มีใครปรารถนาให้สัตว์นรกหมดจากโลกนี้ก่อนค่อยเข้านิพพานเหมือนท่านกษิติครรภ์ไหมผมคนหนึ่ง

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย lotte, 3 พฤศจิกายน 2005.

  1. lotte

    lotte เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    726
    ค่าพลัง:
    +4,545
    มีใครปรารถนาให้สัตว์นรกหมดจากโลกนี้ก่อนค่อยเข้านิพพานเหมือนท่านกษิติครรภ์ไหมผมคนหนึ

    ผมปรารถนาให้สัตว์นรกหมดไปจากโลกนี้ก่อนถึงเข้านิพพานตามเจตนารมย์ของท่านกษิตรรภ์โพธิสัตว์คนทั้งโลกตายไปไม่มีวันตกนรกนานถึง 10 อสงไขย 1 อสงไขยมีเลขศูนย์เป็นสิบๆล้านตัว นับจากพระศรีอาริย์ไปอีก 10 อสงไขยไม่มีคนตกนรกครับเพราะหลังพระศรีอาริย์พระอนาคตวงษ์10องค์ เป็นศรัทธา วิริยะธิกะทั้งนั้นสมัยท่านมีอายุหลายหมื่นปี คนมีศีลธรรมหมด แล้วปีนี้ถึงปี 1000000 กว่าๆก็มีป้ายพุทธสุภาษิตติดตามวัดทั่วทั้งเอเชีย ทั่วทุกโรงเรียนเอเชีย ยุโรป ทั่วทุกโบสถ์คริส มุสลิม มีป้ายพุทธสุภาษิตใจความเวลาทำบุญให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยานในการทำบุญของท่าน ก็สำเร็จครับเพราะเรือนจำทุกประเทศเขามีป้ายแบบนี้และให้นักเรียน นักโทษ เกือบทั่วโลกมีการปฏิญาณตนว่าจะเป็นคนมีศีลธรรม และให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน คำว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยานศาสนาคริสเขาหมายถึงพระเยซู ผมก็บอกให้พระเยซูเขาเป็นพยานให้ รับรองเขาไม่มีทางรู้หรอกครับว่าศาสนาพุทธผมเสนอเขาไปเพราะผมบอกให้พระเยซูเขาเป็นพยาน อย่างในประเทศไทยส่งหาผู้นำเกือบ 200 ท่านให้ท่านช่วยเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยานแก่เด็กนักเรียน พระ นักโทษ ปรากฏว่าสำเร็จ90 เปอร์เซ็นครับ อีก10 เปอร์เซ็นต์เขาไม่คิดอะไร เขามั่นใจว่าตายไปเขาดับจิตดีก็ไปสวรรค์ก่อน แต่มันไม่แน่ครับ จิตดับก่อนตายคิดถึงลูกเมีย พ่อแม่ เผอิญญาติเราไม่มีศีลห้า เราตายไปจิดตับคิดถึงท่านพอดีก็เป็นผี แต่ห่วงสมบัติก็เป็นเปรต จิตดับก่อนตายคิดถึงบาปก่อนก็ตกนรกทันที ทั้งหมดนี้ช่วยได้ โดยให้สิ่งศักดสิทธิืหรือลุงพุฒิท่านเป็นพยานจะได้ไม่ต้องดิ่งตกนรกทันทีแต่ได้ผ่านสำนักพญายมราชเสียก่อนเพื่อตอบบุญ ตอบบุญได้ว่าทำอะไรเช่นไหว้พ่อแม่ก็ไปสวรรค์ เลย สมัยแต่ก่อนพระพุทธเจ้าสองแสนล้านพระองค์มักนิยมให้พระแม่ธรณีเป็นพยานบุญในสมัยท่านเป็นพระโพธิสัตว์บางองค์ฆ่าคนโดยเจตนาไว้เยอะแต่ท่านเซฟไว้แบบนี้แหละครับเลยรอดกันมาหลายพระองค์ครับ ท่านใดปรารถนาให้สัตว์นรกหมดก่อนภายใน 10 อสงไขยก็ปรารถนาได้นะครับ ช่วยกันเทศ แผ่เมตตา นั่งสมาธิให้สัตว์นรก ขอบารมีพระพุทธองค์สองแสนล้านพระองค์ให้ท่านแผ่เมตตาให้รับรองสัตว์นรกเลือนขุม เลื่อนเป็นเปรต อสูรกาย ผี คน เทวดาแน่นอน ครับโมทนาสาธุครับ
    __________________(bb-flower
     
  2. kasin84000

    kasin84000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2004
    โพสต์:
    175
    ค่าพลัง:
    +997
    โมทนาครับคุณ lotte
    ที่จะอยู่ช่วยสัตว์นรกตลอดไป ไม่ยอมเข้าพระนิพพาน
    [b-wai]
     
  3. xlmen

    xlmen เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,428
    ค่าพลัง:
    +3,291
    อยู่บนโลกยังจูงใจคนให้ละบาปไม่ได้คิดยังงัยจะไปจูงใจคนที่เต็มไปด้วยบาปให้ละบาปหละครับ มันผิดวิสัยที่ควรจะเป็นนะครับ ถ้าคิดจะปิดนรกจริงคุณไม่ต้องรอให้เขาตกนรกหรอก ไปโปรดเขาเหล่านั้นแต่บัดนี้เลยทำได้ไหม
    และการช่วยเหลือสัตว์นรกให้พ้นนรกนั้นคนที่ยังมีวิชชาไม่แก่กล้าไม่ควรพูดเลยด้วยซ้ำไปครับ เสียดายเวลาเปล่า ๆ หากตนเองยังเหาะไปในอากาศไม่ได้ แล้วจะพาสัตว์ในอบายเหาะได้ยังงัย อจิณไตยครับ
     
  4. stupidcupid

    stupidcupid สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    25
    ค่าพลัง:
    +23
    เล่าสู่กันฟังนะคะ ยอมรับค่ะว่า เคยปรารถนาเหมือนกัน ตอนนั้นพยายามหาทางทุกวิธี ไปศึกษาถึงขั้นจะหาทางช่วยให้คนบรรลุโสดาบันให้ได้ เพื่อจะได้รอดพ้นจากอบายภูมิ เพราะเคยได้ยินมาว่าเมื่อบรรลุโสดาบันแล้ว จะได้ตัดอบายภูมิอย่างถาวร แต่แล้วเมื่อได้ลองนับจำนวนยุง มด ไข่ยุง ลูกน้ำ หนอน พยาธิต่างๆแล้ว แค่ในบ้านเท่านั้น ก็นับไม่ไหว นับไม่หมด แล้วก็งง นับผิด นับถูก "แมลงตัวนั้น ตัวนี้ มีเยอะมากมาย ดูไปก็คล้ายๆ กันทุกตัว" แล้วก็เริ่มปลงค่ะ ดูขนาดพระพุทธเจ้าก็ยังไม่สามารถจะทำให้สัตว์โลกหลุดพ้นจากนรกได้ทั้งหมด รวมทั้งบางมนุษย์ที่เราเห็นอยู่ในปัจจุบัน (ฆ่าพระสงฆ์ขณะกำลังบิณฑบาต ฆ่าบิดา ฆ่ามารดา ฆ่าข่มขืน เผาโรงเรียนเด็ก ค้ามนุษย์อื่น มอมเมาเด็ก(cry) ) ไม่มีทางบรรลุได้ในชาตินี้แน่ๆ แล้วไม่รู้ต้องบำเพ็ญอีกเท่าไหร่ ถึงจะบรรลุ

    ยอมรับตามกฎของธรรมชาติว่าสัตว์โลกต่างๆเมื่อมันได้บำเพ็ญบารมี อย่างเต็มที่ของมัน จนจิตใจมันดีขึ้น มันย่อมจะได้รับผลดีไปเอง
     
