หลังจาก พิจารณากายในกาย ดีแล้ว ให้พิจารณา เวทนาในเวทนา ต่อไป

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย nilakarn, 24 กันยายน 2020.

  1. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
     
  2. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  3. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  4. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  5. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  6. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  7. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  8. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  9. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
  10. nilakarn

    nilakarn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2011
    โพสต์:
    3,604
    ค่าพลัง:
    +3,014
     
  11. ปราบเทวดา

    ปราบเทวดา ลอยลำ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2017
    โพสต์:
    6,265
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +4,762
    จากหัวข้อ




    [๒๗๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง
    ภิกษุเมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่าเราเดิน
    เมื่อยืน ก็รู้ชัดว่าเรายืน
    เมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่าเรานั่ง
    เมื่อนอนก็รู้ชัดว่าเรานอน
    หรือ เธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ

    ดังพรรณนามาฉะนี้
    ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิด ขึ้นในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง
    พิจารณาเห็นธรรมคือ ทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง

    ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง
    สติของเธอที่ตั้งมั่น อยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้
    เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น

    เธอเป็นผู้อัน ตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว
    และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

    อ่านต่อที่นี่ https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=10&A=6257&Z=6764
    ......................................

    จากพระไตรปิฎก
    มหาสติปัฏฐาน มี 21 บรรพะ (ภาษาง่ายๆ มี 21 วิธี ในการลงสติปัฏฐาน)

    ยกตัวอย่าง แม้ในหมวด
    อิริยาปถบรรพ แปลง่ายๆ วิธี การฝึก ด้วยอิริยาบท กายที่เคลื่อนไหว

    ก็สามารถ บรรลุธรรมได้ ดังที่กล่าวไว้ ในตอนท้าย ของ หมวดอิริยาบท







    ยกอีกตัวอย่าง
    ดูบริบทที่หลวงตามหาบัวกล่าว

    ..........................................

    พิจารณาจิต ตามปริยัติท่านกล่าวไว้นั้น
    บรรดาท่านผู้ฟังทั้งหลายก็พอเข้าใจแล้ว

    กระแสของใจเรามีความเกี่ยวข้องกระดิกพลิกแพลงไปในอารมณ์อันใด
    คอยสังเกตความเคลื่อนไหวของใจอยู่เสมอ นี่เรียกว่าพิจารณาจิต
    คือ พิจารณาในขณะเดียวกันนั่นเอง

    เวลานั่งหรือเวลายืนเวลาทำความเพียรอยู่นั้นเอง
    ในกาลในสมัยเดียวนั้นเอง
    สามารถที่จะพิจารณาสติปัฏฐานทั้งสี่นี้ไปพร้อม ๆ กันได้

    เพราะอาการทั้งสี่นี้เป็นสิ่งที่ปรากฏขึ้นสับสนปนเปกันอยู่ตลอดเวลา
    ไม่ได้มีการกำหนดว่า
    กายจะต้องปรากฏขึ้นก่อน
    แล้ว เวทนาเป็นที่สอง
    จิตเป็นที่สามธรรมเป็นที่สี่

    ไม่ใช่อย่างนั้น

    เป็นสิ่งที่สัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน
    อยู่ทั่วสรรพางค์ร่างกาย
    และจิตใจของเราล้วนแล้วตั้งแต่เป็นเรื่องของสติปัฏฐาน ๔ ทั้งนั้น

    การที่เราจะพิจารณาในส่วนสภาวะทั้งหลาย
    ที่ปรากฏขึ้นมาสัมผัสกับใจของเราส่วนใดนั้นเป็นเรื่องถูกต้อง

    อ่านต่อที่นี่ https://palungjit.org/threads/พิจารณาจิต-หลวงตามหาบัว-ญาณสัมปันโน.495882/
    .............................................................................


    ความเห็นส่วนตัว
    หลวงตามหาบัวท่านกล่าว ลงกับพระสูตร ไม่มีข้อแตกต่าง

    ฉะนั้น
    การเข้าใจผิด ทำให้ติดกระดุมเม็ดแรกผิด
     

แชร์หน้านี้

Loading...