ร่วมกันถวายงานพระเจ้าอยู่หัว

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย vibe, 5 ธันวาคม 2008.

  1. vibe

    vibe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    731
    ค่าพลัง:
    +3,146
    [​IMG]

    "ในหลวง" ทรงงานด้วยความเหน็ดเหนื่อย เพื่อความสุขของประสกนิกร 60 กว่าล้านคนของพระองค์มาโดยตลอด มาร่วมกันถวายงานเเด่พระองค์ท่านกันบ้างนะครับ

    http://www.royalvdo.com/
     
  2. vibe

    vibe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    731
    ค่าพลัง:
    +3,146
    62 ปี 6 เดือนตั้งเเต่พระองค์ขึ้นครองราชฯ พระองค์ทรงงานเพื่อประสกนิกรพระองค์มาตลอดจนปัจจุบัน

    โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่สำคัญ - ข้อมูลจาก สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (Office of the Royal Development Project Board)

    โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางแผนพัฒนาทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จพระราชดำเนิน ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือนตำรวจทหารและประชาชน ไทยทั่วประเทศโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่อยู่ในความรับผิดชอบของ สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.) ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๒๕-๒๕๕๐ มีจำนวน ๔,๑๗๖ โครงการ /กิจกรรม แยกตามรายภาคได้ดังนี้

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="8" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table class="bodyText14" border="0" cellpadding="0" cellspacing="3" width="100%"> <tbody><tr align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <td align="left" bgcolor="#ffcc66" width="301">ภาค</td> <td bgcolor="#e0c794" width="274"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">จำนวนโครงการ/ กิจกรรม</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr class="Text14_list" align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">กลาง
    </td> <td class="Text14_list" bgcolor="#f6eedf"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๙๘๗</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr class="Text14_list" align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">ตะวันออกเฉียงเหนือ </td> <td class="Text14_list" bgcolor="#f6eedf"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๘๗๔</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr class="Text14_list" align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">เหนือ</td> <td class="Text14_list" bgcolor="#f6eedf"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๑,๑๔๓</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr class="Text14_list" align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">ใต้ </td> <td class="Text14_list" bgcolor="#f6eedf"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๗๖๐</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr class="Text14_list" align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">ไม่ระบุภาค</td> <td class="Text14_list" bgcolor="#f6eedf"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๓๓๓</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr class="Text14_list" align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">งบบริหาร </td> <td class="Text14_list" bgcolor="#f6eedf"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๗๙</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="bodyText14" align="left" bgcolor="#fff0d1" width="301">รวม </td> <td class="bodyText14" bgcolor="#f6eedf"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="Text14_list" align="right" width="63%">๔,๑๗๖</td> <td width="8%">
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff"><table class="bodyText" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="left" valign="top">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td class="Text14_H" align="center" bgcolor="#f4e8b8" valign="middle" height="25">ทั้งนี้ สามารถจัดแบ่งออกเป็นประเภทของการโครงการได้ ๘ ประเภท คือ</td> </tr> <tr> <td align="left" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff"><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="8" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="3" width="100%"> <tbody><tr align="center" bgcolor="#ffffff" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๑. การพัฒนาแหล่งน้ำ</td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๑,๔๖๓ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๒. การเกษตร
    </td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๕๒๗ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๓. สิ่งแวดล้อม </td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๙๙๙ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๔. ส่งเสริมอาชีพ</td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๓๓๐ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๕. สาธารณสุข </td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๔๙ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๖. คมนาคม / สื่อสาร </td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๑๑๔ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๗. สวัสดิการสังคม </td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๑๖๖ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> <tr align="center" valign="top"> <td class="Text14_list" align="left" bgcolor="#fff0c1" width="250"> ๘. โครงการสำคัญ และอื่นๆ </td> <td class="Text14_list" align="right" bgcolor="#f7e4d0" width="250">๕๒๘ โครงการ / กิจกรรม</td> </tr> </tbody></table>
    </td> </tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">
    </td> </tr> <tr> <td bgcolor="#ffffff">[​IMG]</td> </tr> <tr> <td><table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td>[​IMG]</td> </tr> </tbody></table></td> </tr> </tbody></table>
     
  3. vibe

    vibe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    731
    ค่าพลัง:
    +3,146
    # ประเภทของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

    * การพัฒนาแหล่งน้ำ
    * การเกษตร
    * สิ่งแวดล้อม
    * ส่งเสริมอาชีพ
    * สาธารณสุข
    * คมนาคม/สื่อสาร
    * สวัสดิการสังคม
    * โครงการสำคัญและอื่นๆ

    รายละเอียดโครงการ
    http://www.rdpb.go.th/rdpb/TH/BRANDSITE/theproject_rdp07_1.aspx
     
  4. vibe

    vibe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    731
    ค่าพลัง:
    +3,146
    พระราชอัจฉริยภาพ
    ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช


    ในหลวงกับเกษตรกรรม

    * ทฤษฎีใหม่: การบริหารจัดการที่ดินเพื่อการเกษตรตามพระราชดำริ
    New Theory
    * ทฤษฎีการป้องกันการเสื่อมโทรมและพังทลายของดินโดยหญ้าแฝก
    * เส้นทางเกลือ
    * ทฤษฎี "แกล้งดิน" อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
    * ทฤษฎีการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกร

    ในหลวงกับการบริหารจัดการน้ำ

    * แก้มลิง: ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
    * การบำบัดน้ำเสียตามพระราชดำริด้วย "กังหันน้ำชัยพัฒนา"
    * ทฤษฎีว่าด้วยการพัฒนาทรัพยากรแหล่งน้ำในบรรยากาศ "ฝนหลวง"
    * บำบัดน้ำเสียโดยธรรมชาติ
    * น้ำดีไล่น้ำเสีย
    * บึงมักกะสัน
    * หนองสนม - หนองหาน
    * บึงพระราม 9
    * ทฤษฎีการบำบัดน้ำเสียโดยกระบวนการทางฟิสิกส์เคมี


    ในหลวงกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

    * Information Technology
    to help Thai people by Thaweesak Koanantakool (ภาษาอังกฤษ)
    H.M.K. and weather map

    ในหลวงกับดนตรี

    * พระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านดนตรี
    ข้อมูลโดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (ส.ว.ช)
    * พระราชอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านดนตรี
    โดย ดร.สุกรี เจริญสุข

    H.M.K. paint
    ในหลวงกับงานศิลปะ

    * พระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านจิตรกรรม
    ข้อมูลโดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (ส.ว.ช)
    * พระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านประติมากรรม
    ข้อมูลโดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (ส.ว.ช)
    * พระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านภาพถ่าย
    ข้อมูลโดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (ส.ว.ช)

    H.M.K. and Engineering
    ในหลวงกับงานช่าง

    * พระปรีชาสามารถในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้านหัตถกรรม
    ข้อมูลโดย สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (ส.ว.ช)

    ที่มาเเละรายละเอียด
    http://kanchanapisek.or.th/talents/index.th.html
     
  5. vibe

    vibe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    731
    ค่าพลัง:
    +3,146
    พระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช

    * พระราชกรณียกิจด้านการศึกษา
    * พระราชกรณียกิจด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
    * พระราชกรณียกิจด้านการแพทย์