  5. lotte

    lotte เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    726
    ค่าพลัง:
    +4,545
    ผมก็เล่นอธิษฐานฤทธิ์เอาครับเข้าฌานสี่อาราธนาบารมีคุณพระพุทธองค์ ธรรมมานุภาพ สังฆานุภาพ และบุญที่เคยทำมาแสนล้านอสงไขย แล้วก็คุยนะครับกับพระอรหันต์ให้ท่านประชุมอรหันต์กันทั้งหมดทั้งพระพุทธเจ้าแผ่เมตตาให้สัตว์นรก ปรากฏว่าท่านก็ทำให้ปรากฏว่าสัตว์นรกเลื่อนขุม เลื่อนเป็นเปรต อสูรกาย แล้วมาเป็นผี มากเป็นพันล้านเลยครับ ขนาดเทพมิจฉาทิฐฐิผมก็อธิษฐานฤทธิ์เล่นบทสวดมนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอธิษฐานให้เขามาเกิดในประเทศที่มีพุทธศาสนา เขาก็มากันเยอะครับ เทพที่ไม่กราบไหว้พระพุทธองค์มีพันล้านกว่าๆครับ เคยไปประชุมเทวสภากับเขาอยู่ครับเฉพาะวันสำคัญทางพุทธศาสนาก็เสนอให้พระพุทธองค์ท่านแผ่ฉัพพรรณรังสีไปถึงโลกันแนะครับ ก็ช่วยๆกันสวดมนต์และอธิษฐานฤทธิ์ได้ตามบทดังต่อไปนี้ครับ
    คำอุทิศส่วนกุศลของหลวงพ่อฤาษีและวิธีอธิษฐานฤทธิ์จะอธิษฐานให้โลกสงบก็สำเร็จถ้าสวดมนต์ดังต่อไปนี้ครับ
    ตอบคำถามเพิ่ม คลิกที่นี่

    คำอุทิศส่วนกุศล
    โดย พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ)
    วัดจันทาราม(ท่าซุง) อ.เมือง จ.อุทัยธานี


    อิทัง ปุญญะผะลัง ผลบุญใด ที่ข้าพเจ้าทั้งหลายได้บำเพ็ญแล้ว ณ โอกาสนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลายขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย ที่เคยล่วงเกินมาแล้ว แต่ชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ขอเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย จงโมทนาส่วนกุศลนี้ ขอจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าตั้งแต่วันนี้ ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน
    และข้าพเจ้าทั้งหลาย ขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่เทพเจ้าทั้งหลาย ที่ปกปักรักษาข้าพเจ้า และเทพเจ้าทั้งหลายทั่วสากลพิภพ และพระยายมราช ขอเทพเจ้าทั้งหลาย และพระยายมราช จงโมทนาส่วนกุศลนี้ ขอจงเป็นสักขีพยานในการบำเพ็ญกุศล ของข้าพเจ้าในครั้งนี้ด้วยเถิด
    และขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่ท่านทั้งหลาย ที่ล่วงลับไปแล้ว ที่เสวยความสุขอยู่ก็ดี เสวยความทุกข์อยู่ก็ดี เป็นญาติก็ดี มิใช่ญาติก็ดี ขอท่านทั้งหลาย จงโมทนาส่วนกุศลนี้ พึงได้รับประโยชน์ ความสุข เช่นเดียวกับข้าพเจ้าจะพึงได้รับ ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด
    ผลบุญใดที่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้บำเพ็ญมาแล้ว ณ โอกาสนี้ ขอผลบุญนี้จงเป็นปัจจัย ให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้เข้าถึงซึ่งพระนิพพาน ในชาติปัจจุบันนี้เถิด

    --------------------------------------------------------------------------------
    บทพาหุงฯ

    ชัยชนะของพระพุทธเจ้าอันเป็นมงคล


    ตั้งนะโม ๓ จบ


    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบมือ ขี่ช้างครีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึ่งโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี เป็นต้น,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    อนึ่งพระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผู้มีจิตหยาบกระด้าง ผู้ไม่มีความอดทน มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึ่งได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิ่งยวดจนตลอดคืนยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี คือ ขันติ ความอดทน,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐ ชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุร้าย ประดุจไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยน้ำ คือ ความมีพระทัยเมตตา,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    อุกขิตตะขัคคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิมาล ผู้แสนจะดุร้าย มีฝีมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะคำกล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึ่งทำอาการเหมือนดั่งตั้งครรภ์ เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือ ความกระทำพระทัยให้ตั้งมั่นนิ่งเฉย ในท่ามกลางหมู่ชน,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่าง คือ ปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผู้มีความคิดมุ่งหมายในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคำของตนให้สูงประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการแสดงเทศนาให้ถูกใจ,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธีนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราช ชื่อ นันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีบอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็นนาคราช ไปทรมานพญานาค ชื่อ นันโทปนันทะ นั้น,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทะพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวผกาพรหม ผู้มีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็นผู้รุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจิตคิดถือเอาความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยา คือ ทรงแสดงเทศนาให้ถูกใจ,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ
    บุคคลใดมีปัญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาเหล่านี้ทุกๆ วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทั้งหลายทุกอย่างเสียได้ และเข้าถึงความหลุดพ้น คือ พระนิพพานอันบรมสุข นั้นแลฯ


    บทสวดทำนองสรภัญญะ


    (นำ) ปางเมื่อ พระองค์ประมะพุท (รับพร้อมกัน) ธะวิสุทธศาสดา
    ตรัสรู้อนุตระสะมา- ธิ ณ โพธิบัลลังก์
    ขุนมารสหัสสะพหุพา- หุวิชาวิชิตขลัง
    ขี่คีรีเมขะละประทัง คชะเหี้ยมกระเหิมหาญ
    แสร้งเสกสราวุธะประดิษฐ์ กละคิดจะรอนราญ
    รุมพลพหลพยุหปาน พระสมุทรทะนองมา
    หวังเพื่อผจญวะระมุนิน- ทะสุชินะราชา
    พระปราบพหลหยุหะมา- ระเมลืองมลายสูญ
    ด้วยเดชะองค์พระทศพล สุวิมลไพบูลย์
    ทานาทิธรรมะวิธิกูล ชนะน้อมมโนตาม
    ด้วยเดชะสัจจะวะจะนา และนมามิองค์สาม
    ขอจงนิกรพละสยาม ชยะสิทธิทุกวาร
    ถึงแม้จะมีอริวิเศษ พละเดชะเทียมมาร
    ขอไทยผจญพิจิตะผลาญ อริแม้นมุนินทร (กราบ)



    อ้างอิง

    สวดมนต์แปล วัดจันทาราม (วัดท่าซุง) อ.เมือง จ.อุทัยธานี, 2535.
    ประเพณี พิธีมงคล และวันสำคัญของไทย. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, 2539.


    รวมคาถาต่างๆ


    คาถาภาวนาก่อนขับรถ

    เมตตัน จะ สัพพะโร กัสมิง มานะ สัมภาวะเย อัปปะริมานัง



    คาถามงกุฏพระพุทธเจ้า

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ, อิเมนา พุทธะตังโสอิ, อิโสตัง พุทธะปิติอิ


    คาถาพระพุทธเจ้าหลวง, พระปิยะมหาราช

    แบบสั้น
    ตั้งนะโม ๓ จบ

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะ ปิติอิ
    (ปิยะมะมะ นะโมพุทธายะ ๓ จบ)


    แบบยาว
    ตั้งนะโม ๓ จบ

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะ ปิติอิ
    ปิโยเทวา มนุษย์สานัง
    ปิโยพรหมมา นะมุ ตะโม
    ปิโยนาคะ สุปันนานัง
    ปินินชะลิยัง นะมามิหัง
    พระสยามมินทร์โธ วะโร อิติพุทธะ สังมิ
    อิติอะระหัง สะหัสสะกายัง วะรังพุทโธ นะโมพุทธายะ มาสีสะมานัง
    (ปิยะมะมะ นะโมพุทธายะ ๓ จบ)


    --------------------------------------------------------------------------------

    บทสวดมนต์ มหาเมตตาบทใหญ่

    ต้นฉบับจากวันอัมพวัน

    เมตตาพรหมะวิหารภาวนา

    ตั้งนะโม ๓ จบ

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ

    เอวัมเม สุตังฯ สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะอาราเมฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธานยะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ

    กะตะเม เอกาทะสะ ฯ (๑) สุขัง สุปะติ (๒) สุขัง ฏิพุชณะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ (๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปฏิวิชฌันโต พรหมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะภิขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ

    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมมตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยา-ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตา-เจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพพา อิตถโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปุริสาา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ

    โอธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตา- เจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยา- ปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ ฯ

