วิธีปล่อยสัญญา สังขาร

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ชมทรัพย์, 3 มิถุนายน 2020.

  1. จงปล่อยวาง..

    จงปล่อยวาง.. Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    488
    ค่าพลัง:
    +286
    แม้ความอยากช่วยเหลือผู้อื่นให้พ้นทุกข์
    ก็เป็นความปราถนาของ ตน
    พยามทำตามความปรารถนาของ ตน ให้สำเร็จ
    ก็เพื่อ ตน ก่อนอยู่ดีปะหว่า

    ปัญหาปวดหัวป่าวๆมั๊ย
     
  2. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    จะหา คำตอบ ทำ แปะ ไร ฮับ

    โจทย์คำถาม มันลงท้ายด้วยคำว่า "...ถูกต้ม !? "

    พินาเอา

    ไม่งั้นก็ไปหา ป้าจินปอด ก็ได้ หรือ น้าจินกึ๋น หากมี
     
  3. จงปล่อยวาง..

    จงปล่อยวาง.. Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2020
    โพสต์:
    488
    ค่าพลัง:
    +286
    ทุกข์ใจจริงน้อ พ่อแม่ที่ต้องจากลูกที่รักเนี่ย
    ใครไม่มีลูกคงไม่เข้าใจ
    แค่คิดว่าเป็นเรา ขรึ้มูกก็ไหลเลย ดีจัง คืนนี้นอนสบาย มีขรึัมูก
     
  4. ชมทรัพย์

    ชมทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2015
    โพสต์:
    552
    ค่าพลัง:
    +248
    สมมุติ คือ จิต สินะ
     
  5. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    จิต ไม่ใช่ สมมุติ เป็น ปรมัตถ์
     
  6. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    ให้กำหนดรู้ไปเลย ฮับ หากกำลัง "เห็น"

    " ธรรมชาติที่ถ่องแท้ "

    [๔๐] สภาพที่อริยมรรคให้สว่าง สภาพที่อริยมรรคให้รุ่งเรือง สภาพที่
    อริยมรรคให้กิเลสทั้งหลายเร่าร้อน สภาพที่อริยมรรคไม่มีมลทิน สภาพที่อริยมรรค
    ปราศจากมลทิน สภาพที่อริยมรรคหมดมลทิน สภาพที่อริยมรรคสงบ สภาพที่
    อริยมรรคให้กิเลสระงับ สภาพแห่งวิเวก สภาพแห่งความประพฤติในวิเวก
    สภาพที่คลายกำหนัด สภาพแห่งความประพฤติในความคลายกำหนัด สภาพที่ดับ
    สภาพแห่งความประพฤติความดับ สภาพที่ปล่อย สภาพแห่งความประพฤติใน
    ความปล่อย สภาพที่พ้น สภาพแห่งความประพฤติในความพ้น ควรรู้ยิ่ง
    ทุกอย่าง ฯ
    [๔๑] สภาพแห่งฉันทะ สภาพที่เป็นมูลแห่งฉันทะ สภาพที่เป็นบาท
    แห่งฉันทะ สภาพที่เป็นประธานแห่งฉันทะ สภาพที่สำเร็จแห่งฉันทะ สภาพที่
    น้อมไปแห่งฉันทะ สภาพที่ประคองไว้แห่งฉันทะ สภาพที่ตั้งมั่นแห่งฉันทะ
    สภาพที่ไม่ฟุ้งซ่านแห่งฉันทะ สภาพที่เห็นแห่งฉันทะ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๒] สภาพแห่งวิริยะ สภาพที่เป็นมูลแห่งวิริยะ สภาพที่เป็นบาท
    แห่งวิริยะ สภาพที่เป็นประธานแห่งวิริยะ สภาพที่สำเร็จแห่งวิริยะ สภาพที่น้อม
    ไปแห่งวิริยะ สภาพที่ประคองไว้แห่งวิริยะ สภาพที่ตั้งมั่นแห่งวิริยะ สภาพที่ไม่
    ฟุ้งซ่านแห่งวิริยะ สภาพที่เห็นแห่งวิริยะ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๓] สภาพแห่งจิต สภาพที่เป็นมูลแห่งจิต สภาพที่เป็นบาทแห่งจิต
    สภาพที่เป็นประธานแห่งจิต สภาพที่สำเร็จแห่งจิต สภาพที่น้อมไปแห่งจิต
    สภาพที่ประคองไว้แห่งจิต สภาพที่ตั้งมั่นแห่งจิต สภาพที่ไม่ฟุ้งซ่านแห่งจิต
    สภาพที่เห็นแห่งจิต ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๔] สภาพแห่งวิมังสา สภาพที่เป็นมูลแห่งวิมังสา สภาพที่เป็นบาท
    แห่งวิมังสา สภาพที่เป็นประธานแห่งวิมังสา สภาพที่สำเร็จแห่งวิมังสา สภาพ
    ที่น้อมไปแห่งวิมังสา สภาพที่ประคองไว้แห่งวิมังสา สภาพที่ตั้งมั่นแห่ง
    วิมังสา สภาพที่ไม่ฟุ้งซ่านแห่งวิมังสา สภาพที่เห็นแห่งวิมังสา ควรรู้ยิ่ง
    ทุกอย่าง ฯ

