สัมผัสที่ 6 คือ อภิญญา หรือจิตหลอน

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย saratee, 23 สิงหาคม 2005.

  1. saratee

    saratee สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    28
    ค่าพลัง:
    +22
    การที่ฉันตั้งกระทู้นี้ขึ้นมา เพราะมาจากกระทู้ล่าสุดที่ชื่อว่า ความแตกต่งระหว่างอัจฉริยะ กับคน บ้า จริง ๆ แล้ว ควรจะชื่อว่า "สัมผัสที่ 6 คือจิตหลอน หรืออภิญญา " เพราะนี่คือสิ่งที่คนในสังคมส่วนมาก กำลังคิดกัน ฉันไม่มีเจตนาที่จะกล่าวกระทบกับความเชื่อของใคร เป็นเพียงข้อสังเกตุที่เกิดขึ้น หลังจากการอ่านพิจารณาความเป็นไปของตัวฉัน ของเพื่อน ๆ ในเวบนี้ หลายคน ฉันรู้ว่า คนใดก็ตามที่มีลางสังหรณ์ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด ไม่มีใครตอบ หรอกว่า ไม่รู้สึกอะไร เพราะลางสังหรณ์ มันคือความรู้สึกแวบแรกที่ผิดธรรมดา หรือจะเรียกว่าพิเศษในความคิดของใครหลายคน เพียงแต่เมื่อเกิดแล้ว จะเก็บมาคิด พิจารณา หรือเปล่า หรือคิดมาก คิดน้อยแค่ไหน ผู้ที่ตอบว่า ไม่รู้สึกอะไร เฉย ๆ มี 2 อย่าง คือ พวกแรก โกหก กับพวกที่สอง ไม่เชื่อมั่นตนเอง ฉันเกิดมาพร้อมกับสิ่งนี้ เพียง แต่ว่า ฉันผ่านระยะเวลาในการฝึกฝน พัฒนา ความคิดต่อสิ่งนี้ จนกระทั่ง ตอนนี้ ฉันพบวิธีที่ควรปฎิบัติกับสิ่งนี้ให้ดีขึ้น ให้ไม่มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน โดยที่ฉันไม่แคร์คำพูดของใคร เพราะฉันเชื่อว่า ถ้าเราหมั่นพิจารณาจิตตัวเองให้ถ่องแท้ ด้วยสติในทางสายกลาง เราจะจัดการกับมันได้ดี
     
  2. Wisdom

    Wisdom ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    1,669
    กระทู้เรื่องเด่น:
    11
    ค่าพลัง:
    +26,542
    ขอโทษจริงๆนะครับแต่ไม่ทราบว่าจะสื่ออะไรครับ
     
  3. LadyTuk

    LadyTuk สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +7
    น่าน..นะสิ.คะ.ยังงงๆอยู่..ไม่ค่อยเข้าใจความหมายของคุณที่ต้องการจะสื่อ..
     
  4. รัตนะจักร

    รัตนะจักร Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    27
    ค่าพลัง:
    +36
    ผมก็ถามตัวเองเหมือนกัน ว่าเราฟุ้งซ่าน ปรุงแต่ง จิตหลอนหรือเปล่า

    ผมใช้วิธี

    1) เช็คดูกับสหธรรมิกที่ไว้ใจได้ ว่ารับรู้ตรงกันหรือไม่
    2) อธิษฐานกับพระ และครูบาอาจารย์ ถ้าสิ่งใดเป็นจริง ขอให้มีรูปธรรมที่สัมผัสได้
    มายืนยันภายในเวลาอันใกล้

    ..........โดยเฉพาะข้อ 2 นี้ ทำให้เรามั่นใจมาก เพราะ มีปรากฏการณ์มีให้เห็นจริงๆ
    ด้วยสัมผัสธรรมดาทางหู ตา จมูก กายสัมผัส

    เป็นคำถามที่ดีครับ
     
  5. 4597

    4597 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    26
    ค่าพลัง:
    +69
    I think so. It is a good question. We should make them clearly. I understand whatever he or she said. Dont think too much, anyway.
     