    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา อะปีฬะนายะ อุปะฆาตัง วัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตาตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ เจโต สัพพะพยาปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ เมตตาพรหมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา



    บทชะยะปะริตตัง


    * มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง,
    * เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
    * ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ,
    * สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง,
    * สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ,
    * ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
    * ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา,
    *ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
    * ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    * สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    * ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    * สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    * ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    * สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ

    คำแปล

    * พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ ทรงประกอบแล้วด้วยพระมหากรุณาบำเพ็ญบารมีทั้งหลายทั้งปวงให้เต็ม เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ถึงความตรัสรู้ชอบอันสูงสุด,
    * ด้วยการกล่าวคำสัตย์จริงนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด ฯ
    * ขอท่านจงมีชัยชนะในมงคลพิธี เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมารที่โคนต้นโพธิ์ แล้วถึงความเป็นผู้เลิศใจสรรพพุทธาภิเษก ทรงบันเทิงพระทัยอยู่บนบัลลังก์ที่มารไม่อาจจะผจญได้ เป็นจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความดีแก่เหล่าประยูรญาติศากยวงศ์ฉะนั้น เทอญ,
    * เวลาที่บุคคลและสัตว์ประพฤติดีประพฤติชอบ ชื่อว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งแจ้งดี,
    * และขณะดี ครู่ยามดี ชื่อว่าบูชาดีแล้วในผู้ประพฤติอย่างประเสริฐทั้งหลาย,
    * กายกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด วจีกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด,
    * มโนกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ความปรารถนาอันตั้งไว้เพื่อสิ่งอันเป็นมงคลสูงสุด,
    * บุคคลและสัตว์ทั้งหลาย ทำกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ย่อมได้ประโยชน์ ทั้งหลายอันเป็นมงคลสูงสุดแล ฯ
    * ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    * ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    * ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    * ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    * ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    * ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ




    --------------------------------------------------------------------------------

    คำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    | กสิณ ๑๐ | อุปกรณ์กสิณ, ขนาดดวงกสิณ, กิจก่อนการเพ่งกสิณ |
    | จิตเข้าสู่ระดับฌาน, ฌาน ๔, ฌาน ๕ | อานุภาพกสิณ ๑๐,วิธีอธิษฐานฤทธิ์ |


    อานุภาพกสิณ ๑๐

    กสิณ ๑๐ ประการนี้ เป็นปัจจัยให้แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ตามนัยที่กล่าวมาแล้วในฉฬภิญโญ เมื่อบำเพ็ญปฏิบัติใน กสิณกองใดกองหนึ่งสำเร็จถึงจตตุถฌานแล้ว ก็ควรฝึกตามอำนาจที่กสิณกองนั้นมีอยู่ให้ชำนาญ ถ้าท่านปฏิบัติถึงฌาน ๔ แล้ว แต่มิได้ฝึกอธิษฐานต่างๆ ตามแบบ ท่านว่าผู้นั้นยังไม่จัดว่าเป็นผู้เข้าฌานถึงกสิณ
    อำนาจฤทธิ์ในกสิณต่างๆ มีดังนี้

    ปฐวีกสิณ มีฤทธิ์ดังนี้ เช่น นิรมิตคนๆ เดียวให้เป็นคนมากได้ ให้คนมากเป็นคนๆ เดียวได้ ทำน้ำและอากาศให้แข็งได้
    อาโปกสิณ สามารถนิรมิตของแข็งให้อ่อนได้ เข่นอธิษฐานสถานที่เป็นดินหรือหรือหินที่กันดารน้ำให้เกิดบ่อน้ำ อธิษฐานหินดินเหล็กให้อ่อน อธิษฐานในสถานที่ฝนแล้วให้เกิดฝนอย่างนี้เป็นต้น
    เตโชกสิณ อธิษฐานให้เกิดเป็นเพลิงเผาผลาญหรือให้เกิดแสงสว่างได้ ทำแสงสว่างให้เกิดแก่จักษุญาณ สามารถเห็นภาพต่าง ๆ ในที่ไกลได้คล้ายตาทิพย์ ทำให้เกิดความร้อนในที่ทุกสถานได้
    วาโยกสิณ อธิษฐานจิตให้ตัวลอยตามลม หรืออธิษฐานให้ตัวเบา เหาะไปในอากาศก็ได้ สถานที่ใดไม่มีลมอธิษฐานให้มีลมได้
    นีลกสิณ สามารถทำให้เกิดสีเขียว หรือทำสถานที่สว่างให้มืดครึ้มได้
    ปีตกสิณ สามารถนิรมิตสีเหลืองหรือสีทองให้เกิดได้
    โลหิตกสิณ สามารถนิรมิตสีแดงให้เกิดได้ตามความประสงค์
    โอทากสิณ สามารถนิรมิตสีขาวให้ปรากฏ และทำให้เกิดแสงสว่างได้ เป็นกรรมฐาน ที่อำนวยประโยชน์ในทิพยจักขุญาณ เช่นเดียวกับเตโชกสิณ
    อาโลกสิณ นิรมิตรูปให้มีรัศมีสว่างไสวได้ ทำที่มืดให้เกิดแสงสว่างได้เป็นกรรมฐานสร้างทิพยจักขุญาณโดยตรง
    อากาสกสิณ สามารถอธิษฐานจิตให้เห็นของที่ปกปิดไว้ได้ เหมือนของนั้นวางอยู่ในที่แจ้ง สถานที่ใดเป็นอับด้วยอากาศ สามารถอธิษฐานให้เกิดความโปร่งมีอากาศสมบูรณ์เพียงพอแก่ความต้องการได้



    วิธีอธิษฐานฤทธิ์

    วิธีอธิษฐานจิตที่จะให้เกิดผลตามฤทธิ์ที่ต้องการท่านให้ทำดังต่อไปนี้ ท่านให้เข้าฌาน ๔ ก่อน
    แล้วออกจากฌาน ๔
    แล้วอธิษฐานจิตในสิ่งที่ตนต้องการจะให้เป็นอย่างนั้น
    แล้วกลับเขาฌาน ๔ อีก
    ออกจากฌาน ๔
    แล้วอธิษฐานจิตทับลงไปอีกครั้ง สิ่งที่ต้องการจะปรากฏสมความปรารถนา
    (จบกสิณ ๑๐ แต่เพียงเท่านี้)
     
  6. lotte

    lotte เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    726
    ค่าพลัง:
    +4,545
    ผมก็เล่นอธิษฐานฤทธิ์เอาครับเข้าฌานสี่อาราธนาบารมีคุณพระพุทธองค์ ธรรมมานุภาพ สังฆานุภาพ และบุญที่เคยทำมาแสนล้านอสงไขย แล้วก็คุยนะครับกับพระอรหันต์ให้ท่านประชุมอรหันต์กันทั้งหมดทั้งพระพุทธเจ้าแผ่เมตตาให้สัตว์นรก ปรากฏว่าท่านก็ทำให้ปรากฏว่าสัตว์นรกเลื่อนขุม เลื่อนเป็นเปรต อสูรกาย แล้วมาเป็นผี มากเป็นพันล้านเลยครับ ขนาดเทพมิจฉาทิฐฐิผมก็อธิษฐานฤทธิ์เล่นบทสวดมนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอธิษฐานให้เขามาเกิดในประเทศที่มีพุทธศาสนา เขาก็มากันเยอะครับ เทพที่ไม่กราบไหว้พระพุทธองค์มีพันล้านกว่าๆครับ เคยไปประชุมเทวสภากับเขาอยู่ครับเฉพาะวันสำคัญทางพุทธศาสนาก็เสนอให้พระพุทธองค์ท่านแผ่ฉัพพรรณรังสีไปถึงโลกันแนะครับ ก็ช่วยๆกันสวดมนต์และอธิษฐานฤทธิ์ได้ตามบทดังต่อไปนี้ครับ
    คำอุทิศส่วนกุศลของหลวงพ่อฤาษีและวิธีอธิษฐานฤทธิ์จะอธิษฐานให้โลกสงบก็สำเร็จถ้าสวดมนต์ดังต่อไปนี้ครับ
    ตอบคำถามเพิ่ม คลิกที่นี่

    คำอุทิศส่วนกุศล
    โดย พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ)
    วัดจันทาราม(ท่าซุง) อ.เมือง จ.อุทัยธานี