    <hr size="1" width="75%"> [SIZE=+2] <center>พระราชกรณียกิจ<wbr>ด้าน<wbr>การ<wbr>ศึกษา</center> [/SIZE]
    พระ<wbr>บาท<wbr>สมเด็จ<wbr>พระ<wbr>เจ้าอยู่หัว ทรง<wbr>ตระ<wbr>หนัก<wbr>ดี<wbr>ว่า การ<wbr>พัฒนา<wbr>การ<wbr>ศึกษา<wbr>ของ<wbr>เยาวชน<wbr>นั้น เป็น<wbr>พื้น<wbr>ฐาน<wbr>อัน<wbr>สำคัญ<wbr>ของ<wbr>ประเทศ<wbr>ชาติ จึง<wbr>ทรง<wbr>พระ<wbr>กรุณา<wbr>โปรดเกล้าฯ พระ<wbr>ราชทาน<wbr>พระ<wbr>ราชทรัพย์<wbr>จัด<wbr>ตั้งมูลนิธิ<wbr>อานันทมหิดล ให้<wbr>เป็น<wbr>ทุน<wbr>สำหรับ<wbr>การ<wbr>ศึกษา<wbr>ใน<wbr>แขนง<wbr>วิชา<wbr>ต่างๆ เพื่อ<wbr>ให้<wbr>นักศึกษา<wbr>ได้<wbr>มี<wbr>ทุน<wbr>ออก<wbr>ไป<wbr>ศึกษา หา<wbr>ความรู้<wbr>ต่อ<wbr>ใน<wbr>วิชา<wbr>การ<wbr>ชั้น<wbr>สูง<wbr>ใน<wbr>ประเทศ<wbr>ต่างๆ โดย<wbr>ไม่<wbr>มี<wbr>เงื่อน<wbr>ไข<wbr>ข้อ<wbr>ผูกพัน<wbr>แต่<wbr>ประการ<wbr>ใด เพื่อ<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ได้<wbr>นำ<wbr>ความ<wbr>รู้<wbr>นั้นๆ กลับ<wbr>มา<wbr>ใช้<wbr>พัฒนา<wbr>ประเทศชาติ<wbr>ให้<wbr>เจริญ<wbr>ก้าวหน้า<wbr>ต่อ<wbr>ไป
    [​IMG] นอก<wbr>เหนือ<wbr>ไป<wbr>จาก<wbr>นี้<wbr>แล้ว ทรง<wbr>มี<wbr>พระ<wbr>ราชดำริ<wbr>ให้<wbr>ดำเนิน<wbr>การ<wbr>จัด<wbr>ทำสารานุกรม<wbr>ไทย<wbr>สำหรับ<wbr>เยาวชนขึ้น สารานุกรม<wbr>ชุด<wbr>นี้ มี<wbr>ลักษณะ<wbr>พิเศษ<wbr>ที่<wbr>แตก<wbr>ต่าง<wbr>จาก<wbr>สารานุกรม<wbr>ชุด<wbr>อื่นๆ ที่<wbr>ได้<wbr>เคย<wbr>จัด<wbr>พิมพ์<wbr>มา<wbr>แล้ว กล่าว<wbr>คือ เป็น<wbr>สารานุกรม<wbr>อเนก<wbr>ประสงค์<wbr>ที่<wbr>บรรจุ<wbr>เรื่อง<wbr>ราว<wbr>ต่างๆ ที่<wbr>เป็น<wbr>สาระ<wbr>ไว้<wbr>ครบ<wbr>ทุก<wbr>แขนง<wbr>วิชา โดย<wbr>จัดแบ่ง<wbr>เนื้อหา<wbr>ของ<wbr>แต่ละ<wbr>เรื่อง<wbr>ออกเป็น<wbr>สาม<wbr>ระดับ เพื่อ<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ให้<wbr>เยาวชน<wbr>แต่<wbr>ละ<wbr>รุ่น ตลอด<wbr>จน<wbr>ผู้<wbr>ใหญ่<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>ความ<wbr>สน<wbr>ใจ สามารถ<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ศึกษา<wbr>ค้นคว้า<wbr>หา<wbr>ความ<wbr>รู้ ได้<wbr>ตาม<wbr>ความ<wbr>เหมาะสม<wbr>ของ<wbr>พื้นฐาน<wbr>ความรู้ ของ<wbr>แต่ละ<wbr>คน โดย<wbr>มี<wbr>วิทยากร<wbr>ผู้<wbr>ทรง<wbr>คุณวุฒิ<wbr>ใน<wbr>แต่ละ<wbr>สาขา<wbr>วิชา การ<wbr>อุทิศ<wbr>เวลา<wbr>และ<wbr>ความรู้ เพื่อ<wbr>สนอง<wbr>พระราชดำริ โดย<wbr>ร่วมกัน<wbr>เขียน<wbr>เรื่อง<wbr>ต่างๆ ขึ้น แบ่งออกเป็น 4 สาขา<wbr>วิชา คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมศาสตร์<wbr>และ<wbr>มนุษยศาสตร์
    ทรง<wbr>ก่อ<wbr>ตั้ง<wbr>กองทุน<wbr>นวฤกษ์ ใน<wbr>มูลนิธิ<wbr>ช่วย<wbr>นัก<wbr>เรียน<wbr>ที่<wbr>ขาดแคลน ใน<wbr>พระ<wbr>บรม<wbr>ราชูปถัมภ์ เพื่อ<wbr>ช่วย<wbr>ให้<wbr>นัก<wbr>เรียน<wbr>ที่<wbr>ขาดแคลน<wbr>ทุนทรัพย์ ได้<wbr>มี<wbr>โอกาส<wbr>เข้ารับ<wbr>การศึกษา<wbr>ใน<wbr>ระดับ<wbr>ประถม<wbr>ศึกษา และ<wbr>ระดับ<wbr>มัธยม<wbr>ศึกษา ทั้ง<wbr>ยัง<wbr>พระ<wbr>ราชทาน<wbr>พระ<wbr>ราชทรัพย์<wbr>ส่วน<wbr>พระ<wbr>องค์ เป็น<wbr>ทุน<wbr>ริเริ่ม<wbr>ในการ<wbr>ก่อสร้าง<wbr>โรงเรียน<wbr>ตาม<wbr>วัด<wbr>ใน<wbr>ชนบท สำหรับ<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>สงเคราะห์<wbr>เด็ก<wbr>ยากจน<wbr>และ<wbr>กำพร้า ให้<wbr>ได้<wbr>มี<wbr>สถาน<wbr>ที่<wbr>สำหรับ<wbr>ศึกษา<wbr>เล่าเรียน โดย<wbr>อาราธนา<wbr>พระภิกษุ<wbr>เป็น<wbr>ครู<wbr>สอน<wbr>ใน<wbr>วิชา<wbr>สามัญ<wbr>ต่างๆ ที่<wbr>ไม่<wbr>ได้<wbr>ขัด<wbr>ต่อ<wbr>พระธรรมวินัย ตลอด<wbr>จน<wbr>ช่วย<wbr>อบรม<wbr>ศีลธรรม<wbr>แก่<wbr>เด็ก<wbr>นักเรียน ทั้ง<wbr>นี้ เป็น<wbr>พระ<wbr>ราช<wbr>ประสงค์<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ให้<wbr>เด็ก<wbr>นักเรียน ได้<wbr>เกิด<wbr>ความสัมพันธ์<wbr>ระหว่าง<wbr>ศาสนา<wbr>กับ<wbr>การศึกษา<wbr>ควบคู่<wbr>กันไป อัน<wbr>จะ<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เยาวชน<wbr>ของ<wbr>ชาติ <wbr>นอก<wbr>จาก<wbr>จะ<wbr>มี<wbr>ความ<wbr>รู้<wbr>ด้าน<wbr>วิชา<wbr>การ<wbr>แล้ว ยัง<wbr>จะ<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>มี<wbr>จิต<wbr>ใจ<wbr>ที่<wbr>ดี ที่<wbr>ตั้ง<wbr>มั่น<wbr>อยู่<wbr>ใน<wbr>ศีลธรรม เพื่อ<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ได้<wbr>เป็น<wbr>พลเมือง<wbr>ดี<wbr>ของ<wbr>ประเทศชาติ<wbr>ต่อไป ใน<wbr>อนาคต
    โรงเรียน<wbr>ร่มเกล้า ก็<wbr>เป็น<wbr>สถาน<wbr>ศึกษา<wbr>ใน<wbr>ระดับ<wbr>มัธยม<wbr>ศึกษา ใน<wbr>หลาย<wbr>จังหวัด<wbr>ที่<wbr>เกิด<wbr>ขึ้น<wbr>จาก<wbr>พระ<wbr>ราชดำริ ที่<wbr>จะ<wbr>ให้<wbr>ทหาร<wbr>ออก<wbr>ไป<wbr>ปฏิบัติ<wbr>ภารกิจ<wbr>ใน<wbr>ท้องที่<wbr>ทุรกันดาร ได้<wbr>ทำ<wbr>ประ<wbr>โยชน์<wbr>ต่อ<wbr>ชุมชน และ<wbr>มี<wbr>ส่วน<wbr>ช่วยเหลือ<wbr>ประชาชน<wbr>ใน<wbr>ด้าน<wbr>การศึกษา ตาม<wbr>โอกาส<wbr>อัน<wbr>ควร โดย<wbr>พระราชทาน<wbr>พระ<wbr>ราชทรัพย์<wbr>ส่วน<wbr>พระ<wbr>องค์ ให้<wbr>ทหาร<wbr>จัด<wbr>สร้าง<wbr>โรงเรียน<wbr>ขึ้น<wbr>ใน<wbr>จังหวัด<wbr>นครพนม จังหวัด<wbr>สกลนคร จังหวัด<wbr>นราธิวาส จังหวัด<wbr>ปราจีนบุรี<wbr>และ<wbr>จังหวัด<wbr>แม่ฮ่องสอน เป็นต้น เพื่อ<wbr>ช่วย<wbr>บรรเทา<wbr>ปัญหา<wbr>การ<wbr>ขาดแคลน<wbr>สถานศึกษา<wbr>สำหรับ<wbr>เยาวชน และ<wbr>ยัง<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>ส่งเสริม<wbr>ความ<wbr>เข้าใจ<wbr>อัน<wbr>ดี ระหว่าง<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ทหาร<wbr>ที่<wbr>ไป<wbr>ปฏิบัติ<wbr>ภารกิจ<wbr>ในพื้นที่<wbr>นั้นๆ กับราษฎร<wbr>เจ้า<wbr>ของ<wbr>ท้อง<wbr>ที่<wbr>อีก<wbr>โสต<wbr>หนึ่ง<wbr>ด้วย ซึ่ง<wbr>ใน<wbr>การ<wbr>ดำเนิน<wbr>งาน<wbr>จัด<wbr>สร้าง<wbr>โรงเรียน ทางฝ่าย<wbr>ทหาร<wbr>ได้<wbr>ติดต่อ<wbr>ประสานงาน<wbr>กับ<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ฝ่าย<wbr>ปกครอง และ<wbr>ฝ่าย<wbr>ศึกษาธิการ เพื่อ<wbr>เลือก<wbr>สถานที่<wbr>ตั้ง<wbr>โรงเรียน<wbr>ที่<wbr>เหมาะสม<wbr>กับ<wbr>ความจำเป็น<wbr>ที่สุด ซึ่ง<wbr>ปรากฎว่า<wbr>ราษฎร<wbr>ใน<wbr>ท้องที่<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>การ<wbr>สร้าง<wbr>โรงเรียน ได้<wbr>พา<wbr>กัน<wbr>ร่วม<wbr>อุทิศ<wbr>แรงกาย<wbr>ช่วย<wbr>ใน<wbr>การ<wbr>ก่อสร้าง ตลอดจน<wbr>อุทิศ<wbr>ทุนทรัพย์<wbr>สมทบ<wbr>เป็น<wbr>ทุน<wbr>ในการ<wbr>จัดซื้อ<wbr>อุปกรณ์<wbr>ต่างๆ ที่<wbr>จะ<wbr>นำ<wbr>ไป<wbr>ใช้<wbr>ใน<wbr>การ<wbr>ก่อสร้าง<wbr>โรงเรียน เพื่อ<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>โดย<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชกุศล<wbr>ด้วย และ<wbr>เมื่อ<wbr>การ<wbr>ก่อ<wbr>สร้าง<wbr>โรงเรียน<wbr>แล้ว<wbr>เสร็จ พระ<wbr>บาท<wbr>สมเด็จ<wbr>พระ<wbr>เจ้า<wbr>อยู่<wbr>หัว ได้<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน<wbr>ไป<wbr>ทรง<wbr>เปิด<wbr>โรงเรียน<wbr>เหล่า<wbr>นั้น พร้อม<wbr>ทั้ง<wbr>พระ<wbr>ราชทาน<wbr>นาม<wbr>ว่า โรงเรียน<wbr>ร่มเกล้า ซึ่ง<wbr>ใน<wbr>ปัจจุบัน<wbr>มี<wbr>ทั้ง<wbr>โรงเรียน<wbr>ระดับ<wbr>ประถม<wbr>ศึกษา และ<wbr>ระดับ<wbr>มัธยม<wbr>ศึกษา

