ๑๖. ไม่โคลงกายนั่งในบ้าน
    ๑๗. ไม่ไกวแขนไปในบ้าน
    ๑๘. ไม่ไกวแขนนั่งในบ้าน
    ๑๙. ไม่สั่นศีรษะไปในบ้าน
    ๒๐. ไม่สั่นศีรษะนั่งในบ้าน
    ๒๑. ไม่เอามือค้ำกายไปในบ้าน
    ๒๒. ไม่เอามือค้ำกายนั่งในบ้าน
    ๒๓. ไม่เอาผ้าคลุมศีรษะไปในบ้าน
    ๒๔. ไม่เอาผ้าคลุมศีรษะนั่งในบ้าน
    ๒๕. ไม่เดินกระโหย่งเท้า ไปในบ้าน
    ๒๖. ไม่นั่งรัดเข่าในบ้าน
    <o:p> </o:p>
    โภชนปฏิสังยุตต์ มี ๓๐ ข้อคือหลักในการฉันอาหารได้แก่ <o:p></o:p>
    ๑. รับบิณฑบาตด้วยความเคารพ
    ๒. ในขณะบิณฑบาต จะแลดูแต่ในบาตร
    ๓. รับบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง (ไม่รับแกงมากเกินไป)
    ๔. รับบิณฑบาตแค่พอเสมอขอบปากบาตร
    ๕. ฉันบิณฑบาตโดยความเคารพ
    ๖. ในขณะฉันบิณฑบาต และดูแต่ในบาตร
    ๗. ฉันบิณฑบาตไปตามลำดับ (ไม่ขุดให้แหว่ง)
    ๘. ฉันบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง ไม่ฉันแกงมากเกินไป
    ๙. ฉันบิณฑบาตไม่ขยุ้มแต่ยอดลงไป
    ๑๐. ไม่เอาข้าวสุกปิดแกงและกับด้วยหวังจะได้มาก
    ๑๑. ไม่ขอเอาแกงหรือข้าวสุกเพื่อประโยชน์แก่ตนมาฉัน หากไม่เจ็บไข้
    ๑๒. ไม่มองดูบาตรของผู้อื่นด้วยคิดจะยกโทษ
    ๑๓. ไม่ทำคำข้าวให้ใหญ่เกินไป
    ๑๔. ทำคำข้าวให้กลมกล่อม
    ๑๕. ไม่อ้าปากเมื่อคำข้าวยังมาไม่ถึง
    ๑๖. ไม่เอามือทั้งมือใส่ปากในขณะฉัน
    ๑๗. ไม่พูดในขณะที่มีคำข้าวอยู่ในปาก
    ๑๘. ไม่ฉันโดยการโยนคำข้าวเข้าปาก
    ๑๙. ไม่ฉันกัดคำข้าว
    ๒๐. ไม่ฉันทำกระพุ้งแก้มให้ตุ่ย
    ๒๑. ไม่ฉันพลางสะบัดมือพลาง
    ๒๒. ไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าว
    ๒๓. ไม่ฉันแลบลิ้น
    ๒๔. ไม่ฉันดังจับๆ
    ๒๕. ไม่ฉันดังซูดๆ
    ๒๖. ไม่ฉันเลียมือ
    ๒๗. ไม่ฉันเลียบาตร
    ๒๘. ไม่ฉันเลียริมฝีปาก
    ๒๙. ไม่เอามือเปื้อนจับภาชนะน้ำ
    ๓๐. ไม่เอาน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวเทลงในบ้าน
    <o:p> </o:p>
    ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ มี ๑๖ ข้อคือ <o:p></o:p>
    ๑. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีร่มในมือ
    ๒. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีไม้พลองในมือ
    ๓. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีของมีคมในมือ
    ๔. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีอาวุธในมือ
    ๕. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่สวมเขียงเท่า (รองเท้าไม้)
    ๖. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่สวมรองเท้า
    ๗. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่ไปในยาน
    ๘. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่อยู่บนที่นอน
    ๙. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งรัดเข่า
    ๑๐. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่โพกศีรษะ
    ๑๑. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่คลุมศีรษะ
    ๑๒. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่อยู่บนอาสนะ (หรือเครื่องปูนั่ง) โดยภิกษุอยู่บนแผ่นดิน
    ๑๓. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งบนอาสนะสูงกว่าภิกษุ
    ๑๔. ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งอยู่ แต่ภิกษุยืน
    ๑๕. ภิกษุเดินไปข้างหลังไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่เดินไปข้างหน้า
    ๑๖. ภิกษุเดินไปนอกทางไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่ไปในทาง
    <o:p> </o:p>
    ปกิณสถะ มี ๓ ข้อ
    ๑. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ยืนถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
    ๒. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้ำลายลงในของเขียว (พันธุ์ไม้ใบหญ้าต่างๆ)
    ๓. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้ำลายลงในน้ำ <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    อธิกรณสมถะ มี ๗ ข้อได้แก่
    ๑. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ในที่พร้อมหน้า (บุคคล วัตถุ ธรรม)
    ๒. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยการยกให้ว่าพระอรหันต์เป็นผู้มีสติ
    ๓. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยยกประโยชน์ให้ในขณะเป็นบ้า
    ๔. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยถือตามคำรับของจำเลย
    ๕. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ
    ๖. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยการลงโทษแก่ผู้ผิด
    ๗. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยให้ประนีประนอมหรือเลิกแล้วกันไป
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    <!--[endif]-->
    ข้อปฏิบัติของภิกษุณี ๘ ประการ (ครุธัมมปฏิคคหณูปสัมปทา)<o:p></o:p>