    อิทัง ปุญญะผะลัง ผลบุญใด ที่ข้าพเจ้าทั้งหลายได้บำเพ็ญแล้ว ณ โอกาสนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลายขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่เจ้ากรรมนายเวร ทั้งหลาย ที่เคยล่วงเกินมาแล้ว แต่ชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ขอเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย จงโมทนาส่วนกุศลนี้ ขอจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้าตั้งแต่วันนี้ ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน
    และข้าพเจ้าทั้งหลาย ขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่เทพเจ้าทั้งหลาย ที่ปกปักรักษาข้าพเจ้า และเทพเจ้าทั้งหลายทั่วสากลพิภพ และพระยายมราช ขอเทพเจ้าทั้งหลาย และพระยายมราช จงโมทนาส่วนกุศลนี้ ขอจงเป็นสักขีพยานในการบำเพ็ญกุศล ของข้าพเจ้าในครั้งนี้ด้วยเถิด
    และขออุทิศส่วนกุศลนี้ ให้แก่ท่านทั้งหลาย ที่ล่วงลับไปแล้ว ที่เสวยความสุขอยู่ก็ดี เสวยความทุกข์อยู่ก็ดี เป็นญาติก็ดี มิใช่ญาติก็ดี ขอท่านทั้งหลาย จงโมทนาส่วนกุศลนี้ พึงได้รับประโยชน์ ความสุข เช่นเดียวกับข้าพเจ้าจะพึงได้รับ ณ กาลบัดเดี๋ยวนี้เถิด
    ผลบุญใดที่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้บำเพ็ญมาแล้ว ณ โอกาสนี้ ขอผลบุญนี้จงเป็นปัจจัย ให้ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้เข้าถึงซึ่งพระนิพพาน ในชาติปัจจุบันนี้เถิด

    --------------------------------------------------------------------------------
    บทพาหุงฯ

    ชัยชนะของพระพุทธเจ้าอันเป็นมงคล


    ตั้งนะโม ๓ จบ


    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบมือ ขี่ช้างครีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึ่งโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี เป็นต้น,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    อนึ่งพระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผู้มีจิตหยาบกระด้าง ผู้ไม่มีความอดทน มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึ่งได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิ่งยวดจนตลอดคืนยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี คือ ขันติ ความอดทน,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐ ชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุร้าย ประดุจไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยน้ำ คือ ความมีพระทัยเมตตา,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    อุกขิตตะขัคคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงอิทธิฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิมาล ผู้แสนจะดุร้าย มีฝีมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฎฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะคำกล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึ่งทำอาการเหมือนดั่งตั้งครรภ์ เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือ ความกระทำพระทัยให้ตั้งมั่นนิ่งเฉย ในท่ามกลางหมู่ชน,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่าง คือ ปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผู้มีความคิดมุ่งหมายในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคำของตนให้สูงประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการแสดงเทศนาให้ถูกใจ,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธีนา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
    พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราช ชื่อ นันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิด มีฤทธิ์มาก ด้วยวิธีบอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็นนาคราช ไปทรมานพญานาค ชื่อ นันโทปนันทะ นั้น,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทะพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวผกาพรหม ผู้มีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็นผู้รุ่งเรืองด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจิตคิดถือเอาความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยา คือ ทรงแสดงเทศนาให้ถูกใจ,
    ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแด่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ

    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ
    บุคคลใดมีปัญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาเหล่านี้ทุกๆ วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทั้งหลายทุกอย่างเสียได้ และเข้าถึงความหลุดพ้น คือ พระนิพพานอันบรมสุข นั้นแลฯ


    บทสวดทำนองสรภัญญะ


    (นำ) ปางเมื่อ พระองค์ประมะพุท (รับพร้อมกัน) ธะวิสุทธศาสดา
    ตรัสรู้อนุตระสะมา- ธิ ณ โพธิบัลลังก์
    ขุนมารสหัสสะพหุพา- หุวิชาวิชิตขลัง
    ขี่คีรีเมขะละประทัง คชะเหี้ยมกระเหิมหาญ
    แสร้งเสกสราวุธะประดิษฐ์ กละคิดจะรอนราญ
    รุมพลพหลพยุหปาน พระสมุทรทะนองมา
    หวังเพื่อผจญวะระมุนิน- ทะสุชินะราชา
    พระปราบพหลหยุหะมา- ระเมลืองมลายสูญ
    ด้วยเดชะองค์พระทศพล สุวิมลไพบูลย์
    ทานาทิธรรมะวิธิกูล ชนะน้อมมโนตาม
    ด้วยเดชะสัจจะวะจะนา และนมามิองค์สาม
    ขอจงนิกรพละสยาม ชยะสิทธิทุกวาร
    ถึงแม้จะมีอริวิเศษ พละเดชะเทียมมาร
    ขอไทยผจญพิจิตะผลาญ อริแม้นมุนินทร (กราบ)



    อ้างอิง

    สวดมนต์แปล วัดจันทาราม (วัดท่าซุง) อ.เมือง จ.อุทัยธานี, 2535.
    ประเพณี พิธีมงคล และวันสำคัญของไทย. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, 2539.


    รวมคาถาต่างๆ


    คาถาภาวนาก่อนขับรถ

    เมตตัน จะ สัพพะโร กัสมิง มานะ สัมภาวะเย อัปปะริมานัง



    คาถามงกุฏพระพุทธเจ้า

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ, อิเมนา พุทธะตังโสอิ, อิโสตัง พุทธะปิติอิ


    คาถาพระพุทธเจ้าหลวง, พระปิยะมหาราช

    แบบสั้น
    ตั้งนะโม ๓ จบ

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะ ปิติอิ
    (ปิยะมะมะ นะโมพุทธายะ ๓ จบ)


    แบบยาว
    ตั้งนะโม ๓ จบ

    อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
    อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะ ปิติอิ
    ปิโยเทวา มนุษย์สานัง
    ปิโยพรหมมา นะมุ ตะโม
    ปิโยนาคะ สุปันนานัง
    ปินินชะลิยัง นะมามิหัง
    พระสยามมินทร์โธ วะโร อิติพุทธะ สังมิ
    อิติอะระหัง สะหัสสะกายัง วะรังพุทโธ นะโมพุทธายะ มาสีสะมานัง
    (ปิยะมะมะ นะโมพุทธายะ ๓ จบ)


    --------------------------------------------------------------------------------

    บทสวดมนต์ มหาเมตตาบทใหญ่

    ต้นฉบับจากวันอัมพวัน

    เมตตาพรหมะวิหารภาวนา

    ตั้งนะโม ๓ จบ

    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะฯ

    เอวัมเม สุตังฯ สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะอาราเมฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธานยะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ

    กะตะเม เอกาทะสะ ฯ (๑) สุขัง สุปะติ (๒) สุขัง ฏิพุชณะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ (๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปฏิวิชฌันโต พรหมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะภิขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ

    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมมตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยา-ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตา-เจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพพา อิตถโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปุริสาา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ

    โอธิโส ผะระณา เมตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตา- เจโตวิมุตติฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยา- ปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ ฯ

    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา อะปีฬะนายะ อุปะฆาตัง วัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตาตายะตีติ เมตตา ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ เจโต สัพพะพยาปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ เมตตาพรหมะวิหาระภาวะนา นิฏฐิตา



    บทชะยะปะริตตัง


    * มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง,
    * เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
    * ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน
    เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ,
    * สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง,
    * สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ,
    * ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง,
    * ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา,
    *ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ
    * ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    * สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    * ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    * สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ
    * ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา,
    * สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตภี ภะวันตุ เต ฯ