    <center><hr size="1" width="75%"></center> [SIZE=+2] <center>พระราชกรณียกิจ<wbr>ด้าน<wbr>ความ<wbr>สัมพันธ์กับต่าง<wbr>ประเทศ</center> [/SIZE]
    โดย<wbr>ที่<wbr>พระ<wbr>บาท<wbr>สมเด็จ<wbr>พระ<wbr>เจ้า<wbr>อยู่<wbr>หัว ทรง<wbr>เป็น<wbr>ประมุข<wbr>ของ<wbr>ประเทศ ได้<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราช<wbr>ดำ<wbr>เนิน<wbr>เยือน<wbr>ประเทศ<wbr>ต่างๆ หลาย<wbr>ประเทศ ทั้ง<wbr>ใน<wbr>ทวีป<wbr>เอเชีย ทวีป<wbr>ยุโรป และ<wbr>ทวีป<wbr>อเมริกา<wbr>เหนือ เพื่อ<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>เจริญ<wbr>ทาง<wbr>พระราชไมตรี<wbr>ระหว่าง<wbr>ประเทศ<wbr>ไทย กับ<wbr>บรรดา<wbr>มิตร<wbr>ประเทศ<wbr>เหล่า<wbr>นั้น ที่<wbr>มี<wbr>ความ<wbr>สัมพันธ์<wbr>อัน<wbr>ดี<wbr>อยู่<wbr>แล้ว ให้<wbr>มี<wbr>ความ<wbr>สัมพันธ์<wbr>แน่นแฟ้น<wbr>ยิ่ง<wbr>ขึ้น ทรง<wbr>นำ<wbr>ความ<wbr>ปรารถนา<wbr>ดี<wbr>ของ<wbr>ประชาชน<wbr>ชาวไทย ไป<wbr>ยัง<wbr>ประเทศ<wbr>ต่างๆ นั้นด้วย ทำ<wbr>ให้<wbr>ประเทศไทย<wbr>เป็น<wbr>ที่<wbr>รู้จัก<wbr>กัน<wbr>อย่าง<wbr>กว้างไกล<wbr>มากยิ่งขึ้น นับ<wbr>ว่า<wbr>เป็น<wbr>ประ<wbr>โยชน์<wbr>ต่อ<wbr>ประเทศ<wbr>ไทย<wbr>อย่าง<wbr>มหาศาล และ<wbr>ประเทศ<wbr>ต่างๆ ที่<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน<wbr>ไป<wbr>ทรง<wbr>เจริญ<wbr>ทาง<wbr>พระราชไมตรี<wbr>นั้น มี<wbr>ดังนี้

    • [​IMG]
      [*]เวียดนาม<wbr>ใต้ ระหว่าง<wbr>วัน<wbr>ที่ ๑๘-๒๑ ธันวาคม ๒๕๐๒ ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราชดำเนิน<wbr>เยือน<wbr>ต่างประเทศ<wbr>ครั้งแรก ใน<wbr>รัชกาล<wbr>ปัจจุบัน
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>อินโดนีเซีย ระหว่าง<wbr>วัน<wbr>ที่ ๘-๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๓
      [*]สหภาพ<wbr>พม่า ระหว่าง<wbr>วัน<wbr>ที่ ๒-๕ มีนาคม ๒๕๐๓
      [*]สหรัฐ<wbr>อเมริกา ระหว่าง<wbr>วัน<wbr>ที่ ๑๔ มิถุนายน - ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๐๓
      [*]อังกฤษ ระหว่าง<wbr>วัน<wbr>ที่ ๑๙-๒๓ กรกฎาคม ๒๕๐๓
      [*]สหพันธ์<wbr>สาธารณรัฐ<wbr>เยอรมัน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๕ กรกฎาคม - ๒ สิงหาคม ๒๕๐๓
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>โปรตุเกส ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๒-๒๕ สิงหาคม ๒๕๐๓
      [*]สวิตเซอร์แลนด์ ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒ช-๓๑ สิงหาคม ๒๕๐๓
      [*]เดนมาร์ก ระหว่าง<wbr>วันที่ ๖-๙ กันยายน ๒๕๐๓
      [*]นอร์เวย์ ระหว่าง<wbr>วันที่ ๑๙-๒๑ กันยายน ๒๕๐๓
      [*]สวีเดน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๓-๒๕ กันยายน ๒๕๐๓
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>อิตาลี ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๘ กันยายน - ๑ ตุลาคม ๒๕๐๓
      [*]นครรัฐ<wbr>วาติกัน เมื่อ<wbr>วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๐๓
      [*]เบลเยี่ยม ระหว่าง<wbr>วันที่ ๔-๗ ตุลาคม ๒๕๐๓
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>ฝรั่งเศส ระหว่าง<wbr>วันที่ ๑๑-๑๔ ตุลาคม ๒๕๐๓
      [*]ลักเซมเบอร์ก ระหว่าง<wbr>วันที่ ๑๗-๑๙ ตุลาคม ๒๕๐๓
      [*]เนเธอร์แลนด์ ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๔-๒๗ ตุลาคม ๒๕๐๓
      [*]สเปน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๓-๘ พฤศจิกายน ๒๕๐๓
      [*]สาธารณรัฐอิสลาม<wbr>ปากีสถาน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๑๑-๒๒ มีนาคม ๒๕๐๕
      [*]สหพันธรัฐมลา<wbr>ยา ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๐-๒๗ มิถุนายน ๒๕๐๕
      [*]นิวซีแลนด์ ระหว่าง<wbr>วันที่ ๑๘-๒๖ สิงหาคม ๒๕๐๕
      [*]ออสเตรเลีย ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๖ สิงหาคม - ๑๒ กันยายน ๒๕๐๕
      [*]ญี่ปุ่น ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๗ พฤษภาคม - ๕ มิถุนายน ๒๕๐๖
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>จีน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๕-๘ มิถุนายน ๒๕๐๖
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>ฟิลิปปินส์ ระหว่าง<wbr>วันที่ ๙-๑๔ กรกฎาคม ๒๕๐๖
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>ออสเตรีย ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๙ กันยายน - ๕ ธันวาคม ๒๕๐๗
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>เยอรมัน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๒-๒๘ สิงหาคม ๒๕๐๙ ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราชดำเนิน<wbr>เยือน<wbr>ครั้ง<wbr>ที่<wbr>สอง
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>ออสเตรีย ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๙ กันยายน - ๒ ตุลาคม ๒๕๐๙ ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราชดำเนิน<wbr>เยือน<wbr>ครั้ง<wbr>ที่<wbr>สอง
      [*]อิหร่าน ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๓-๓๐ เมษายน ๒๕๑๐
      [*]สหรัฐอเมริกา ระหว่าง<wbr>วันที่ ๖-๒๐ มิถุนายน ๒๕๑๐ ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราชดำเนิน<wbr>เยือน<wbr>ครั้ง<wbr>ที่<wbr>สอง
      [*]แคนาดา ระหว่าง<wbr>วันที่ ๒๑-๒๔ มิถุนายน ๒๕๑๐
      [*]สาธารณรัฐ<wbr>ประชาธิปไตย<wbr>ประชาชน<wbr>ลาว ระหว่าง<wbr>วันที่ ๘-๙ เมษายน ๒๕๓๗
    เมื่อ<wbr>เสร็จ<wbr>สิ้น<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราชดำเนิน<wbr>เยือน<wbr>ประเทศ<wbr>ต่างๆ แล้ว ก็<wbr>ได้<wbr>ทรง<wbr>ต้อน<wbr>รับ<wbr>พระ<wbr>ราช<wbr>อาคันตุกะ ที่<wbr>เป็น<wbr>ประมุข<wbr>ของ<wbr>ประเทศ<wbr>ต่างๆ ที่<wbr>เสด็จ<wbr>และ<wbr>เดินทาง<wbr>มา<wbr>เยือน<wbr>ประเทศ<wbr>ไทย<wbr>เป็น<wbr>การตอบแทน และ<wbr>บรรดา<wbr>พระ<wbr>ราช<wbr>อาคันตุกะ<wbr>ทั้ง<wbr>หลาย ต่าง<wbr>ก็<wbr>ประทับ<wbr>ใจ<wbr>ใน<wbr>พระ<wbr>ราชวงศ์<wbr>ของ<wbr>ไทย ตลอด<wbr>จน<wbr>ประชา<wbr>ชน<wbr>ชาว<wbr>ไทย<wbr>อย่าง<wbr>ทั่ว<wbr>หน้า