    [๔๕] สภาพแห่งทุกข์ สภาพที่ทุกข์บีบคั้น สภาพที่ทุกข์อันปัจจัย
    ปรุงแต่ง สภาพที่ทุกข์ให้เดือดร้อน สภาพที่ทุกข์แปรปรวน สภาพแห่ง
    สมุทัย สภาพที่สมุทัยประมวลมา สภาพที่สมุทัยเป็นเหตุ สภาพที่สมุทัย
    เกี่ยวข้อง สภาพที่สมุทัยพัวพัน สภาพแห่งนิโรธ สภาพที่นิโรธสลัดออก
    สภาพที่นิโรธเป็นวิเวก สภาพที่นิโรธเป็นอสังขตะ สภาพที่นิโรธเป็นอมตะ
    สภาพแห่งมรรค สภาพที่มรรคนำออก สภาพที่มรรคเป็นเหตุ สภาพที่
    มรรคเห็น สภาพที่มรรคเป็นอธิบดี ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๖] สภาพที่ถ่องแท้ สภาพที่เป็นอนัตตา สภาพที่เป็นสัจจะ
    สภาพที่ควรแทงตลอด สภาพที่ควรรู้ยิ่ง สภาพที่ควรกำหนดรู้ สภาพที่
    ทรงรู้ สภาพที่เป็นธาตุ สภาพที่อาจได้ สภาพที่รู้ควรทำให้แจ้ง สภาพ
    ที่ควรถูกต้อง สภาพที่ควรตรัสรู้ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๗] เนกขัมมะ อัพยาบาท อาโลกสัญญา ความไม่ฟุ้งซ่าน ความ
    กำหนดธรรม ญาณ ความปราโมทย์ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
    อากาสานัญจายตนสมาบัติ วิญญาณัญจายตนสมาบัติ อากิญจัญญายตนสมาบัติ
    เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๘] การพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง การพิจารณาเห็นความทุกข์ การ
    พิจารณาเห็นอนัตตา การพิจารณาเห็นด้วยความเบื่อหน่าย การพิจารณาเห็นด้วย
    ความคลายกำหนัด การพิจารณาเห็นด้วยความดับ การพิจารณาเห็นด้วยความ
    สละคืน การพิจารณาเห็นความสิ้นไป การพิจารณาเห็นความเสื่อมไป การพิจารณา
    เห็นความแปรปรวน การพิจารณาเห็นความไม่มีเครื่องหมาย การพิจารณาเห็นธรรม
    ไม่มีที่ตั้ง การพิจารณาเห็นความว่างเปล่า การพิจารณาเห็นธรรมด้วยปัญญาอันยิ่ง
    ความรู้ความเห็นตามความเป็นจริง การพิจารณาเห็นโทษ การพิจารณาหาทาง การ
    พิจารณาเห็นอุบายที่จะหลีกไป ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ

    [๔๙] โสดาปัตติมรรค โสดาปัตติผลสมาบัติ สกทาคามิมรรค
    สกทาคามิผลสมาบัติ อนาคามิมรรค อนาคามิผลสมาบัติ อรหัตมรรค อรหัตผล
    สมาบัติ ควรรู้ยิ่งทุกอย่าง ฯ


    https://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=31&A=305

    จิต เป็นเพียง สิ่งเกิดจากปัจจัย จึงไม่ใช่สภาพ "แท้"
     
  7. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    จาก ข้อ 46 ในพระไตรปิฏก แปล มาเทียบ บาลี

    [๔๖] ตถฏฺโฐ อภิญเญยฺโย อนตฺตฏฺโฐ อภิญเญยฺโย....ฯลฯ

    พอมาใช้คำบาลี จะเห็น รส ลงเป็น มรรคปฏิบัติมากกว่า

    แต่ถ้าจะเทียบภาษา สมัยใหม่ ทั้งวรรคข้อ 46 จะเป็น
    เรื่องของการ บรรยาย "แหวกจอกแหน"

    ไปรู้ชัด อสังขธาตุ อกุปธรรม หรือ นิพพาน มีอยู่จริง

    แต่หากยังเป็นแค่ โสดาปฏิมรรค ก็จะ ยังมี
    ขั้นไม่จริงอยู่ เป็นเพียงการ พาดกระแส
    แล้ว แยกแยะได้ว่า อะไรเป็นมรรค อะไรไม่ใช่มรรค

    ลวกเพ่ ชมซับ จะใช้คำไหนก็ได้ นะ ฮับ
    เพียงแต่ว่า ต้องมี รส ให้เป็น มรรค ไว้

    เช่น เข้าไปเห็น "ใจ" เข้าไปเห็น "จิตหนึ่ง"
    เข้าไปเห็น "ธรรมหนึ่ง" เข้าไปเห็น ธรรมธาตุ
    อภิญเญยโย "จิตพุทธ"

    ต้องระวังการใช้ ที่ออกแนว เพื่อการ บัญญัติ

    ปล. พระราดรีท่านนึง แทนที่จะใช้ คำต่างๆ
    ที่ครูบาอาจารย์ นิยามขึ้นมาใหม่(ตอนนั้น
    คงมี การล่า คนประกาศนิพพาน จะมีทีม
    มหามาคอยสอบ คอยถาม จับสึก เลยทำ
    ให้ต้องสร้างคำเลี่ยงไปต่างๆ )

    ปล. พระราดรีท่านนึง แทนที่จะใช้ คำต่างๆ
    ที่ครูบาอาจารย์ นิยามขึ้นมาใหม่ ท่านเลือก
    ใช้คำว่า กุปธรรม กับ อกุปธรรม แทนการ
    เข้าไปเห็น "เห็นสภาพที่ถ่องแท้"

    พอใช้คำว่า กุปธรรม อกุปธรรม มันจะมี
    รสเป็น มรรค ให้ บึณดจั้มบึ๊ดกันต่อ

    แม้นจะจบ ก็ยังต้องปฏิบัติเพื่อ สติ
    เพื่อความไม่ประมาท
     
  8. Pngtree

    Pngtree เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2018
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +1,335
    จิตมันก็คือคำสั้นๆ ที่พระท่านนิยมใช้ในวงกรรมฐานนั่นแหล่ะ

    เจตสิก(หรือก้อเรียกจิต) ก้อคือ อารมณ์ที่จิตกิน หรือคือสิ่งที่ถูกจิตรุ้ หรือก้อคือธรรมชาติไตรลักษณ์ที่มันทนจะไม่เปลี่ยนแปลงตัวเองไม่ได้ ทนให้ตัวมันเองคงที่ในสภาวะนั้นไม่ได้