    คำแปล

    * พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งของสัตว์ ทรงประกอบแล้วด้วยพระมหากรุณาบำเพ็ญบารมีทั้งหลายทั้งปวงให้เต็ม เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นผู้ถึงความตรัสรู้ชอบอันสูงสุด,
    * ด้วยการกล่าวคำสัตย์จริงนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่านเถิด ฯ
    * ขอท่านจงมีชัยชนะในมงคลพิธี เหมือนพระจอมมุนีทรงชนะมารที่โคนต้นโพธิ์ แล้วถึงความเป็นผู้เลิศใจสรรพพุทธาภิเษก ทรงบันเทิงพระทัยอยู่บนบัลลังก์ที่มารไม่อาจจะผจญได้ เป็นจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความดีแก่เหล่าประยูรญาติศากยวงศ์ฉะนั้น เทอญ,
    * เวลาที่บุคคลและสัตว์ประพฤติดีประพฤติชอบ ชื่อว่าฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งแจ้งดี,
    * และขณะดี ครู่ยามดี ชื่อว่าบูชาดีแล้วในผู้ประพฤติอย่างประเสริฐทั้งหลาย,
    * กายกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด วจีกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด,
    * มโนกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ความปรารถนาอันตั้งไว้เพื่อสิ่งอันเป็นมงคลสูงสุด,
    * บุคคลและสัตว์ทั้งหลาย ทำกรรมอันเป็นมงคลสูงสุด ย่อมได้ประโยชน์ ทั้งหลายอันเป็นมงคลสูงสุดแล ฯ
    * ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    * ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    * ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    * ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ
    * ขอให้ทุกสิ่งอันเป็นมงคลทั้งปวง จงมีแก่ท่าน ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงปกปักรักษาท่าน,
    * ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ขอความสวัสดีจงมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อเถิด ฯ




    --------------------------------------------------------------------------------

    คำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

    | กสิณ ๑๐ | อุปกรณ์กสิณ, ขนาดดวงกสิณ, กิจก่อนการเพ่งกสิณ |
    | จิตเข้าสู่ระดับฌาน, ฌาน ๔, ฌาน ๕ | อานุภาพกสิณ ๑๐,วิธีอธิษฐานฤทธิ์ |


    อานุภาพกสิณ ๑๐

    กสิณ ๑๐ ประการนี้ เป็นปัจจัยให้แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ตามนัยที่กล่าวมาแล้วในฉฬภิญโญ เมื่อบำเพ็ญปฏิบัติใน กสิณกองใดกองหนึ่งสำเร็จถึงจตตุถฌานแล้ว ก็ควรฝึกตามอำนาจที่กสิณกองนั้นมีอยู่ให้ชำนาญ ถ้าท่านปฏิบัติถึงฌาน ๔ แล้ว แต่มิได้ฝึกอธิษฐานต่างๆ ตามแบบ ท่านว่าผู้นั้นยังไม่จัดว่าเป็นผู้เข้าฌานถึงกสิณ
    อำนาจฤทธิ์ในกสิณต่างๆ มีดังนี้

    ปฐวีกสิณ มีฤทธิ์ดังนี้ เช่น นิรมิตคนๆ เดียวให้เป็นคนมากได้ ให้คนมากเป็นคนๆ เดียวได้ ทำน้ำและอากาศให้แข็งได้
    อาโปกสิณ สามารถนิรมิตของแข็งให้อ่อนได้ เข่นอธิษฐานสถานที่เป็นดินหรือหรือหินที่กันดารน้ำให้เกิดบ่อน้ำ อธิษฐานหินดินเหล็กให้อ่อน อธิษฐานในสถานที่ฝนแล้วให้เกิดฝนอย่างนี้เป็นต้น
    เตโชกสิณ อธิษฐานให้เกิดเป็นเพลิงเผาผลาญหรือให้เกิดแสงสว่างได้ ทำแสงสว่างให้เกิดแก่จักษุญาณ สามารถเห็นภาพต่าง ๆ ในที่ไกลได้คล้ายตาทิพย์ ทำให้เกิดความร้อนในที่ทุกสถานได้
    วาโยกสิณ อธิษฐานจิตให้ตัวลอยตามลม หรืออธิษฐานให้ตัวเบา เหาะไปในอากาศก็ได้ สถานที่ใดไม่มีลมอธิษฐานให้มีลมได้
    นีลกสิณ สามารถทำให้เกิดสีเขียว หรือทำสถานที่สว่างให้มืดครึ้มได้
    ปีตกสิณ สามารถนิรมิตสีเหลืองหรือสีทองให้เกิดได้
    โลหิตกสิณ สามารถนิรมิตสีแดงให้เกิดได้ตามความประสงค์
    โอทากสิณ สามารถนิรมิตสีขาวให้ปรากฏ และทำให้เกิดแสงสว่างได้ เป็นกรรมฐาน ที่อำนวยประโยชน์ในทิพยจักขุญาณ เช่นเดียวกับเตโชกสิณ
    อาโลกสิณ นิรมิตรูปให้มีรัศมีสว่างไสวได้ ทำที่มืดให้เกิดแสงสว่างได้เป็นกรรมฐานสร้างทิพยจักขุญาณโดยตรง
    อากาสกสิณ สามารถอธิษฐานจิตให้เห็นของที่ปกปิดไว้ได้ เหมือนของนั้นวางอยู่ในที่แจ้ง สถานที่ใดเป็นอับด้วยอากาศ สามารถอธิษฐานให้เกิดความโปร่งมีอากาศสมบูรณ์เพียงพอแก่ความต้องการได้



    วิธีอธิษฐานฤทธิ์

    วิธีอธิษฐานจิตที่จะให้เกิดผลตามฤทธิ์ที่ต้องการท่านให้ทำดังต่อไปนี้ ท่านให้เข้าฌาน ๔ ก่อน
    แล้วออกจากฌาน ๔
    แล้วอธิษฐานจิตในสิ่งที่ตนต้องการจะให้เป็นอย่างนั้น
    แล้วกลับเขาฌาน ๔ อีก
    ออกจากฌาน ๔
    แล้วอธิษฐานจิตทับลงไปอีกครั้ง สิ่งที่ต้องการจะปรากฏสมความปรารถนา
    (จบกสิณ ๑๐ แต่เพียงเท่านี้)
     
  7. Keenu

    Keenu Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    20
    ค่าพลัง:
    +27
    อจิณไตยครับ

    สั้น ๆ ครับ สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรมครับ !!!
     
  8. lotte

    lotte เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    726
    ค่าพลัง:
    +4,545
    ผู้ใดมียอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกไว้ประจำบ้านเรือน มีอานิสงส์ยิ่งกว่าได้สร้างพระเจดีย์ทองคำสูงเทียมเทวโลก


    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ต้นฉบับเดิม

    ต้นฉบับเดิมเปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก จารเป็นอักษรขอม จารึกไว้ในใบลาน โบราณาจารย์จึงได้แปลเป็นอักษรไทย หลวงธรรมาธิกรณ์ (พระภิกษุแสง)ได้มาแต่พระแท่นศิลาอาสน์ มณฑลพิษณุโลก

    มีคำกล่าวในหนังสือนำนั้นว่า ผู้ใดมียอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกไว้ประจำบ้านเรือน มีอานิสงส์ยิ่งกว่าได้สร้างพระเจดีย์ทองคำสูงเทียมเทวโลกและป้องกันภยันตรายต่าง ๆ ทำมาหากินเจริญ ฯลฯ

    ต่อมามีผู้นิยมสร้างหนังสือนี้ขึ้น โดยเชื่อว่าผู้ใดสร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้เป็นธรรมทาน และสวดมนต์สักการะบูชาเป็นประจำ จะมีผลานิสงส์สุดที่จะพรรณ นาให้ทั่วถึงได้ นับเป็นมหากุศลอันยิ่งใหญ่ จะมีความสุขสิริสวัสดิ์เจริญต่อไปทั้งปัจจุบันกาลและอนาคตภายภาคหน้า ตลอดทั้งบุตรหลานสืบไป ด้วยอำนาจของความเคารพในพระคาถานี้

    ประวัติต้นฉบับเดิมกล่าวว่า หนังสือยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ มีคำกล่าวไว้ในหนังสือนำว่าเป็นพุทธมนต์อันศักดิ์สิทธิ์ ถ้าผู้ใดได้สวดมนต์ภาวนาทุกเช้าค่ำแล้ว เป็นการบูชารำลึกถึงพระพุทธเจ้า ผู้นั้นจะไม่ไปตกอบายภูมิ แม้ได้บูชาไว้กับบ้านเรือน ก็ป้องกันอันตรายต่าง ๆ จะภาวนาพระคาถาอื่น ๆ สัก ๑๐๐ ปี อานิสงส์ก็ไม่สูงเท่าภาวนาพระคาถานี้ครั้งหนึ่ง ถึงแม้ว่า อินทร์ พรหม ยมยักษ์ ที่มีอิทธิฤทธิ์ จะเนรมิตแผ่นอิฐเป็นทองคำก่อเป็นพระเจดีย์ ตั้งแต่มนุษย์โลกสูงขึ้นไปจนถึงพรหมโลก อานิสงส์ก็ยังไม่เท่าภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ และมีคำอธิบายคุณความดีไว้ในต้นฉบับเดิมนั้นอีกนานับปการ ฯ