    <center><hr size="1" width="75%"></center> [SIZE=+2] <center>พระราชกรณียกิจ<wbr>ด้าน<wbr>การแพทย์</center> [/SIZE]
    [​IMG] ในการ<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน<wbr>ไป<wbr>ทรงเยี่ยม<wbr>ราษฎร<wbr>ตาม<wbr>ท้องที่<wbr>ต่างๆ ทุก<wbr>ครั้ง จะ<wbr>ทรง<wbr>พระ<wbr>กรุณา<wbr>โปรดเกล้าฯ ให้<wbr>มี<wbr>คณะ<wbr>แพทย์<wbr>ที่<wbr>ประกอบ<wbr>ด้วย ผู้<wbr>เชี่ยว<wbr>ชาญ<wbr>ใน<wbr>แต่<wbr>ละ<wbr>สาขา<wbr>จาก<wbr>โรง<wbr>พยาบาล<wbr>ต่างๆ และ<wbr>ล้วน<wbr>เป็น<wbr>อาสา<wbr>สมัคร<wbr>ทั้ง<wbr>สิ้น โดย<wbr>เสด็จ<wbr>พระ<wbr>ราช<wbr>ดำเนิน<wbr>ไป<wbr>ใน<wbr>ขบวน<wbr>อย่าง<wbr>ใกล้ชิด พร้อม<wbr>ด้วย<wbr>เวชภัณฑ์<wbr>และเครื่องมือ<wbr>แพทย์<wbr>ครบครัน พร้อมที่จะ<wbr>ให้<wbr>การ<wbr>รักษา<wbr>พยาบาล<wbr>ราษฎร ผู้<wbr>ป่วยไข้<wbr>ได้<wbr>ทัน<wbr>ที
    นอก<wbr>จาก<wbr>นั้น ยัง<wbr>มี<wbr>โครง<wbr>การ<wbr>ทันตกรรม<wbr>พระ<wbr>ราชทาน ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>พระ<wbr>ราช<wbr>ดำริ<wbr>ที่<wbr>ให้<wbr>ทันตแพทย์<wbr>อาสาสมัคร ได้<wbr>เดิน<wbr>ทาง<wbr>ออก<wbr>ไป<wbr>ช่วยเหลือ<wbr>บำบัด<wbr>โรค<wbr>เกี่ยวกับ<wbr>ฟัน ตลอด<wbr>จน<wbr>สอน<wbr>การ<wbr>รักษา<wbr>อนามัย<wbr>ของ<wbr>ปาก<wbr>และ<wbr>ฟัน แก่<wbr>เด็กนักเรียน<wbr>และ<wbr>ราษฎร<wbr>ที่<wbr>อาศัย<wbr>อยู่<wbr>ใน<wbr>ท้องที่<wbr>ทุรกันดาร และ<wbr>ห่าง<wbr>ไกล<wbr>จาก<wbr>แพทย์<wbr>ทั่ว<wbr>ทุก<wbr>ภาค โดย<wbr>ให้<wbr>การ<wbr>บริการ<wbr>รักษา<wbr>โรค<wbr>ฟัน โดย<wbr>ไม่<wbr>คิด<wbr>มูลค่าใน<wbr>การ<wbr>แพทย์<wbr>เคลื่อน<wbr>ที่
    สำหรับ<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน<wbr>ทรง<wbr>เยี่ยม<wbr>วัด<wbr>ทุก<wbr>แห่ง ซึ่ง<wbr>นับ<wbr>เป็น<wbr>ศูนย์<wbr>กลาง<wbr>ของ<wbr>ชุมชน<wbr>ใน<wbr>ชนบท โดย<wbr>จะ<wbr>พระ<wbr>ราชทาน<wbr>กล่อง<wbr>ยา<wbr>แก่<wbr>วัด เพื่อ<wbr>พระ<wbr>ภิกษุ<wbr>ใช้<wbr>เมื่อ<wbr>เกิด<wbr>อาพาธ และ<wbr>เพื่อ<wbr>แจกจ่าย<wbr>แก่<wbr>ราษฎร<wbr>ผู้ป่วย<wbr>เจ็บ<wbr>ใน<wbr>หมู่บ้าน<wbr>นั้นๆ ส่วน<wbr>ใน<wbr>การ<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน<wbr>ไป<wbr>เยี่ยม<wbr>หน่วย<wbr>ทหาร ตำรวจ และ<wbr>อาสาสมัคร ที่<wbr>ออก<wbr>ไป<wbr>ตั้ง<wbr>ฐาน<wbr>ปฏิบัติ<wbr>การ<wbr>ใน<wbr>ท้อง<wbr>ที่<wbr>ทุรกันดาร ก็<wbr>จะ<wbr>พระ<wbr>ราชทาน<wbr>สิ่ง<wbr>ของ<wbr>ที่<wbr>จำ<wbr>เป็น<wbr>ต่างๆ รวม<wbr>ทั้ง<wbr>ยารักษาโรค<wbr>สำหรับ<wbr>ใช้<wbr>ใน<wbr>หมู่<wbr>เจ้าหน้าที่ และ<wbr>ใช้<wbr>ใน<wbr>การ<wbr>รักษา<wbr>พยาบาล และ<wbr>เพื่อ<wbr>แจก<wbr>จ่าย<wbr>แก่<wbr>ราษฎร<wbr>ใน<wbr>ท้อง<wbr>ที่ ที่<wbr>มา<wbr>ขอ<wbr>ความ<wbr>ช่วย<wbr>เหลือ อัน<wbr>จะ<wbr>ทำ<wbr>ให้<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ฝ่าย<wbr>ปราบปราม และ<wbr>ประชาชน<wbr>ใน<wbr>พื้น<wbr>ที่<wbr>ปฏิบัติ<wbr>การ ได้<wbr>มี<wbr>ความ<wbr>เข้า<wbr>ใจ<wbr>อัน<wbr>ดี<wbr>ต่อ<wbr>กัน รู้<wbr>จัก<wbr>ช่วย<wbr>เหลือ<wbr>ซึ่ง<wbr>กัน<wbr>และ<wbr>กัน
    ทางด้าน<wbr>หน่วย<wbr>แพทย์หลวง<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ต้อง<wbr>ตาม<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน<wbr>ไป ณ ที่<wbr>ประทับ<wbr>แรม<wbr>ทุก<wbr>แห่งนั้น จะ<wbr>มี<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ให้<wbr>การ<wbr>รักษา<wbr>พยาบาล<wbr>ราษฎร ผู้<wbr>มา<wbr>ขอ<wbr>รับ<wbr>การ<wbr>รักษา ไม่<wbr>ต้อง<wbr>เสีย<wbr>ค่า<wbr>ใช้<wbr>จ่าย<wbr>แต่<wbr>ประการ<wbr>ใด นอก<wbr>จาก<wbr>นั้น หน่วยแพทย์หลวง<wbr>ยัง<wbr>จัด<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ออก<wbr>เดิน<wbr>ทาง ไป<wbr>รักษา<wbr>ราษฎร<wbr>ผู้<wbr>ป่วย<wbr>เจ็บ ตาม<wbr>หมู่<wbr>บ้าน<wbr>ที่<wbr>อยู่<wbr>ห่าง<wbr>ไกล<wbr>ออก<wbr>ไป<wbr>อีก<wbr>ด้วย โดย<wbr>ได้<wbr>รับ<wbr>ความ<wbr>ร่วม<wbr>มือ<wbr>จาก<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ฝ่าย<wbr>ปกครอง ซึ่ง<wbr>เป็น<wbr>ผู้<wbr>แนะ<wbr>นำ<wbr>สถานที่<wbr>และ<wbr>ร่วม<wbr>เดิน<wbr>ทางไป<wbr>ด้วย สำหรับ<wbr>ราษฎร<wbr>ผู้<wbr>เจ็บ<wbr>ป่วย<wbr>ราย<wbr>ที่<wbr>มี<wbr>อาการ<wbr>หนัก หรือ<wbr>จำเป็น<wbr>ที่<wbr>จะ<wbr>ต้อง<wbr>ได้รับ<wbr>การ<wbr>ตรวจรักษา<wbr>เพิ่มเติม<wbr>นั้น ก็<wbr>จะ<wbr>ทรง<wbr>พระ<wbr>กรุณา<wbr>โปรดเกล้าฯ ให้<wbr>ข้า<wbr>ราช<wbr>บริพาร<wbr>ที่<wbr>ตาม<wbr>เสด็จ<wbr>พระราชดำเนิน ทำ<wbr>การ<wbr>บันทึก<wbr>ราย<wbr>ชื่อ อาชีพ ที่<wbr>อยู่ และ<wbr>อาการ<wbr>โดย<wbr>ละเอียด โดย<wbr>ตรวจ<wbr>สอบ<wbr>ความ<wbr>ถูก<wbr>ต้อง<wbr>กับ<wbr>เจ้าหน้าที่<wbr>ฝ่าย<wbr>ปกครอง และ<wbr>มี<wbr>สำเนา<wbr>ให้<wbr>รับทราบ<wbr>เพื่อ<wbr>ติดต่อ<wbr>ประสานงาน<wbr>ต่อไป ใน<wbr>การ<wbr>พิจารณา<wbr>ส่ง<wbr>ผู้<wbr>ป่วย<wbr>ไป<wbr>รับ<wbr>การ<wbr>รักษา<wbr>ต่อ ตาม<wbr>ความ<wbr>เห็น<wbr>ของ<wbr>แพทย์<wbr>ผู้<wbr>ทำ<wbr>การ<wbr>ตรวจ
     
