เล่าเรื่องโพธิญาณ (การสร้างบารมีสำหรับผู้ปรารถนาโพธิญาณ)

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย Specialized, 27 มกราคม 2009.

  1. kanlaya_tae

    kanlaya_tae สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +24
    การช่วยเหลือเกื้อกูลและร่วมอนุโมทนาบุญกับคนๆหนึ่งที่ปรารถนาพุทธภูมิ
    มีผลอย่างไรผู้ใดทราบช่วยบอกด้วยค่ะ
     
  2. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,159
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,348
    พระโพธิสัตว์ หรือ ผู้ปราถนาพระโพธิญาณ นั้นนัยว่าคือ 'ผู้ที่ยังข้องแวะอยู่กับสัตว์' คือยังต้องสร้างบารมี ต้องอยู่กับคนหมู่มากเพื่อโปรดสัตว์ และรื้อขนสัตว์ไปยังฝากฝั่งแห่งพระนิพพาน ดังนั้นการสร้างบารมีจึงเข้มข้นกว่าการบำเพ็ญเพื่อเป็นพระอริยเจ้า เพราะพระอริยเจ้านั้นมุ่งตัดกิเลศ ตัดกระแสที่ยังเวียนว่ายตายเกิด ซึ่งอยู่ที่ตัวผู้ปฎิบัติเอง

    ต่างจากพระโพธิสัตว์ที่สร้างบารมีกับผู้คน ดังนั้นการเกื้อกูลพระโพธิ์สัตว์ในกิจการงานต่างๆเพื่อศาสนาถือว่าได้ร่วมเป็นหนึ่งในกระแสของพระโพธิสัตว์เจ้าพระองค์นั้น ซึ่งการสร้างบารมีของท่านจะไม่หยุดจนกว่าจะบรรลุพระโพธิญาณ (ซึ่งอีกนานเท่าใดก็มิอาจทราบได้) กระแสแห่งบุญท่านจึงไม่หยุด มีอยู่เรื่อยๆ กระแสนั้นย่อมวิ่งกลับมาหาผู้เกี่ยวพันเกี่ยวข้องกับท่านเสมอ ยิ่งเป็นลูกหลานหรือบริวารของท่าน ท่านยิ่งต้องมาช่วยเหลือ มาโปรดเสมอเพราะถือเป็นบริษัทของท่านครับ
     
  3. 夜明けの光。

    夜明けの光。 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    88
    ค่าพลัง:
    +96
    สาธุๆบุญใดที่ท่านทั้งหลายได้กระทำตั้งแต่ต้นก็ดีในชาตินี้ก็ดี ข้าพเจ้าขอโมทนากับพระโพธิ์สัตว์ทุกท่านทุกองค์ เทอญ...

    สาธุ สาธุ อนุโมทามิ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 สิงหาคม 2009
  4. pat3112