    ผุ้รุ้ (จิต) - จิตมีสภาพปรมัตถ์ ปรมัตถ์คือการที่จิตมันรุ้เฉยอย่างเดียว ไม่กินอารมณ์ปรุงแต่งอะไร และต้องรุ้เป็นปัจจุบันเท่านั้น การรุ้เฉยอันนี้นี่แหล่ะคือจิตแท้ๆ ตัวจิตจริงๆ หรือคือจิตพุทธะ

    แต่ที่มันยังพุทธะไม่ได้ เพราะมันยังละอวิชชาที่เป็นเงาที่บังมันอยุ่ไม่ได้
     
  9. โซโล

    โซโล ...

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2019
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +46
    ผมชอบคำพูดคุณปวีนะคับ สำหรับคนที่ละตัวตนได้
     
  10. โซโล

    โซโล ...

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2019
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +46
    การละตัวตนได้จะคล้ายกับการละอารมณ์นั้นได้ อวิชชาที่ผมเข้าใจคงคล้ายกับอารมณ์ที่คุณสามารถทิ้งมันได้ใหม
     
  11. โซโล

    โซโล ...

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2019
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +46
    ขอโทดทีมาขัดจังหวะนะคับ
     
  12. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    คนน่าจะมีอารมณ์ความรู้สึกปกตินะครับ
    55น่าเบื่อแย่เลยถ้าขาดของพวกนี้
     
  13. โซโล

    โซโล ...

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2019
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +46
    ท่านร่อนมาเร็วจริงๆ อย่าได้เคืองโกรธนะคับ อารมณ์ ผมเคยอ่านมาก้เหมือนเมฆบดบังดวงจัน
    เพราะเหตุใดจึงต้องมีเมฆหมอกกันละท่าน ให้เสียบรรยากาศชมดวงจัน
     
  14. โซโล

    โซโล ...

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2019
    โพสต์:
    150
    ค่าพลัง:
    +46
    ขออำภัยนะคับ นานๆที่ท่านจะปล่อยออกจากวัด ออกจากเมม
     
  15. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    ผมว่าอาการมันน่าจะเหมือนอารมณ์เข้ามาแล้วใจเราไม่เพือมตาม
    ของผมยังเป็นการสกดอยู่นะครับ
    เจอผัสสะหนักๆกะเอาไม่อยู่
     
  16. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    กะว่าไปเรื่อยละผม
    ผมแค่สงสัยคนเราต้องมีอารมณ์ความรู้สึกดิ
    กะคาดเดาไปนะครับ
     
  17. กระร่อน

    กระร่อน จิตฺเตน นียติ โลโก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2020
    โพสต์:
    8,909
    ค่าพลัง:
    +994
    ปล่อยตามอารมณ์กะเหมือนคนไม่ได้ปฎิบัติธรรม
    สะกัดกั้นอารมณ์กะเหมือนหุ่นยนต์
    ผมคิดว่างี้
     
  18. ชมทรัพย์

    ชมทรัพย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มิถุนายน 2015
    โพสต์:
    552
    ค่าพลัง:
    +248
    ธรรมชาติของจิตมีอารมณ์ ธรรมชาติคิด มีสภาพจำ นี่ของจริงใช่ไหม
     
  19. maokvid-1800

    maokvid-1800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,923
    ค่าพลัง:
    +2,262
    วิญญาณ เป็น ปัจจัยแก่ นามรูป
    ภาษาปุปุชน ก็จะพูดว่า "จิตมีหน้าที่คิด"

    เมื่อไหร่มีจิตปรากฏ เมื่อนั้น เวทนาจะ
    ปรากฏร่วม พระศาสดาอุปมา เหมือน
    เอา ไม้กระดาน 2 แผ่น จะมาตั้ง ก็ต้อง
    เอาไม่ทั้งสองมาพิงกันให้พอดี ก็จะไม่ล้ม