  6. vibe

    vibe เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    731
    ค่าพลัง:
    +3,146
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="left" valign="top" width="430"><center> [SIZE=+2] บทเพลง<wbr>พระราชนิพนธ์
    ใน<wbr>พระบาทสมเด็จ<wbr>พระ<wbr>ปรมินทร<wbr>มหาภูมิพล<wbr>อดุลยเดช<wbr>มหาราช
    </center>
    <center> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr align="left" valign="middle"><td>1. </td> <td>แสงเทียน (Saeng Tien)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>2. </td> <td>Candlelight Blues</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>3. </td> <td>ยามเย็น (Yarm Yen)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>4. </td> <td>Love at Sundown</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>5. </td> <td>สายฝน (Sai Fon)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>6. </td> <td>Falling Rain</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>7. </td> <td>ใกล้รุ่ง (Klai Roong)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>8. </td> <td>Near Dawn</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>9. </td> <td>ชะตาชีวิต (Chata Cheewit)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>10. </td> <td>H.M. Blues</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>11. </td> <td>ดวงใจกับความรัก (Duang Jai Kap Kwarm Ruk)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>12. </td> <td>Never Mind the Hungry Men's Blues</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>13. </td> <td>อาทิตย์อับแสง (Artit Up Saeng)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>14. </td> <td>Blue Day</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>15. </td> <td>เทวาพาคู่ฝัน (Dewa Pa Ku Fun)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>16. </td> <td>Dream of Love Dream of You</td> <td>
    </td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>17. </td> <td>มหาจุฬาลงกรณ์ (Maha Chulalongkorn)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>18. </td> <td>คำหวาน (Kam Warn)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>19. </td> <td>Sweet Words</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>20. </td> <td>แก้วตาขวัญใจ (Kaew Ta Kwan Jai)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>21. </td> <td>Lovelight in My Heart</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>22. </td> <td>พรปีใหม่ (Porn Pee Mai)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>23. </td> <td>รักคืนเรือน (Ruk Kuen Ruen)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>24. </td> <td>Love over Again</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>25. </td> <td>ยามค่ำ (Yarm Kam)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>26. </td> <td>Twilight</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>27. </td> <td>ยิ้มสู้ (Yim Soo)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>28. </td> <td>Smiles</td> <td>
    </td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>29. </td> <td>มาร์ชธงไชยเฉลิมพล (Tong Chai Chalerm Pon)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>30. </td> <td>เมื่อโสมส่อง (Muer Soam Song)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>31. </td> <td>I Never Dream</td> <td>
    </td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>32. </td> <td>ลมหนาว (Lom Naw)</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>33. </td> <td>Love in Spring</td> <td>
    </td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>34. </td> <td>ศุกร์สัญลักษณ์ (Suk Sanyaluk)</td> <td>
    </td> </tr> <tr align="left" valign="middle"><td>35. </td> <td>Friday Night Rag</td> <td>[​IMG] [​IMG]</td> </tr> </tbody></table> </center> </td> </tr></tbody></table> [/SIZE]


    ลิขสิทธิ์ในบทเพลงทั้งหมดเป็นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช

    http://kanchanapisek.or.th/royal-music/index.th.html

     
  7. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,280
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,001
    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนานครับ
     
  8. รถถัง4

    รถถัง4 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    108
    ค่าพลัง:
    +20
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">คุยกับทีมงาน:

    ด้วยปรากฏว่า ได้มีกลุ่มบุคคล ผู้ไม่หวังดีต่อ “ในหลวง” ซึ่งทรงเป็นที่รักเคารพและเทอดทูนของปวงชนชาว ไทย ด้วยการทำคลิปวิดีโอ จาบจ้วง หมิ่นเบื้องสูง แล้วเผยแพร่ในเว็บไซต์ที่ให้บริการฟรีคลิปวิดีโอ ต่างๆ เช่น YouTube.Com เป็นต้น ซึ่งได้สร้างความเสียหาย เสื่อมเสียพระเกียรติยศ รวมทั้ง ทำร้ายจิตใจคนไทย ทั้งประเทศ เป็นอย่างยิ่ง
    พวกเราซึ่งเป็นสามัญชนคนธรรมดา ทนไม่ได้กับเหตุการณ์ดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้ขันอาสา ขอถวายงาน ให้ในหลวง เพื่อร่วมกันปกป้องพระเกียรติยศ และเผยแพร่พระราชกรณียกิจ ซึ่งล้วนแล้วเป็นเพื่อประโยชน์ สุขแก่ประสกนิกรของพระองค์อย่างหาที่เปรียบมิได้ ทั้งนี้ เพื่อให้ชาวโลกได้ทราบถึงข้อมูล เข้าใจข้อเท็จ จริง และประจักษ์ว่า ประเทศไทยและประชาชนชาวไทยนั้น โชคดีที่มี พระมหากษัตริย์ ที่สุดประเสริฐ สมควรได้รับการถวายความยกย่องสดุดี
    โปรดอย่าลืมว่า แม้ว่า เราท่านทั้งหลาย จะเป็นคนตัวเล็ก ๆ แต่บัดนี้โอกาสมาถึงพวกเราแล้ว ที่พวกเรา จะได้มีโอกาส ถวายงานให้ "ในหลวง" จะมีสักกี่ครั้ง ที่เราจะมีโอกาส สร้างความดี ได้เช่นนี้ โปรดร่วมกันปกป้องพระเกียรติยศ และเผยแพร่พระราชกรณียกิจ เพื่อ “ในหลวง” ของพวกเรา

    ทีมงาน RoyalVDO.com

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.royalvdo.com/


    ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน พวกเราควรช่วยกันปกป้องพระองค์ท่าน และ คอยสอดส่องเป็น หูเป็นตา ไม่ให้ไอ้พวก หมิ่น จาบจ้วง ได้เผยแพร่ได้อีกครับ ด้วยการเผยแพร่งานโครงการ ต่างๆของ พระองค์ท่าน ให้ แพร่หลายกันครับ<!-- / message --><!-- sig -->
     
  9. GROLY

    GROLY เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    2,019
    ค่าพลัง:
    +8,001
    ขอเสนออีกหนึ่งไอเดียครับ ให้ถ้าใครเจอweb ที่เข้าข่ายหมิ่นให้แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้จัดการครับ
     
  10. tenis

    tenis เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    343
    ค่าพลัง:
    +1,228
    ต้องทำเป็นภาษาอังกฤษเพื่อสื่อสารกับชาวโลก
    คนไทยทุกคน (ที่ดี) รักพระองค์อยู่แล้วคะ
     
  11. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    สมควรอย่างยิ่งครับ และอาจพิจารณาเพิ่มเติมภาษาที่ใช้กันในกลุ่มยุโรป เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมันและสเปน ด้วยนะครับ
     
  12. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    -ข้อความบางตอนจากwww.parliament.go.th/news/news_detail.php?prid=10442 -
    12k -