    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ ถ้าผู้ใดบริจาคทรัพย์สร้างถวายพระภิกษุสงฆ์ สามเณร ญาติ-มิตรสหาย หรือสวดจนครบ ๗ วัน ครบอายุปัจจุบันของตน
    จะบังเกิดโชคลาภทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรือง จะพ้นเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยและภัยพิบัติทั้งปวง ฯ

    ผู้ใดตั้งจิตเจริญภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกวันละสามจบ จะไม่มีบาปกรรม ทำสิ่งใดจะได้สมความปรารถนา สวดวันละเจ็ดจบ กระดูกลอยน้ำได้


    พิธีไหว้พระ
    และสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

    ก่อนเข้าห้องบูชาพระ ควรอาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดและนุ่งห่มให้เรียบร้อย เข้านั่งที่ด้วยความสำรวมกายใจ ตั้งจิตให้แน่วแน่เพ่งตรงยังพระพุทธรูป ระลึกถึงพระรัตนตรัย ค่อยกราบ ๓ หน แล้วสงบจิตระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา ซึ่งเป็นพระอรหันต์ของบุตร

    จากนั้นจึงจุดเทียนบูชา ให้จุดเล่มด้านขวาของพระพุทธรูปก่อน แล้วจุดเล่มด้านซ้ายต่อไป จุดธูป ๓ ดอก เมื่อจุดเทียนธูปที่เครื่องสักการบูชาเสร็จแล้วเอาจิต (นึกเห็น) พระพุทธองค์มาเป็นประธาน พึงนั่ง ชายพึงนั่งคุกเข่า หญิงนั่งท่าเทพนม ประนมมือ ตั้งใจบูชาพระรัตนตรัย นมัสการพระรัตนตรัย นมัสการพระพุทธเจ้า ไตรสรณคมน์และนมัสการพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ แล้วจึงเจริญภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก จะเพิ่มความขลังและความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น จะเกิดพลังจิตและมีความมั่นคงในชีวิต พึงทราบด้วยว่า การเจริญภาวนาทุกครั้งต้องอยู่ในสถานที่อันสมควร ขอให้ทำจิตตั้งมั่นในบทสวดมนต์ จะมีเทพยดาอารักษ์ทั้งหลายร่วมอนุโมทนาสาธุการขออย่าได้ทำเล่น จะเกิดโทษแก่ตนเอง



    อานิสงส์การสร้างและสวด
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก เป็นธรรมทาน

    โบราณท่านว่า ผู้ใดได้พบยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้แล้ว ท่านว่าเป็นบุญตัวอันประเสริฐนัก เมื่อพบแล้วให้พยายามท่องบ่นสวดภาวนาอยู่เป็นนิตย์ตราบเท่าชีวิต จนทำลายขันธ์จากมนุษย์โลก แล้วก็จะไปบังเกิดในสัมปรายภพสวรรค์สุคติภพด้วยพระอานิสงส์เป็นแน่แท้

    ถ้าผู้ใดจะสวดขออานุภาพให้ผู้ป่วยไข้อาการจะดีขึ้น จะสวดแผ่กุศลอุทิศไปให้ บิดา มารดา หรือครูบาอาจารย์ อุปัชฌาย์ ผู้มีพระคุณของท่านแล้ว ให้เขียน จิ เจ รุ นิ และชื่อท่านนั้น ๆ ใส่กระดาษก่อนสวดทุกครั้ง เมื่อสวดกี่จบครบตามที่เราต้องการแล้วให้นำกระดาษนั้นเผาไฟ และกรวดน้ำโดยคารวะ บอกชื่อฝากพระแม่ธรณีนำกุศลอันนี้ให้ท่านผู้นั้น ได้ตามความปรารถนาของเราทุกครั้ง
    ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บจากเจ้ากรรมนายเวร
    กิจการงานเจริญรุ่งเรือง อุดมด้วยโภคทรัพย์
    ผู้ใดอุทิศบุญกุศล อันเกิดจากการสร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ให้ ปู่ย่า ตา ยาย บิดา มารดา ฯ บุตร หลาน ที่อยู่เบื้องหลังมีความเจริญรุ่งเรือง

    บิดา มารดา จะมีอายุยืน
    สามีภรรยา รักใคร่ดีต่อกัน บุตรหลานเป็นคนดี
    ปฏิสนธิวิญญาณบุตร เกิดมาเฉลียวฉลาด ปัญญาดี เลี้ยงง่าย สุขภาพดี
    วิญญาณของบรรพบุรุษจะสู่สุคติภพ
    เสริมบุญบารมีให้ตนเอง
    แคล้วคลาดจากอันตรายต่าง ๆ
    เมื่อสิ้นอายุขัยจะไปสู่สุคติภูมิ

    ขอตั้งสัตยาธิษฐาน ขอความเจริญรุ่งเรือง จงบังเกิดแก่ท่านผู้สร้าง ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ เพื่อความงอกงามในพระบวรพระพุทธศาสนาสืบไป.

    โบราณว่าผู้ใดสร้างบุญกุศลและได้สวดภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกเป็นประจำจะมีอานิสงส์มาก เมื่อป่วยหนักให้ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ครั้นกำลังจะสิ้นใจผู้อยู่ใกล้บอกนำว่า อะระหัง หรือ พุทโธ เรื่อย ๆ เมื่อถึงแก่กรรมไปแล้ว จงเขียน จิ. เจ. รุ. นิ. บนแผ่นทองหรือแผ่นเงิน ใบลาน, กระดาษ แล้วม้วนเป็นตะกรุด (ห้ามคลี่) ใส่ปากให้ไปสู่สุคติในสัมปรายภพสวรรค์ด้วย


    อานิสงส์การสวดและภาวนา ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกเป็นพุทธมนต์อันศักดิ์สิทธิ์ ไว้สำหรับสวดและภาวนาทุกเช้าคำ เพื่อความสวัสดีเป็นสิริมงคลแก่ผู้สาธยาย อันเป็นบ่อเกิด มหาเตชัง มีเดชมาก มหานุภาวัง มีอานุภาพมาก และมีลาภยศ สุขสรรเสริญ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย อุปัทวันตราย และความพินาศทั้งปวง ตลอดทั้งหมู่มารร้ายและศัตรูคู่อาฆาตไม่อาจแผ้วพานได้

    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง เป็นต้น ถ้าสาธยายหรือภาวนาแล้วจะนำมาซึ่งลาภยศ สุขสรรเสริญและปราศจากอันตรายทั้งปวง ตลอดทั้งเป็นการระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า เป็นการเจริญพระพุทธานุสติ วิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นแดนเกิดของสมาธิอีกด้วย

    อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้ว เป็นการมอบกายถวายชีวิตไว้กับองค์พระพุทธเจ้า หรือเอาองค์พระพุทธเจ้าเป็นตาข่ายเพชรคอยปกป้องคุ้มครองรักษาชีวิตให้ปราศจากเวรภัย

    อิติปิโส ภะคะวา รูปะขันโธ เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้ว ขออาราธนาบารมีธรรมของพระพุทธองค์สิงสถิตในเบญจขันธ์ของเราเพื่อให้เกิดพระไตรลักษณญาน อันเป็นทางของพระนิพพานสืบต่อไป

    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวีธาตุสะมาธิญาณสัมปันโน เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนา ขออำนาจสมาธิญาณของพระพุทธองค์เป็นไปในธาตุ ในจักรวาล ในเทวโลกหรือในกามาวจรภูมิ รูปาวจรภูมิ อรูปาวจรภูมิ และในโลกุตรภูมิ ขอจงมาบังเกิดในขันธสันดานของข้าพเจ้าหรือเรียกว่าเป็นการเจริญสมถภาวนา อันเป็นบ่อเกิดแห่งรูปฌาน อรูปฌาน อภิญญา เป็นการเจริญวิปัสสนา อันเป็นบ่อเกิดแห่งมรรคผลนิพพาน เป็นการหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง ฯ