  6. นายตถาตา

    นายตถาตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 มกราคม 2010
    โพสต์:
    830
    ค่าพลัง:
    +705
    ตกลงคืออะไรครับ หาคนสรุปหน่อย
     
  7. อศูนย์น้อย

    อศูนย์น้อย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    458
    ค่าพลัง:
    +495
    ผมว่า เจ้าของกระทู้
    คงจะอยากถามว่า สัมผัดที่ 6
    ไช่อพิญญาหรือเปล่า
     
  8. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,903
    ค่าพลัง:
    +7,316
    ความเห็นส่วนตัวนะ
    สัมผัสที่ 6 คือ อภิญญา หรือจิตหลอน
    มันแตกต่างกันโดยวัดกันที่ถ้าเข้าขั้นอภิญญาจะไม่มีอุปทาน(ไม่ถูกกิเลสครอบงำก็เห็น
    ความจริง) ดับนิวรณ์ได้ อุปทานก็ไม่เกิด ก็เห็นตามจริง รู้ชัดด้วยปัญญารู้ ไม่ได้รู้เพราะ
    คิดไปเอง แบบว่าคิดก็รู้ว่าคิด รู้ด้วยปัญญารู้ก็รู้ชัดว่ารู้ด้วยปัญญา มีสติรู้ตัวตลอดรู้ว่าจริง
    รู้ว่าไม่จริง รู้ว่าเป็นอดีต รู้ว่าเป็นปัจจุบัน รู้ว่าเป็นอนาคต รู้ผลกระทบ รู้เหตุรู้ผล รู้ดีรู้ชั่ว
    รู้ว่าควร รู้ว่าไม่ควร

    ส่วนจิตหลอนคือมีอุปทานถูกครอบงำด้วยกิเลสตัณหาความคิดมันพาไปหลอนตัวเอง
    เกิดจากการขาดสติ ขาดความรู้สึกตัว เป็นความหลง ความไม่รู้ เป็นมิจฉาทิฏฐิพาไป
    เกิดเป็นอาการวิปัสนูกิเลส หรือเป็นความคิดมันเกิดฟุ้งซ่านเสียจริตคิดเป็นตุเป็นตะ
    ฝันเฟื่องเป็นไปเองแล้วก็หลงในทิฏฐินั้น หลงในความฝันของตนเองคิดว่าเป็นจริงเป็นจัง
    ก็เห็นความจริงมั่งความเท็จมั่ง แยกแยะความจริงและความไม่จริงไม่ได้ มีฟลุคถูก
    มีผิดพลาดไม่แน่ไม่นอน หรือถูกครึ่งเดียว เฉี่ยวไปเฉี่ยวมา อยู่ที่ปริมาณของกิเลสของคน
    นั้น กิเลสมากก็หลอนมาก อุปทานก็มาก กิเลสน้อยก็หลอนน้อยอุปทานก็น้อย ที่น่ากลัวคือ
    บางทีมันถูกครึ่งหนึ่งก็คิดว่ามันถูกก็เลยยิ่งพาหลงหนักไปใหญ่ ถ้าผิดไปเลยยังรู้ตัวได้ก็กลับ
    ตัว เอะใจได้ทัน คนที่ถลำหลงทางเป็นอาการหนักมากๆส่วนใหญ่จะฟลุคคิดถูกแล้วหลงว่า
    เป็นปัญญารู้แจ้งพาเพี้ยนหนักไปเลย หลงป่าอยู่กับอวิชชาพาไม่รู้ ใครเตือนก็ไม่ฟังเหมือน
    อดีตของพระเทวทัตที่ปฏิบัติจนได้อภิญญา5 แต่ไม่ได้อภิญญา6ไม่ได้ถอนรากกิเลสออก
    จากใจ ตอนที่ยังไม่ได้ถูกกิเลสครอบงำก็มีฤทธิ์มีอภิญญาทำได้จริงเห็นความจริง แต่พอ
    ถูกความอิจฉาริษยาครอบงำจิตใจ อภิญญา5ที่เคยทำได้ก็หายหมด เสื่อมหมด เหลือแต่
    อาการจิตหลอน ถ้าเข้าใจกิเลสของตัวเองและรู้เท่าทันกิเลสของตัวเองวันไหนก็รู้เองได้
    เมื่อนั้น ถ้าไม่รู้ก็ไม่รู้ต่อไป บอกกันไม่ได้ ต้องรู้เองเห็นเอง ถ้าเห็นตัวเองยังมีโลภ โกรธ
    หลง อิจฉาริษยา ปฏิฆะ หงุดหงิด รำคาญใจ อาฆาตพยาบาท ยังฟู ยังฟื้น ยังเกิดมีเกิด
    เป็นอยู่ ก็อย่าเพิ่งไว้ใจตัวเอง เพราะจะเกิดอาการจิตหลอนได้ตลอดเวลา เผลอตัวขาด
    สติก็เกิดเป็นจิตหลอนเมื่อนั้น มีสติรู้ตัวก็ตัดตอนพ้นจากอาการจิตหลอนได้เป็นคราวๆ
    อาการฝันส่วนใหญ่ก็เป็นอาการของคนขาดสติ เป็นมายาของจิตมันหลอน ฝันแบบมีสติ
    ก็คือหลอนแบบมีสติถ้าขาดสัมปชัญญะก็เข้าข่ายวิปัสนูกิเลสได้ง่ายๆและอันตรายเพราะ
    คิดว่ามันเป็นความจริงซ้อนความฝัน คิดว่ามีสติแต่ขาดความเข้าใจเรื่องสติของความ
    จริงแบบปรมัติถ์ที่เป็นสติสัมปชัญญะ มีสติแต่ไม่ใช่สติในทางธรรมแบบสติปัฏฐาน4