    เมื่อไหร่ปรากฏจิต เมื่อนั้น สัญญาจะเกิด
    ร่วม โดยหลักการก็คือ จิตเป็นปัจจัยแก่
    นามรูป เวทนาปัก สัญญาก็จะหมายรู้

    จิต จึงเป็นธาตุ นอกจากมันจะเกิดจาก
    ปัจจัยการด้วยตัวมันเอง มันจึงไม่ใช่
    "สภาพที่ถ่องแท้" แถมมันยัง เป็นเหตุ
    ให้เกิดสิ่ง อำพรางตัวเอง

    การภาวนาจึงต้องอาศัย การแสดงตัว
    ของกองสัญญาว่าไม่เที่ยง ผ่านตัว
    "สติ" เจตสิก หากสามารถเห็น "สติ"
    เป็นสิ่งไม่เที่ยงได้ ก็จะได้ อนุปัสสนา
    เกิด สัมปชัญญะ

    พอได้ สัมปชัญญะรู้ "สักกายยะ" อาการ
    มาประชุมกันเป็นกาย ก็จะมีจังหวะ กำหนดรู้
    ว่า เวทนา ก็ไม่เที่ยง

    พอแหวก สัญญา เวทนา ได้ ก็จะเกิดการ
    ทวนกระแสไปเห็น จิต ไม่เที่ยง เป็น ตัวทุกข์
    เป็นเหตุแห่งทุกข์(มีปรกติส่งออก)

    ปัญญาที่รู้ ชัด ระลึกได้ว่า จิตมีปรกติส่งออก
    ก็จะ ค่อยๆ คลายกำหนัด สลัดวาง ด้วยกระบวน
    การแห่ง มรรค

    พอรู้ชัด มรรค ปรากฏได้ด้วยเหตุอย่างไร
    ไม่ใช่การจงใจ หรือ ดำริจะเป็น ก็จะเห็น
    การพาดกระแส

    เห็นความเป็น กุปธรรม อกุปธรรม

    ความจำเป็นในการ สมาทานปริยัติ เพื่อกระทำไว้
    ในใจ จะสิ้นสุดลง ต่อไปได้ยินปริยัติอะไรก็จะ
    จืดสนิท เหลือแต่ การภาวนาซึ่งจะยังสำคัญ
    ว่ามี รสชาติ แต่ จริงๆ จะต้องตามเห็นความ
    จิดสนิทของปฏิปทาใดๆ ไม่เช่นนั้น ก็จะเป็น
    "อุปาทานกำเริบ"

    หรือที่เรียกว่า รู้ไม่ถึงฐาน ดูไม่ถึงจิต

    หรือ สัมมาสมาธิไม่เคยสัมผัส จริง ( สัมมาสมาธิ
    หากสัมผัสได้จริง จะเป็นเรื่อง มัคสมังคี ซึ่ง
    เกิดได้แค่ 4 ครั้ง )
     
  20. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762

    อารมณ์ กะ คิด นี่คือ ความหมายเดียวกัน

    เป็นภาษาปฏิบัติ

    ธรรมชาติของจิต คือ รู้อารมณ์ มีปกติส่งออกรู้อารมณ์ หรือจะบอกว่า มีปกติต้องคิด
    เป็นธรรมชาติ

    รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ

    จิต จะออกผ่าน วิญญาณไปรู้อารมณ์ ที่มี สัญญา เวทนา ปรุงแต่ง เป็นปกติ เมื่อไม่รู้ตามความเป็นจริง จึงอุปาทาน ว่า รูป เวทนา สัญญา เป็นตัว เป็นตน ขึ้นมา พาไปสร้าง บุญและบาป วนไปในสังสาระ

    แต่เมื่อ เอา อาการ ส่งออก ของจิต มาฝึก ในการสร้างสติ
    ก็จะเกิดปัญญา ถ่ายถอน อุปาทานทั้งปวง
     

แชร์หน้านี้

Loading...