    -.....เมื่อกำหนดเวลาที่จะเสด็จฯกลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์มาถึง
    ในวันที่ 19 สิงหาคม 2489 ตลอดทางที่รถพระที่นั่งแล่นผ่าน
    ฝูงชนที่มาส่งเสด็จอย่างล้นหลาม ได้ทอดพระเนตรเห็น
    ประชาชนที่แสดงความจงรักภักดี บางแห่งใกล้จนทอดพระ
    เนตรเอย่างไรก็ดี แม้จะทรงตัดสินพระทัยขึ้นครองราชย์ตามการ
    กราบบังคมทูลเชิญของรัฐสภา แต่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังทรง
    มีอีกหนึ่งภารกิจสำคัญ นั่นคือ การเสด็จฯกลับไปทรงศึกษาต่อ
    ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ขณะนั้นจิตใจของประชาชนตก
    อยู่ในความเสียขวัญ ทรงถือเป็นมิ่งขวัญพระองค์เดียวที่
    ประชาชนจะยึดมั่นได้

    พระราชนิพนธ์บันทึกประจำวันบางส่วนของพระบาทสมเด็จ
    พระเจ้าอยู่หัว ระหว่างวันเสด็จฯจากสยามสู่ประเทศสวิตเซอร์
    แลนด์ คงพอจะสะท้อนให้เห็นถึงความรักของประชาชน ที่
    พร้อมใจส่งเสด็จอย่างมืดฟ้ามัวดิน

    “...วันที่ 19 สิงหาคม 2489 วันนี้ถึงวันที่เราจะต้องจากไปแล้ว
    พอถึงเวลาก็ลงจากพระที่นั่งพร้อมกับแม่ ลาเจ้านายฝ่ายใน ณ
    พระที่นั่งชั้นล่างนั้นแล้ว ก็ไปยังวัดพระแก้วเพื่อนมัสการลา
    พระแก้วมรกต และพระภิกษุสงฆ์ ลาเจ้านายฝ่ายหน้า ลาข้า
    ราชการทั้งไทยและฝรั่ง แล้วก็ไปขึ้นรถยนต์ พอรถแล่นออก
    ไปได้ไม่ถึง 200 เมตร มีผู้หญิงคนหนึ่งเข้ามาหยุดรถแล้วส่ง
    กระป๋องให้เราคนละใบ ราชองครักษ์ไม่แน่ใจว่าจะมีอะไรอยู่
    ในนั้น บางทีจะเป็นลูกระเบิด เมื่อมาเปิดดูภายหลังปรากฏว่า
    เป็นทอฟฟี่ที่อร่อยมาก ตามถนนผู้คนช่างมากมายเสียจริงๆ ที่
    ถนนราชดำเนินกลาง ราษฎรเข้ามาใกล้จนชิดรถที่เรานั่ง กลัว
    เหลือเกินว่าล้อรถของเราจะไปทับแข้งทับขาใครเข้าบ้าง รถ
    แล่นฝ่าฝูงคนไปได้อย่างช้าที่สุด ถึงวัดเบญจมบพิตร รถแล่น
    เร็วขึ้นได้บ้าง ตามทางที่ผ่านมา ได้ยินเสียงใครคนหนึ่งร้อง
    ขึ้นมาดังๆว่า “อย่าละทิ้งประชาชน” อยากจะร้องบอกเขาลง
    ไปว่า ถ้าประชาชนไม่ “ทิ้ง” ข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะ “ละทิ้ง”
    อย่างไรได้ แต่รถวิ่งเร็วและเลยไปไกลเสียแล้ว...”
    ห็นดวงหน้าและแววตาชัด ที่บ่งบอกถึงความเสียขวัญ
    อย่างใหญ่หลวง ทั้งเต็มไปด้วยความรักและห่วงใย อันเป็น
    ภาพที่ทำให้อยากรับสั่งกับเขาทุกคน ถึงความหวังดีที่ทรงเข้า
    พระทัย และขอบใจเขาเช่นกัน ขวัญของคนเป็นสิ่งสำคัญ ถ้า
    ขาดกำลังใจ ถ้าขวัญเสียมีแต่ความหวาดระแวง ประเทศจะมี
    แต่ความอ่อนแอและแตกสลาย

    ท่ามกลางเสียงโห่ร้องถวายพระพร ก็มีเสียงหนึ่งที่ตะโกน
    แทรกมาเข้าพระกรรณว่า “ในหลวงอย่าทิ้งประชาชน” ใน
    ขณะนั้นทรงนึกตอบในพระทัยว่า “ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้า
    แล้วข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนได้อย่างไร” .....
    ...เหตุการณ์ในครั้งนั้นเป็นภาพที่ติดอยู่ในพระราชหฤทัยจนไม่
    อาจทรงลืมได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 ธันวาคม 2008
  13. Fort_GORDON

    Fort_GORDON เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2008
    โพสต์:
    286
    ค่าพลัง:
    +488
    -เพิ่มเติมข้อความจากแหล่งที่มาเดียวกัน

    -...และแล้ววันที่ประชาชนชาวไทยรอคอยก็มาถึง เมื่อพระราช
    พิธีบรมราชาภิเษกถูกจัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตามโบราณราช
    ประเพณี ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ พระบรมมหาราชวัง ใน
    วันที่ 5 พฤษภาคม 2493 โดยครั้งนั้น ทรงมีพระปฐมบรมราช
    โองการว่า
     
  14. ภาวิโต

    ภาวิโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    269
    ค่าพลัง:
    +268
    .....“ถ้าประชาชนไม่ทิ้งข้าพเจ้า
    แล้วข้าพเจ้าจะทิ้งประชาชนได้อย่างไร” ......

    ขอพระองค์จงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
     
  15. far away

    far away สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    32
    ค่าพลัง:
    +11
    อยากให้ทำเป็นภาษาต่างประเทศ ยิ่งทุกภาษาจะดีมากๆ ค่ะ
    ขอให้พระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
     
  16. ศรัทธา_พิสุทธิ์

    ศรัทธา_พิสุทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +205
    พระองค์ทรงเป็นมิ่งขวัญของปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่า
     
  17. sutanee

    sutanee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    904
    ค่าพลัง:
    +3,248
    ขอให้พวกเราที่รักและเทิดทูนในหลวง
    ทำหน้าที่พลเมืองที่ดีทำดีคิดดีเพื่อในหลวงของเรา
    อย่าได้หลงไปกับสิ่งหลอกลวงหลอกล่อของคนที่มักใหญ่ไฝ่สูง
    และไม่กตัญญูต่อแผ่นดิน
    เศรษกิจพอเพียงที่ท่านให้ไว้คงเห็นกันชัดขึ้นแล้วใช่ไหม
    ว่าเหมาะกับเราทำให้เรามีภูมิต้านทานทุนนิยมที่ล้มกลิ้งไม่เป็นท่าในตอนนี้
    โลภนักมักลาภหายสุภาษิตไทยว่าทุนนิยมเกิดจากกิเลส
    โลภะคือความอยากได้อยากมีมากกว่าคนอื่นๆก็ทำให้ก่อกรรมคือคิดโกง
    ทำให้เกิดโทสะเมื่อผลประโยชน์ไม่ลงตัว
    และทำให้เกิดความหลงผิดเห็นกงจักรเป็นดอกบัว
     
  18. ภาวิโต

    ภาวิโต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    269
    ค่าพลัง:
    +268
    -.... ปวงชนชาวไทยได้แก่ สถาบันกษัตริย์บวกกับประชาชนชาวไทย คณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาลเป็นผู้รับมอบใช้อำนาจอธิปไตยทั้งสาม

    บางครั้งอำนาจรัฏฐาธิปัตย์ถูกช่วงชิงไปจากปวงชนด้วยการยึดอำนาจหรือการขับไล่รัฐบาล เช่น ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 การยึดอำนาจโดยคณะรสช. และโดย คมช. เป็นต้น แต่ในทางทฤษฎีแล้ว อำนาจรัฏฐาธิปัตย์ไม่เคยหนีไปไหน คงอยู่ที่ประชาชนกับพระมหากษัตริย์ตลอดเวลา....

    -ข้อความบางตอนจาก " ผ่าทางตันด้วยปัญญาและพระบารมี " โดย ปราโมทย์ นาครทรรพ 7 ธันวาคม 2551 18.22 น. : ผู้จัดการ on line
     
  19. ศรัทธา_พิสุทธิ์

    ศรัทธา_พิสุทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    138
    ค่าพลัง:
    +205
    เรื่องเล่าหลังวัง.....ในหลวงกับช่างฉลองพระองค์

    โดย ASTV ผู้จัดการรายวัน 6 ธันวาคม 2551 14.11 น.

    .....
     
  20. อบ.