    คนที่กิเลสเบาบาง จิตใจบริสุทธิ์ ไม่หวังผลดีและร้าย ไม่ติดใจลาภยศสรรเสริญ
    มีใจเป็นกลางไม่มีอคติ อุปทานน้อย ก็มีโอกาสจะเห็นความจริงได้มาก ทัศนะวิสัยเคลียร์
    ถ้าเปรียบไปก็คือมีจิตใจที่ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสมีธรรมชาติบริสุทธิ์ไร้มายาทางจิต

    ปุถุชนแบบเราๆเนี่ย กิเลสหนาเป็นกิโลเมตร อย่าเพิ่งไว้ใจตัวเองก็เป็นหนทางของคนที่ไม่
    ประมาท ระแวดระวังความคิดของตนบ้างก็เป็นการดี แต่ไม่ถึงกับต้องระแวงตัวเองนะ
    เดี๋ยวจะเครียดเกินพอดีอีก ถ้าอยู่กับปัจจุบัน อยู่กับความเป็นจริง ได้บ่อยๆ จิตมันก็จะเป็น
    ปกติขึ้นมาเอง แต่ถ้าชอบหลงคิดฟุ้งซ่านไม่อยู่กับปัจจุบันก็ให้รู้ว่าหลอนอยู่
    แบบว่า หลอนรู้ว่าหลอน จริงรู้ว่าจริง จะทำให้จิตใจเรารู้จักแยกแยะความจริง ความเท็จได้
    ปัญญารู้ก็จะเกิดขึ้นมาเอง รู้ว่าจริง รู้ว่าหลอน รู้ว่าฝัน รู้ว่าไม่ฝัน
     
  9. k.kwan

    k.kwan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    15,903
    ค่าพลัง:
    +7,316
    สัมผัสที่6 ก็เป็นเรื่องของฤทธิ์ทางใจ
    กิเลสในใจก็มีผลทำให้รู้ได้ตามจริง หรือกิเลสมันพาให้เห็นเป็นจริงมั่งเท็จมั่ง
     
  10. เต้าเจี้ยว

    เต้าเจี้ยว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 เมษายน 2008
    โพสต์:
    958
    ค่าพลัง:
    +1,699
    สัมผัสที่ 6 ก็คือทางจิต มากกว่าการผ่านการรับรู้ทาง ตาหูจมูกลิ้นกาย เฉยๆ