    ครุธัมมปฏิคคหณูปสัมปทา คือเงื่อนไขอย่างเข้มงวด ๘ ประการที่ภิษุณีจะต้องปฏิบัติตลอดชีวิตอันได้แก่
    ๑. ต้องเคารพภิกษุแม้จะอ่อนพรรษากว่า
    ๒. ต้องไม่จำพรรษาในวัดที่ไม่มีภิกษุ
    ๓. ต้องทำอุโบสถและรับโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน
    ๔. เมื่อออกพรรษาต้องปวารณาตนต่อภิกษุและภิกษุณีอื่นให้ตักเตือนตน
    ๕. เมื่อต้องอาบัติหนัก ต้องรับมานัต (รับโทษ) จากสงฆ์สองฝ่ายคือทั้งฝ่ายภิกษุและภิกษุณี ๑๕ วัน
    ๖. ต้องบวชจากสงฆ์ทั้งสองฝ่าย หลังจากเป็น*สิกขามานาเต็มแล้วสองปี
    ๗. จะด่าว่าค่อนแคะภิกษุไม่ได้
    ๘. ห้ามสอนภิกษุเด็ดขาด <o:p></o:p>
    *สิกขามานาแปลว่า ผู้ศึกษา สตรีที่จะบวชเป็นภิกษุณีต้องเป็นนางสิกขามานาก่อน ๒ ปี<o:p></o:p>
    ***************************************************************<o:p></o:p>
     
  13. tum399

    tum399 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    732
    ค่าพลัง:
    +2,908
    สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ

    <O>
    </O>

    การให้ธรรมมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง
     
  14. chaipat

    chaipat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2007
    โพสต์:
    1,282
    ค่าพลัง:
    +11,099
    การเพียรพยายามทำความดี แม้แต่น้อยก็ดี ค่อยๆ ทำไปเรื่อยๆ ปฏิบัติไปเรื่อยๆ ใจเรานี้จะค่อยๆ สงบ เย็น ดีครับ ขออนุโมทนาครับ
     
  15. ธัมมนัตา

    ธัมมนัตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    1,516
    ค่าพลัง:
    +9,769
    ขออนุโมทนาในกุศลจิตของท่านเป็นอย่างสูง การสวดพุทธพจน์และข้อธรรม ต่าง ๆจะเป็นการสืบทอดพระศาสนาให้ยืนยาวไปอีก ให้ครบ 5000 ปีและเป็นมงคลอย่างยิ่งกับผู้สวดทุกท่าน
     
  16. Nu_Bombam

    Nu_Bombam เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    1,031
    ค่าพลัง:
    +4,916
    สุดยอกครอบจักรวาลมากๆครับ ผมอยากได้หนังสือบทสวดมนต์ของทางวัดท่าซุงอ่ะครับ ผมอยู่เชียงใหม่ไม่รู้จะหาที่ไหน? ชี้แนะด้วยครับ
     
  17. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    มาดันกระทู้ขึ้น ให้พิจารณากันต่อ
     
  18. yut_sss

    yut_sss เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    44
    ค่าพลัง:
    +15,187
    ชอบแล้ว

    มหาโมทนา มหาโมทนา มหาโมทนา
     
  19. Fourthman

    Fourthman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,672
    ค่าพลัง:
    +5,348
    ไฟล์บทสวดแก้ไขล่าสุดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

แชร์หน้านี้

Loading...