    อบ. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    430
    ค่าพลัง:
    +1,538
    หลักธรรมของในหลวง


    [​IMG]

    ทศพิธราชธรรม
    หลัก"ทศพิธราชธรรม" หรือ กิจวัตรของพระราชา 10 ประการ ความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน หรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้น แต่บุคคลธรรมดาหรือบุคคลที่เป็นผู้บริหารระดับสูงในทุกองค์กรธุรกิจ ก็ควรพึงใช้หลักธรรมเหล่านี้ ไปใช้ในกิจวัตรประจำวันของแต่ละตัวบุคคลด้วย หลักทศพิธราชธรรม ทั้ง 10 ประการ มีดังนี้

    1. ทาน (charity ; generosity ; liberality) หมายถึง การให้สิ่งของหรือวัตถุภายนอก โดยต้องมีผู้รับโดยตรง เป็นการให้ที่ไม่คิดเอากลับคืน ด้วยคิดบูชาคุณก็ดี หรือด้วยคิดจะอนุเคราะห์ก็ดี เช่นให้ข้าวปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ตลอดจนให้กำลังกาย เช่น ช่วยขวนขวายกระทำในกิจการต่าง ๆ ที่เป็นบุญเป็นกุศล ให้กำลังวาจา เช่น ช่วยพูดให้กิจการดำเนินสำเร็จลุล่วงไปได้ ช่วยพูดไกล่เกลี่ยให้คู่พิพาทตกลงประนีประนอมกันได้โดยสันติวิธี ให้กำลังความคิด เช่น ช่วยคิดช่วยแนะในกิจการต่าง ๆ ให้ปัญญา เช่น ให้ความรู้เพื่อให้เขาช่วยตัวเองได้ด้วยกุศลเจตนา

    2. ศีล (high moral character ; morality) หมายถึง เจตนาที่จะรักษากายกรรมและวจีกรรม ให้ตั้งอยู่เป็นปรกติดี คือ เว้นจากการประพฤติชั่วทั้งทางกายและวาจา มีความประพฤติที่ดีงามในด้านการปกครอง ศีลยังรวมถึงการปฏิบัติตามตัวบทกฎหมาย จารีตธรรมเนียม และขนบประเพณีอันดีงามทั้งปวง ในทางพุทธศาสนาก็หมายถึง ศีล 5 เป็นอย่างต่ำ

    3. บริจาค (self sacrifice) หมายถึง การเสียสละความสำราญส่วนตัว เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนและความสงบเรียบร้อยของประเทศชาติ เป็นการให้ภายในทางจิตใจ ไม่ต้องมีผู้รับก็ได้ รวมทั้งบริจาคคือสละสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์หรือมีประโยชน์น้อยกว่าแคบกว่าเพื่อสิ่งที่มีประโยชน์ยิ่งใหญ่กว่ากว้างกว่า ดังพุทธภาษิตที่ว่า "ผู้มีปัญญา พึงสละสุขพอประมาณเสียเพื่อเห็นแก่สุขอันไพบูลย์" และว่า "พึงสละทรัพย์ เพื่อรักษาอวัยวะอันประเสริฐไว้ พึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิตไว้ และพึงสละทรัพย์อวัยวะ และแม้กระทั่งชีวิต เพื่อรักษาธรรมะ"

    4. อาชชวะ (honesty ; integrity) หมายถึง ความซื่อตรง ความเปิดเผย คือ มีความซื่อตรงต่อตนเอง ต่อหน้าที่ และต่อประชาชน ไม่มีลับลมคมใน ไม่มีมายาสาไถย ปฏิบัติราชกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ที่เรียกว่า "ใจซื่อ มือสะอาด" มีความจริงใจและจริงจังต่อประชาชน ไม่หลอกลวงประชาชน

    5. มัททวะ (kindness and gentleness ; softness) หมายถึง ความอ่อนโยน มีอัธยาศัยละมุนละม่อม สุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่เย่อหยิ่ง กระด้างหยาบคาย ไม่ถือเนื้อถือตัว มีความสง่าอันเกิดจากท่วงทีกิริยาที่สุภาพนุ่มนวลละมุนละไม ลักษณะของความอ่อนโยนนั้น มีทั้งอ่อนโยนภายนอกและอ่อนโยนภายใน

    ที่ว่าอ่อนโยนภายนอกนั้นคือ ความเป็นผู้กิริยามารยาทสุภาพอ่อนน้อมต่อบุคคลที่มาเกี่ยวข้องด้วย เป็นการสร้างสรรค์ความรักความสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่คณะ ในสังคม และประเทศชาติ

    ส่วนอ่อนโยนภายใน หมายถึง ความมีจิตใจอ่อนโยน คือมีจิตใจที่ได้รับการฝึกฝนอบรมมาดีแล้วพร้อมที่จะทำหน้าที่รับใช้ประชาชนด้วยความเต็มอกเต็มใจ ความอ่อนโยนหรือความอ่อนน้อมถ่อมตนนั้นนับว่าเป็น "มงคลอันสูงสุด" ประการ 1 ในมงคล 38 ประการ ในเรื่องนี้ เล่าจื๊อ นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ของจีนได้เคยสอนไว้ว่า "บางสิ่งเพิ่มขึ้นด้วยการทำให้น้อยลง บางสิ่งน้อยลงด้วยการเพิ่มขึ้น"

    6. ตบะ (austerity ; self control ; non - indulgence ; devotion) หมายถึง ความเพียร ความบากบั่น ความก้าวหน้า ความไม่ถอยหลัง ความไม่หยุดอยู่กับที่ ความเป็นผู้มีคุณธรรมที่จะสามารถแผดเผากิเลสตัณหามิให้เข้ามาครอบครองย่ำยีจิตใจ สามารถระงับยับยั้งข่มใจ ไม่ยอมให้หลงใหลหมกหมุ่นในความสุขสำราญจนเกินไป มีความเป็นอยู่สม่ำเสมอ ไม่ลืมตัว ทุ่มเทสติปัญญาความรู้ความสามารถและอุทิศเวลาให้แก่การบำเพ็ญเพียรปฏิบัติหน้าที่การงานให้สำเร็จบริบูรณ์ มีคุณสมบัติที่จะเผ่าผลาญกิเลสและความชั่วโดยประการทั้งปวงให้เบาบางลงหรือให้หมดไปในที่สุด ในลัทธิพราหมณ์ถือว่า ตบะของกษัตริย์หรือนักปกครองนั้น ได้แก่การคุ้มครองไพร่ฟ้าประชาชนให้พ้นจากภัยพิบัติและความทุกข์ยากทั้งมวล

    7. อักโกธะ (non - anger ; non - fury ; freedom from worth) ได้แก่ ความไม่โกรธ หมายถึงความไม่เกรี้ยวกราดลุอำนาจแก่ความโกรธจนเป็นเหตุให้วินิจฉัยความและการกระทำต่าง ๆ ผิดพลาดเสียธรรม มีเมตตาประจำใจไว้คอยระงับความขุ่นเคือง วินิจฉัยและกระทำการด้วยจิตที่ราบเรียบเป็นของตัวเอง ไม่มีความกำเริบในภายใน คือความกลัดกลุ้มอยู่ในใจ และไม่มีความกำเริบในภายนอก คือ การประทุษร้ายผู้อื่น ไม่มีจิตพยาบาทคิดมุ่งร้ายผู้อื่น แม้จักต้องลงโทษผู้กระทำผิด ก็ทำตามเหตุผล ไม่ทำด้วยอำนาจความโกรธ คนที่มีความโกรธอยู่ในอารมณ์นั้นจะอยู่ไม่เป็นสุขเลย

    8. อวิหิงสา (non - violence ; non - oppression) ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน หมายถึง ไม่มีการกระทำอันเบียดเบียดกระทบกระทั่งตนเองหรือผู้อื่น ได้แก่ การไม่ทำตนเองให้ได้รับความลำบากเดือดร้อนโดยไม่จำเป็น ไม่บีบคั้นกดขี่ประชาชนให้ได้รับความเดือดร้อน เช่นด้วยการเก็บภาษีอย่างขูดรีด หรือเกณฑ์แรงงานเกินขนาด รวมทั้งไม่เบียดเบียนสัตว์อื่น ๆ ด้วยเห็นเป็นการสนุกของตน ไม่หลงระเริงในอำนาจอันเป็นเหตุให้ขาดเมตตา หาเหตุเบียดเบียน ลงโทษลงอาญาแก่ประชาชน เพราะความอาฆาตเกลียดชังส่วนตัว

    9. นติ (patience ; forbearance ; tolerance) ได้แก่ ความอดทน อดกลั้น หมายถึง ความอดทนต่อความลำบากตรากตรำ แม้จะมีภาระหน้าที่หรือการงานยุ่งยากเพียงใดก็ไม่ย่นย่อท้อถอย ถึงจะถูกยั่วยุเย้ยหยันหรือเหยียดหยาม กระทบกระเทียบเปรียบเปรย เสียดสีถากถางอย่างใดก็ไม่หมดกำลังใจ ไม่ยอมละทิ้งหน้าที่ อุดมคติและอุดมการณ์อันชอบธรรม ต้องรู้จักอดทน อดกลั้น รู้จักรอคอย ไม่ใจร้อนวู่วาม รวมทั้งอดทนต่อโลภะความอยากได้ อดทนต่อโทสะความโกรธเคือง จนถึงพยาบาทมาดร้ายอดทนต่อโมหะความหลงงมงาย