    ถ้าเป็นจิตที่ออกมากระทบผัสสะผ่านอายตนะทั้งห้า แล้วกิเลสมันมากมันก็กลายเป็นสัมผัสแล้วรู้ตามกิเลส ที่คิดว่าคนนั้นคนนี้เป็นอย่างนั้นอย่างนี้ เหตุการณ์อย่างนั้นอย่างนี้จะเกิด ก็พลอยไม่ถูกเสียที(แต่เขาเองอาจจะไม่รู้ตัว หรือาจจะรู้ช้า) แต่หากช่วงสงบจากกิเลสเอามาน้อมพิจารณาใหม่ ความคิดก็อาจเปลี่ยนไป

    แต่ถ้าคนมีปัญญาเขากำหนดรู้ผ่านสัญญาเดิมที่ไม่วิปลาสหรือวิปลาสน้อยกว่าคนมีกิเลสทั่วไป การรู้สึกหรือรับรู้ก็แม่นยำกว่าคนทั่วไปได้ในส่วนที่เขาเชี่ยวชาญ
    แต่ถ้าคนมีกำลังสมาธิมาก มันก็สามารถรับรู้ผ่านด่านกายหยาบไปอีก เข้าไปรู้เห็นอะไรได้มาก แต่จะตีความถูกผิดแค่ไหน ก็ต้องอาศัยปัญญาอีกเช่นกัน ถ้าถูกกิเลสเล่นงานก็อาจนำความสามารถไปปรุงอุปาทานได้

    http://palungjit.org/threads/สาระความรู้เรื่องพลังจิต.249458/
     
  11. เมทิกา

    เมทิกา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    953
    ค่าพลัง:
    +2,392
    เป็นไปได้ทั้งอภิญญา และการปรุงแต่งของจิต


    ขอเพียงระลึกรู้ได้ในทันท่วงทีที่มันเกิด แล้วมันจะเป็นอะไรก็แล้วแต่....มันก็จะดับ

    ^^ ธรรมรักษา่ค่ะ
     
  12. Mr.Boy_jakkrit

    Mr.Boy_jakkrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    2,065
    ค่าพลัง:
    +2,682

    ตกลงคือ เขาต้องการทราบความหมายและความแตกต่างระหว่าง สัมพัสที่ 6 และ อภิญญา เหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร
    ซึ่งก็มีผู้ตอบไปแล้วและง่ายต่อการเข้าใจในส่วนนี้

    และเขาก็กำลังสื่อว่า เขาก็มีสิ่งนี้เช่นกัน และยังรู้วิธีประครองรักษาและพัฒนาให้ดียิ่งๆขึ้น (ว่างั้นนะ)


    สรุปมุมมองของบุคคลทั่วไปคือ เขามีสิ่งวิเศษกว่าคนทั่วๆไปที่ติดตัวมา
    ส่วนในมุมมองของผู้ปฏิบัติก็อาจกล่าวได้ว่า เขายังมีตัวฉันของฉัน ซึ่งนั่นก็คือสิ่งที่เขาถืออยู่ แล้วภูมิใจอยู่นั้นทำให้อุปาทานขันธ์ทั้งหลายทั้งมวลนั้นเกิดขึ้นและยังยึดอยู่ต่อไปอีก รายละเอียดอื่นท่านข้างบนได้ตอบไปแล้ว