    กุสลา ธัมมา อิติปิโส ภะคะวา เป็นต้น เป็นการสาธยายหัวใจพระวินัยปิฎก หัวใจพระสุตตันตปิฎก หัวใจพระอภิธรรมปิฎก และเป็นหัวใจพระเจ้า ๕๐๐ ชาติ พระเจ้า ๑๐ ชาติ และหัวใจ อิติปิ โส ตลอดทั้งหัวใจอื่น ๆ อีกเป็นจำนวนมาก เมื่อภาวนาแล้วจะนำลาภ ยศ ฐาบรรดาศักดิ์ ทั้ง อายุ วรรณะ สุขะ พละ และจะป้องกันสรรพภัย ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสวัสดิมงคลแก่ตนและบุตรหลานสืบไป

    อินทะสาวัง มหาอินทะสาวัง เป็นต้น เมื่อสาธยายหรือภาวนาแล้วมีทั้งอำนาจ ตบะ เดชะ ความสุข ความเจริญรุ่งเรืองทุกประการ

    พระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลายต่างก็กล่าวเน้นว่า พระพุทธศาสนาเป็นของจริงของแท้ที่เรายึดมั่นเป็นหลักชัยแห่งชีวิตได้ ยิ่งมีการปฏิบัติธรรมทั้งทาน ศีล ภาวนา สม่ำเสมอความสุขความเจริญเกิดขึ้นแก่ตนแน่ อย่าสงสัย การรวยทรัพย์สินเงินทองไม่ได้ก่ออานิสงส์ ไม่เท่ากับรวยบุญรวยกุศล ซึ่งจะบังเกิดความสุขความเจริญในปัจจุบัน และตามติดวิญญาณไปทุกภพทุกชาติด้วย

    ฉะนั้น ชาวพุทธทั้งหลาย จงเจริญภาวนา ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกทุกเช้าค่ำเถิด จะบังเกิดความสวัสดิมงคลแก่ตนและครอบครัว ให้มีความร่มเย็นเป็นสุขโดยทั่วหน้า


    คำบูชาพระรัตนตรัย
    โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    อิเมหิ สักกาเรหิ , ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ
    โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    อิเมหิ สักกาเรหิ , ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ
    โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อิเมหิ สักกาเรหิ , ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ

    คำนมัสการพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
    พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ ๑ หน)
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
    ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ ๑ หน)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สังฆัง นะมามิ (กราบ ๑ หน)

    คำนมัสการพระพุทธเจ้า
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    คำนมัสการไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    คำนมัสการพระพุทธคุณ
    พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ

    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสามระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ
    สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก ต้นฉบับเดิม


    ๑.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะ โส ภะคะวา .
    อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ.
    อะระหันตัง สิระสา นะมามิ.
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ.
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ.
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ.
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ.
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ.
    โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ.
    โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ.

    ๒.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสาระถิ วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะ โส ภะคะวา.
    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะ โส ภะคะวา.
    อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ.
    อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ.
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ.
    ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ.
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ.
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ.
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    พุทธัง สิระสา นะมามิ. อิติปิ โส ภะคะวา ฯ

    ๓.
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ-ปาระมิ จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะ-ณะปาระมิ จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะ-ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะ-ลักขะณะปารมิ จะ สัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะ-ลักขะณะปาระมิ จะสัมปันโน.

    ๔.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโปธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา เตโชธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา วาโยธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิโส ภะคะวา วิญญาณะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.

    ๕.
    อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.


    ๖.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุสะมาธิ-ญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.

    ๗.
    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.

    ๘.
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละธาตุสะมาธิญาณะสัมปันโน.

    ๙.
    กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชัมพู ทีปัญจะ อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ
    นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง อา ปา มะ จุ ปะ, ที มะ สัง อัง ขุ, สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ, อุปะสะชะสะเห ปาสายะโส ฯ
    โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ
    นา วิ เว,อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ, อิสวาสุ, สุสวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ.

    ๑๐.
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปัญ จะ อิสสะโร ธัมมา.
    กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุอุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะ ปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมาสัททะ ปัญจะสัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะมะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ.
    ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง ภะคะวะตา ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ ฯ
    พรหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.

    ๑๑. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ พุทธิลาโภกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติ-สาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวัง มหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกาอิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ.

    สาวัง คุณัง วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง ธัมมัง สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญา นิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

    ๑๒. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิโส ภะคะวา.

    นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะ-ขันโธ เวทะนาขันโธ

    สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม. สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง.

    นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโยโมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัต-ตา อุอะมะอะ วันทา

    นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ

    นะโม พุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ


    คำกรวดน้ำ ของยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
    อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้วยเดชะผลบุญของข้าพเจ้า ได้สร้างและสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ ขอให้ค้ำชู อุดหนุน คุณบิดามารดา พระมหากษัตริย์ ผู้มีพระคุณ ญาติกา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร มิตรรักสนิท เพื่อนสรรพสัตว์น้อยใหญ่ พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา แม่พระโพสพ พญายมราช นายนิริยบาล ท้าวจะตุโลกะบาลทั้งสี่ ศิริคุตอำมาตย์ ชั้นจาตุมมะหาราชิกาเบื้องบน สูงสุดจนถึงภวัคคะพรหม และเบื้องล่างต่ำสุด ตั้งแต่โลกันตมหานรกและอเวจีขึ้นมา จนถึงโลกมนุษย์ สุดรอบขอบจักรวาล อนันตจักรวาล คุณพระศรีรัตนตรัย และเทพยดาทั้งหลาย ตลอดทั้งอินทร์ พรหม ยมยักษ์ คนธรรพ์ นาคา พระเพลิง พระพาย พระพิรุณ ท่านทั้งหลายที่ต้องทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ได้สุขขอให้ได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าอุทิศให้ไปนี้ จงเป็นอุปนิสัยปัจจัยให้ถึงพระนิพพานในปัจจุบัน และอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญ ฯ พุทธัง อะนันตัง ธัมมัง จักกะวาลัง สังฆัง นิพพานะปัจจะโย โหนตุ.
     
  9. ปราณยาม

    ปราณยาม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    371
    ค่าพลัง:
    +2,638
    ของผมนี่จะขอบรรลุในสมัยของพระศรีครับ แต่ระหว่างที่ผมหมดภพนี้แล้วผมตั้งใจและอธิษฐาน ขอให้จิตได้ลงไปโปรดเหล่าดวงวิญญาณในนรก ครับ ขอแค่ได้สวดมนต์และแผ่เมตตาให้ก็ยังดีครับ จนกว่าจะถึงเวลาต้องเกิดใหม่และผมจะขอให้ผมได้บรรลุต่อหน้าพระพักตณของพระศรีอาริยเมตไตรครับ
     
  10. sao-wanee

    sao-wanee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    83
    ค่าพลัง:
    +124
    <TABLE id=HB_Mail_Container height="100%" cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0 UNSELECTABLE="on"><TBODY><TR height="100%" UNSELECTABLE="on" width="100%"><TD id=HB_Focus_Element vAlign=top width="100%" background="" height=250 UNSELECTABLE="off">ต้องใช้เวลาอีกนานและมากมายในการเดินทางไปสู่จุดเป้าหมายที่ว่า แค่ขนคนไปก็ต้องใช้เวลานานๆๆๆๆ ต่ำสุดก็ 20 อสงไขยกับอีกแสนมหากับเอง ก็นำพาไปได้เพียงบางส่วน
    ผู้ที่ทำงานตรงนี้ ต้องมีกำลังทั้งทาน ศีล ภาวนาที่ดีเยี่ยม มีกองทัพธรรมที่ดีสุด ๆ สิ่งเหล่านี้ไม่สามารถทำได้เพียงลำพังหรอกค่ะ
    </TD></TR><TR UNSELECTABLE="on" hb_tag="1"><TD style="FONT-SIZE: 1pt" height=1 UNSELECTABLE="on">
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. Attawat_Rx