    ผู้ปกครองประเทศจะต้องอดทนต่อความโง่เขลาของผู้น้อยผู้ใต้ปกครองด้วย เพราะผู้น้อยซึ่งเป็นคนโง่เขลาเบาปัญญา ไร้ความสามารถมักชอบทำอะไรที่จะก่อให้เกิดปัญหาอยู่เสมอ ผู้ปกครองบ้านเมืองจะต้องมีขันติให้มาก ยิ่งเป็นผู้หลักผู้ใหญ่มากเท่าใดมีตำแหน่งสูงส่งมากเท่าใดก็จำต้องมีความอดทนมากเท่านั้น

    10. อวิโรธนะ (non - opposition ; non - diviation from the norm ; conformity to the law) คือความไม่มีพิรุธ หมายถึง ความไม่มีความบกพร่องในคุณธรรม ความไม่คลาดจากธรรม การไม่ปฏิบัติให้ผิดไปจากแนวแห่งความถูกต้อง ความเป็นผู้รู้จักวางตนให้เป็นหลักหนักแน่นในธรรม มีจิตใจมั่นคงไม่เอนเอียงหวั่นไหว เพราะถ้อยคำไม่ว่าดีหรือร้าย หรือเพราะลาภสักการะ หรืออารมณ์ที่ชอบใจและไม่ชอบใจใด ๆ มีจิตใจมั่นคงแน่วแน่ในธรรม ยึดมั่นในตัวบทกฎหมายหลักปกครองประเทศ ตลอดจนระเบียบแบบแผนขนมธรรมเนียม จารีตประเพณีอันดีงาม มิให้วิปลาสคลาดเคลื่อนไปจากคุณธรรม


    พรหมวิหาร 4
    วิหาร แปลว่า ที่อยู่ พรหม แปลว่า ประเสริฐ คำว่า พรหมวิหาร หมายความว่า เอาใจจับอยู่ในอารมณ์แห่งความประเสริฐ หรือเอาใจไปขังไว้ในความดีที่สุด ซึ่งมีคุณธรรม 4 ประการ คือ

    เมตตา แปลว่า ความรัก หมายถึง รักที่มุ่งเพื่อปรารถนาดี โดยไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ จึงจะตรงกับคำว่า เมตตาในที่นี้ ถ้าหวังผลตอบแทนจะเป็นเมตตาที่เจือด้วยกิเลส ไม่ตรงต่อเมตตาในพรหมวิหารนี้ลักษณะของเมตตา ควรสร้างความรู้สึกคุมอารมณ์ไว้ตลอดวัน ว่า เราจะเมตตาสงเคราะห์ เพื่อนที่เกิด แก่ เจ็บ ตาย จะไม่สร้างความลำบากให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ความทุกข์ที่เขามี เราก็มีเสมอเขา ความสุขที่เขามี เราก็สบายใจไปกับเขา รักผู้อื่นเสมอด้วยรักตนเอง

    กรุณา แปลว่า ความสงสาร หมายถึง ความปรานี ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ความสงสารปรานีนี้ก็ไม่หวังผลตอบแทนเช่นเดียวกัน สงเคราะห์สรรพสัตว์ที่มีความทุกข์ให้หมดทุกข์ตามกำลังกาย กำลังปัญญา กำลังทรัพย์ ลักษณะของกรุณา การสงเคราะห์ทั้งทางด้านวัตถุ โดยธรรม ว่าผู้ที่จะสงเคราะห์นั้นขัดข้องทางใด หรือถ้าหาให้ไม่ได้ ก็ชี้ช่องบอกทาง

    มุทิตา แปลว่า มีจิตอ่อนโยน หมายถึง จิตที่ไม่มีความอิจฉาริษยาเจือปน มีอารมณ์สดชื่นแจ่มใสตลอดเวลา คิดอยู่เสมอว่า ถ้าคนทั้งโลกมีความโชคดีด้วยทรัพย์ มีปัญญาเฉลียวฉลาดเหมือนกันทุกคนแล้ว โลกนี้จะเต็มไปด้วยความสุข สงบ ปราศจากอันตรายทั้งปวง คิดยินดี โดยอารมณ์พลอยยินดีนี้ไม่เนื่องเพื่อผลตอบแทน การแสดงออกถึงความยินดีในพรหมวิหาร คือไม่หวังผลตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น

    อุเบกขา แปลว่า ความวางเฉย นั่นคือ มีการวางเฉยต่ออารมณ์ที่มากระทบความวางเฉยในพรหมวิหารนี้ หมายถึง เฉยโดยธรรม คือทรงความยุติธรรมไม่ลำเอียงต่อผู้ใดผู้หนึ่ง


    สัปปุริสธรรม 7
    สัปปุริสธรรม หมายถึง ธรรมทีทำให้คนเป็นสัปบุรุษ หรือ เป็นคนดี มี 7 ประการ คือ

    1) ธัมมัญญุตา (การรู้จักเหตุ) คือ การรู้จักวิเคราะห์สาเหตุของสถานการณ์และความเป็นไปของชีวิตหรือรู้จักหลักความจริง จะคิด จะทำอะไรก็มีหลัก รู้ว่าเมื่อกระทำสิ่งนี้จะได้ผลตอบแทนเป็นความสุข แต่ถ้ากระทำอีกอย่างหนึ่งจะได้ผลเป้นความทุกข์ เช่น ถ้าหมั่นขยันศึกษาเล่าเรียนก็จะได้รับความความรู้ความเข้าใจวิชาการต่างๆ เมื่อถึงเวลาสอบก็จะสามารถสอบได้คะแนนดี เป็นต้น

    2) อัตถัญญุตา (การรู้จักเหตุ) หมายถึง เมื่อมีเหตุก็ย่อมมีผล เมื่อมีปัญหาอันใดเกิดขึ้นเราจะต้องใช้หลักเหตุผลมาพิจารณาปัญหาเหล่านั้น เพราะผลเกิดจากเหตุเสมอ การรู้จักเปรียบเทียบเหตุและผล จะทำให้เราเป็นคนใจกว้างยอมรับฟังเหตุผลของผู้อื่น

    3) อัตตัญญุตา (การรู้จักตน) ความเป็นผู้รู้จักตน คือรู้จักตนเองโดยฐานะ ภาวะ เพศ วัย ความรู้ ความสามารถ และคุณธรรมอื่นๆ มีศรัทธา ศีล สุตตะ จาคะ ปัญญา เป็นต้น แล้วประพฤติตนให้เหมาะสมแก่ภาวะของตน และเมื่อรู้ว่า บกพร่องในเรื่องใด ก็ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น

    4) มัตตัญญุตา (การรู้จักประมาณ) หมายถึง ความพอดี ความพอเหมาะพอสมควรการรู้จักประมาณ คือการร้จักทำทุกสิ่งทุกอย่างหรือดำเนินชีวิตให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม เป็นต้น การ รู้จักประมาณนี้เป็นทางสายกลางที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้บุคคลต่างๆ ได้ประพฤติปฏิบัติกันมา

    5) กาลัญญุตา (การรู้จักกาล) หมายถึง การรู้จักเวลาที่เหมาะสมในการทำกิจกรรมต่างๆ และรู้จักปฏิบัติตนให้ถูกกับกาลเทศะ กล่าวคือ รู้ว่าในเวลาเช่นไรควรจะทำอะไร การรู้จักกาลเวลาจะทำให้ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาณ ไม่ทำให้เสียเวลาโดยเปล่าประโยชน์

    6) ปริสัญญุตา (การรู้จักชุมชน) คือ การรู้จักหมู่คณะหรือกลุ่มชนว่าดีหรือไม่ดีควรคบหาสมาคม ควรเข้าไปอยู่เป็นพวกหรือไม่ เมื่ออยู่ในชุมชนหรือที่ประชุมนั้นๆ ควรว่างตัวอย่างไรควรทำอะไร ควรพูดอย่างไร เช่น เมื่อเข้าหาผู้ใหญ่ควรแสดงอาการนอบน้อมมีสัมมาคารวะ เมื่อเข้าวัดควรสำรวม กาย วาจา ใจ ไม่แสดงอาการตลกคึกคะนอง เป็นต้น ความเป็นผู้รู้จักบริษัท คือรู้จักชุมชนและสังคม รู้กริยาที่จะพึงประพฤติ แล้วประพฤติตนให้เหมาสมต่อชุมชนและสังคมนั้นๆ

    7) ปุคคโลปรปรัญญุตา (การรู้จักบุคคล) ได้แก่ การรู้จักประเภทบุคคลแต่ละคนว่าฉลาดหรือโง่ เป็นคนพาลหรือเป็นบัณฑิต มีความสามารถหรือไม่ มีคุณธรรมหรือไม่ แล้วเลือกครบหาให้เป็นคุณประโยชน์ เลือกใช้ให้เหมาะสมกับกิจการ หรือเพื่อที่ ที่จะปฏิบัติกับเขาได้อย่างเหมาะสมและที่สำคัญก็คือ จะสนทนากับเขาอย่างรู้เรื่องและราบรื่น

    [​IMG][​IMG][​IMG]

    http://king.cmcyber.com/?name=scruple
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 ธันวาคม 2008

แชร์หน้านี้

Loading...