    เจิรญธรรม
     
  13. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    891
    ค่าพลัง:
    +3,882
    ท่านเจ้าของกระทู้ครับ
    ท่านเคยเห็นใครที่มีอภิญญาแล้วไม่ตายมั้ยครับ
    ผมเห็นสุดท้ายก็ตายทุกคน
    ก่อนจะตายเรามาตัดอาลัย ตัดเอาสิ่งไม่เป็นสาระออกๆไปบ้างดีมะครับ
    สมเด็จโตท่านเคยพูดว่า
    "เวลาขรัวโตดีก็หาว่าขรัวโตบ้า เวลาขรัวโตบ้าก็หาว่าขรัวโตดี"
    ผมเข้าใจตามปัญญาที่มีของผมว่า
    ท่านคงหมายถึง ตอนที่ท่านยังถูกโลกธรรม8เล่นงานอยู่ได้นั้น คนทั่วไปก็ว่าท่านเป็นพระดีน่าเลื่อมใส แต่ตอนที่ท่านตัดอาลัยได้และไม่ถูกโลกธรรม8เล่นงานได้แล้วนั้น คนทั่วไปกลับหาว่าท่านเสียสติ
    ถ้าผมจะถูกคนประนามว่าเป็นคนเสียสติเพราะไม่อาลัยในโลก ผมว่าคุ้มนะ
    แต่ถ้าใครก็ตามที่มีสัมผัสพิเศษทางจิตที่ได้มาแต่กำเนิดจะถูกคนหาว่าสัมผัสที่6ของท่านเป็นอาการจิตหลอนแล้วท่านเกิดความทุกข์จากนินทานั้น มันไม่คุ้มครับ
    มาต่อยอดด้วยการฝึกฝนต่อให้จิตมีกำลังด้วยหลักโพชฌงค์7จะดีกว่ามั้ยครับ
    โพชฌงค์ ๗

    <!-- /firstHeading --><!-- bodyContent --><!-- tagline -->จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- /jumpto --><!-- bodytext --><TABLE style="BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center; BORDER-LEFT: #060 1px solid; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; FLOAT: right; BORDER-TOP: #060 1px solid; BORDER-RIGHT: #060 1px solid" id=WSerie_Buddhism class=toccolours cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา

    [​IMG] สถานีย่อย
    <HR>[​IMG]
    ประวัติพุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>จุดมุ่งหมาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>นิพพาน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ไตรรัตน์</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>หลักธรรมที่น่าสนใจ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ไตรลักษณ์
    อริยสัจ ๔ · มรรค ๘ · อิทัปปัจจยตา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>การจาริกแสวงบุญ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา</TD></TR></TBODY></TABLE>โพชฌงค์ หรือ โพชฌงค์ 7 คือธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้ หรือองค์ของผู้ตรัสรู้ มีเจ็ดอย่างคือ
    1. สติ (สติสัมโพชฌงค์) ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง
    2. ธัมมวิจยะ (ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์) ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม
    3. วิริยะ (วิริยสัมโพชฌงค์) ความเพียร
    4. ปีติ (ปีติสัมโพชฌงค์) ความอิ่มใจ
    5. ปัสสัทธิ (ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์) ความสงบกายใจ
    6. สมาธิ (สมาธิสัมโพชฌงค์) ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์
    7. อุเบกขา (อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง
    โพชฌงค์ 7 เป็นหลักธรรมส่วนหนึ่งของ โพธิปักขิยธรรม 37 (ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ เกื้อหนุนแก่อริยมรรค อันได้แก่ สติปัฏฐาน4 สัมมัปปธาน4 อิทธิบาท4 อินทรีย์5 พละ5 โพชฌงค์7 และมรรคมีองค์ 8)
    [แก้] ธรรมะที่เกี่ยวข้อง

    <TABLE style="BORDER-BOTTOM: #cccccc 1px dotted; BORDER-LEFT: #cccccc 1px dotted; WIDTH: auto; BORDER-COLLAPSE: collapse; BORDER-TOP: #cccccc 1px dotted; BORDER-RIGHT: #cccccc 1px dotted" border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD style="PADDING-BOTTOM: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=top width=20>[​IMG]</TD><TD>
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญสติปัฏฐาน 4 ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน 4 แล้ว ทำให้มากแล้วย่อมบำเพ็ญโพชฌงค์ 7 ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ 7 แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ฯ
    </TD><TD style="PADDING-BOTTOM: 10px; PADDING-LEFT: 10px; PADDING-RIGHT: 10px; PADDING-TOP: 10px" vAlign=bottom width=20>[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: right; PADDING-BOTTOM: 5px; PADDING-RIGHT: 2em; FONT-SIZE: 90%" vAlign=top colSpan=3>— อานาปานสติสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  14. มีแปปเดียว

    มีแปปเดียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2010
    โพสต์:
    891
    ค่าพลัง:
    +3,882
    มีของเก่าดีอยู่แล้วมาต่อยอดกันเถอะครับ อย่างช้าไม่เกิน7ชาติเท่านั้นหากละสังโยชน์3ได้
    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
    <!-- /tagline --><!-- subtitle -->
    <!-- /subtitle --><!-- jumpto -->ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- /jumpto --><!-- bodytext --><TABLE style="BORDER-BOTTOM: #060 1px solid; TEXT-ALIGN: center; BORDER-LEFT: #060 1px solid; MARGIN: 0px 0px 1em 1em; FLOAT: right; BORDER-TOP: #060 1px solid; BORDER-RIGHT: #060 1px solid" id=WSerie_Buddhism class=toccolours cellSpacing=0 cellPadding=1 width=170><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 100%" colSpan=2><SMALL>ส่วนหนึ่งของ</SMALL>
    พุทธศาสนา

    [​IMG] สถานีย่อย
    <HR>[​IMG]
    ประวัติพุทธศาสนา
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ศาสดา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระโคตมพุทธเจ้า
    (พระพุทธเจ้า)
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>จุดมุ่งหมาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>นิพพาน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ไตรรัตน์</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระพุทธ · พระธรรม · พระสงฆ์
    </TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ความเชื่อและการปฏิบัติ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศีล (ศีลห้า) · ธรรม (เบญจธรรม)
    สมถะ · วิปัสสนา
    บทสวดมนต์และพระคาถา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>คัมภีร์และหนังสือ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>พระไตรปิฎก
    พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>หลักธรรมที่น่าสนใจ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ไตรลักษณ์
    อริยสัจ ๔ · มรรค ๘ · อิทัปปัจจยตา</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>นิกาย</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>สังคมพุทธศาสนา</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>การจาริกแสวงบุญ</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%">พุทธสังเวชนียสถาน ·
    การแสวงบุญในพุทธภูมิ</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND-COLOR: #8a9e49; COLOR: #ffffff; FONT-SIZE: 95%" colSpan=2>ดูเพิ่มเติม</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 90%" colSpan=2>ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา
    หมวดหมู่พุทธศาสนา</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สังโยชน์ คือ กิเลสที่ผูกมัดใจสัตว์, ธรรมที่มัดสัตว์ไว้กับทุกข์ หรือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ มี 10 อย่าง คือ
    • ก. โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 ได้แก่
      • 1. สักกายทิฏฐิ - มีความเห็นว่าร่างกายนี้เป็นของเรา มีความยึดมั่นถือมั่นในระดับหนึ่ง
      • 2. วิจิกิจฉา - มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
      • 3. สีลัพพตปรามาส - ความถือมั่นศีลพรต โดยสักว่าทำตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ์หลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและวัตร หรือนำศีลและพรตไปใช้เพื่อเหตุผลอื่น ไม่ใช่เพื่อเป็นปัจจัยแก่การสิ้นกิเลส เช่นการถือศีลเพื่อเอาไว้ข่มไว้ด่าคนอื่น การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็นต้น ซึ่งรวมถึงการหมดความเชื่อถือในพิธีกรรมที่งมงายด้วย
      • 4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณ
      • 5. ปฏิฆะ - มีความกระทบกระทั่งในใจ
    • ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 ได้แก่
      • 6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุหรือรูปฌาน
      • 7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทั้งหลาย
      • 8. มานะ - มีความยึดมั่นถือมั่นในตัวตนหรือคุณสมบัติของตน
      • 9. อุทธัจจะ - มีความฟุ้งซ่าน
      • 10. อวิชชา - มีความไม่รู้จริง
    พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อต้นได้คือ หมดสักกายทิฏฐิ,วิจิกิจฉาและสีลัพพตปรามาส
    พระสกทาคามี ทำสังโยชน์ข้อ 4 และ 5 คือ กามราคะและปฏิฆะ ให้เบาบางลงด้วย
    พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อต้นได้หมด
    พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทั้ง 10 ข้อ
    น่าสนใจนะครับ
     
  15. ooghost

    ooghost เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มกราคม 2010
    โพสต์:
    195
    ค่าพลัง:
    +119
    งงครับ...............
     

แชร์หน้านี้

Loading...