    Attawat_Rx เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กันยายน 2005
    โพสต์:
    2,183
    ค่าพลัง:
    +18,400
    โมทนามากๆ ในวิถีบารมี และจิตเป็นกุศลนะครับ ทำได้หรือไม่ได้อีกเรื่องหนึ่ง
    แต่ก่อนอื่นต้องขอถามกำลังใจว่า รับได้หรือไม่ ในเรื่องของความไม่ยุติธรรม คนที่ชั่วช้ามาก บางทีก็ไม่สมควรได้รับสุขคติภูมินะครับ ควรบปล่อยให้ไปดัดสันดานตามภพภูมิ ตามกฎแห่งกรรมจะดีกว่า ถ้าจะช่วยควรช่วย บัวเหล่าที่สมควรช่วย บัวเต่าถุยช่วยแล้วอาจเป็นภัยก็ได้ คุณ lotte ลองปราวณาตัว ไปคละด้วยคนชั่วดูสัก 10 ปีสิครับ คุณอาจเปลี่ยนความปราถนาก็ได้


    ผมคนหนึ่งครับที่ขอต่อบารมีพิเศษคล้ายแบบที่คุณว่า และทราบว่าปราถนามาหลายชาติแล้ว แต่ไม่ถึงขนาดนั้นหรอกครับ ของผมแค่ครึ่งหนึ่งของคุณเท่านั้น ถ้าอุปาทานไม่กิน ก็พอจะทราบว่า เป็นไปได้ครับ แต่การทำบารมีพิเศษหนักหนาสาหัสมาก ลองถามตัวเองอยู่บ่อย ๆ ว่าทำเบบนี้คุ้มหรือ ถ้าคุณ lotte ทราบอาจจะเปลี่ยนใจได้ ถ้าจะทำจริง ๆ ตามที่ผมทราบ วิธีป้องกันไม่ให้ลาบารมีนี้คือ สร้างพระพุทธรูปหน้าตัก 4 ศอก บุด้วยทองคำแท้ และต้องทำคนเดียวด้วย แล้วอธิษฐานเป็นขั้นต้น จากนั้นหลังบารมีเต็มแล้วต้องต่อบารมีอีก .........อื่น ๆนั้นลองใช้มโนยิทธิสอบดูสิครับ ผมเองก็อยากทราบว่าตรงกันหรือไม่
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 พฤศจิกายน 2005
  12. lotte

    lotte เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    726
    ค่าพลัง:
    +4,545
    ครับขอบพระคุณทุกคำตอบทุกท่านครับ โมทนาสาธุกับทุกท่านครับ
     
  13. กฤษณะ

    กฤษณะ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กันยายน 2005
    โพสต์:
    49
    ค่าพลัง:
    +52
    ในสายวิชชาธรรมกาย นั้น...ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องทราบดีว่า...

    ทุคติภูมิทั้งหลาย ตั้งแต่อเวจีมหานรก ขึ้นมา ใครคือฉากหลังแห่งการสร้างภพเหล่านี้ ไว้จองจำสัตว์โลก

    นับย้อนกลับไป ตั้งแต่มีนิพพานถอดกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ารุ่นหลังๆ

    ยังไม่มีใครกล้าแตะโครงการภพทุคติภูมินี้

    บัดนี้ หลังจาก 500ปี ของพระปรินิพพานของพระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า วิชชาฯขององค์ต้นนิพพาน ถูกนำกลับมาอีกครั้ง

    ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ได้ประชุมธาตุธรรม คัดสรรผู้มีหน้าที่ในการดับทุคติภูมิ

    ความลับนี้ถูกเก็บซ่อนไว้ในผังที่สุดละเอียด

    เช่นเดียวกับผังพระศาสนจักรแห่งพระพุทธศาสนา และผังประเทศไทย

    ...หากสนใจจะช่วยสัตว์โลกจากทุคติภูมิจริง เชิญชวนเจริญวิชชาธรรมกาย

    ให้เข้าถึงสุดละเอียด เพื่อไขความลับนี้


    http://www.crystalmind.org/
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 พฤศจิกายน 2005
  14. kasin84000

    kasin84000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2004
    โพสต์:
    175
    ค่าพลัง:
    +997
    http://www.crystalmind.org/
    เข้าไปอ่านมาแล้วครับ สุดยอดครับ
    มารเขาเก่งเหลือเกิน ยอมแพ้ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤศจิกายน 2005
  15. sayun2516

    sayun2516 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    4
    ค่าพลัง:
    +8
    คิดเอาก็พอได้ แต่ความจริงมันไม่เป็นไปตามความคิดหรอก
    นรกสวรรค์มันเกิดขึ้นที่ใจและดับลงที่ใจ
    เมื่อสัตว์ทั้งหลายยังไม่สิ้นกิเลสนรกก็ย่อมมีอยู่ตราบนั้น
    การที่ใครจะตกนรกหรือไม่ มันไม่ได้มีใครไปกวาดต้อนเขาเหล่านั้นให้ไปนรกนี่
    คนที่ไปนรกเขาก็ไปด้วยกรรมในใจเขา ใครจะอุตริไปเปลี่ยนแปลงจิตใจของคนอื่นได้
    ถ้าคนๆนั้นเขาไม่คิดเปลี่ยนแปลงจิตใจของเขาเอง
    ชื่อพระโพธิสัตว์แปลกๆนั้นมีมากในปรัชญาฝ่ายมหายาน และคนส่วนมากมักจะหลงไปกับหลักปรัชญาอันฟุ่มเฟือยเหล่านั้น
    จนลืมคิดถึงความเป็นจริง แห่งเหตุและผล
     
  16. ปันปัน

    ปันปัน สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    3
    ค่าพลัง:
    +2
    นรก สววรรค์มันเกิดจากอวิชาคือจากจิตฝ่ายบุญและฝ่ายบาป ไม่มีใครสร้างมันหรอกครับ ไม่มีใครสามารถทำให้สัตว์นรกหมดได้ด้วย ผมมาแย้งเท่านี้ละ ปราถนาพุทธภูมิก็ปราถนาไป อย่าสุดโต่งเกินไป
     
  17. ปันปัน

    ปันปัน สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    3
    ค่าพลัง:
    +2
    นรก สววรรค์มันเกิดจากอวิชาคือจากจิตฝ่ายบุญและฝ่ายบาป ไม่มีใครสร้างมันหรอกครับ ไม่มีใครสามารถทำให้สัตว์นรกหมดได้ด้วย ผมมาแย้งเท่านี้ละ ปราถนาพุทธภูมิก็ปราถนาไป อย่าสุดโต่งเกินไป
     
  18. kasin84000

    kasin84000 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ธันวาคม 2004
    โพสต์:
    175
    ค่าพลัง:
    +997
    โมทนาอย่างยิ่งครับ ครับคุณ sayun2516 และ คุณปันปัน
    โดยเฉพาะประโยคนี้
    " ปราถนาพุทธภูมิก็ปราถนาไป อย่าสุดโต่งเกินไป "
    [b-wai]
     
  19. Mood

    Mood เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    105
    ค่าพลัง:
    +230
    ขออนุโมทนากับพี่ lotte ครับ
    ผมก็มีคาวมปราถนาเล็กๆแบบพี่เหมือนกัน แต่ตัวเองยังเอาไม่รอด ต้องเอาตัวเองให้รอดก่อน ยังเป็นภาระผู้อื่นอยู่เลยครับ เศร้า...
     
  20. วิทย์

    วิทย์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    2,036
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +8,439
    ผมก็ปรารถนาเป็นคนสุดท้ายครับ ถึงแม้ว่าจะสร้างบารมีจนไม่มีที่สิ้นสุดก็ไม่เป็นไรครับ เพราะผมว่าเมื่อบารมีมากจนถึงจุดๆหนึ่งย่อมมีข้อแตกต่างเป็นพิเศษจากบุคคลอื่นครับ ผมก็ไม่ได้คิดอะไรมากเท่าที่รู้ก็คือต้องการอย่างนี้ ส่วนจะสำเร็จหรือไม่นั่นเป็นเรื่องอนาคตครับ (จริงๆไม่จำเป็นต้องนึกถึงเป้าหมายก่อนที่เป้าหมายจะมาถึง เพราะมีแต่ผู้ที่ไปถึงจุดนั้นแล้วจึงจะทราบอย่างแท้จริงว่าเป็นอย่างไรครับ)
    ปล.ผมคิดอะไรง่ายๆครับ ถ้ามัวแต่กังวลโน่นกังวลนี่ก็ไม่ได้สร้างบารมีกันพอดีครับ ก็แค่ตั้งหน้าตั้งตาสร้างบารมีเข้าไปก็แค่นั้นเองครับ (แต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน)
     

แชร์หน้านี้

Loading...