    pat3112 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    373
    ค่าพลัง:
    +2,904
    ขออนุญาตินำธรรมมะครูอาจารย์ให้ใคร่ครวญเป็นแนวการวางกำลังใจครับ
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="themeData" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_themedata.thmx"><link rel="colorSchemeMapping" href="file:///C:%5CUsers%5Ck%5CAppData%5CLocal%5CTemp%5Cmsohtmlclip1%5C01%5Cclip_colorschememapping.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:TrackMoves/> <w:TrackFormatting/> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:DoNotPromoteQF/> <w:LidThemeOther>EN-US</w:LidThemeOther> <w:LidThemeAsian>X-NONE</w:LidThemeAsian> <w:LidThemeComplexScript>TH</w:LidThemeComplexScript> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> <w:SplitPgBreakAndParaMark/> <w:DontVertAlignCellWithSp/> <w:DontBreakConstrainedForcedTables/> <w:DontVertAlignInTxbx/> <w:Word11KerningPairs/> <w:CachedColBalance/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> <m:mathPr> <m:mathFont m:val="Cambria Math"/> <m:brkBin m:val="before"/> <m:brkBinSub m:val="--"/> <m:smallFrac m:val="off"/> <m:dispDef/> <m:lMargin m:val="0"/> <m:rMargin m:val="0"/> <m:defJc m:val="centerGroup"/> <m:wrapIndent m:val="1440"/> <m:intLim m:val="subSup"/> <m:naryLim m:val="undOvr"/> </m:mathPr></w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" DefUnhideWhenUsed="true" DefSemiHidden="true" DefQFormat="false" DefPriority="99" LatentStyleCount="267"> <w:LsdException Locked="false" Priority="0" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Normal"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="heading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="9" QFormat="true" Name="heading 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 7"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 8"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" Name="toc 9"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="35" QFormat="true" Name="caption"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="10" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" Name="Default Paragraph Font"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="11" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtitle"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="22" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Strong"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="20" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="59" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Table Grid"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Placeholder Text"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="1" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="No Spacing"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Revision"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="34" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="List Paragraph"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="29" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="30" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Quote"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 1"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 2"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 3"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 4"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 5"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="60" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="61" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="62" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Light Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="63" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="64" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Shading 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="65" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="66" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium List 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="67" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 1 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="68" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 2 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="69" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Medium Grid 3 Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="70" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Dark List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="71" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Shading Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="72" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful List Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="73" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" Name="Colorful Grid Accent 6"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="19" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="21" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Emphasis"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="31" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Subtle Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="32" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Intense Reference"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="33" SemiHidden="false" UnhideWhenUsed="false" QFormat="true" Name="Book Title"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="37" Name="Bibliography"/> <w:LsdException Locked="false" Priority="39" QFormat="true" Name="TOC Heading"/> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-2130706429 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cambria Math"; panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Calibri; panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-520082689 -1073717157 41 0 66047 0;} @font-face {font-family:Verdana; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:-1593833729 1073750107 16 0 415 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-unhide:no; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; margin-top:0cm; margin-right:0cm; margin-bottom:10.0pt; margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} span.apple-style-span {mso-style-name:apple-style-span; mso-style-unhide:no;} span.apple-converted-space {mso-style-name:apple-converted-space; mso-style-unhide:no;} .MsoChpDefault {mso-style-type:export-only; mso-default-props:yes; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:Calibri; mso-fareast-theme-font:minor-latin; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin; mso-bidi-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-theme-font:minor-bidi;} .MsoPapDefault {mso-style-type:export-only; margin-bottom:10.0pt; line-height:115%;} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt; mso-header-margin:35.4pt; mso-footer-margin:35.4pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-priority:99; mso-style-qformat:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin-top:0cm; mso-para-margin-right:0cm; mso-para-margin-bottom:10.0pt; mso-para-margin-left:0cm; line-height:115%; mso-pagination:widow-orphan; font-size:11.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Calibri","sans-serif"; mso-ascii-font-family:Calibri; mso-ascii-theme-font:minor-latin; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast; mso-hansi-font-family:Calibri; mso-hansi-theme-font:minor-latin;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot](*)หลวงพ่อฤาษีทรงเทศน์ไว้ครับ(*)[/FONT][FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]บารมีของพระโพธิสัตว์นั้น แม้จะเป็นการเริ่มต้นแห่งการปรารถนาพุทธภูมิกำลังใจเต็มเปี่ยมด้วยเมตตาปรานี ก็จะมีบริษัทมาก จะมีบริวารมากเป็นการฝึกกำลังใจของนักปฏิบัติเพื่อจะได้ซ้อมกำลังใจของเราว่ามีความหนักแน่นเพียงใด[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]นักปรารถนาพุทธภูมิจะต้องมีทั้งขันติและโสรัจจะ ขันติอดทนต่อความยากลำบากทุกประการ เพื่อความสุขของปวงชน โสรัจจะแม้จะกระทบกระทั่งทำให้ใจตนไม่สบายเพียงใดก็ตาม ก็ทำหน้าแช่มชื้นไว้เสมอนี่ก้าวแรกสำหรับพุทธภูมิ และกำลังใจอีกส่วนหนึ่งที่จะเว้นไม่ได้นั่นคือ พระนิพพานจงอย่าคิดว่าถ้าจิตเราเกาะพระนิพพานแล้วความเป็นพุทธภูมิจะหายไปถ้ามีอารมณ์อย่างนี้ต้องถือว่า เป็นผู้มีกำลังใจต่ำ ก้าวไม่ถึงก้าวสำคัญของพุทธภูมิ[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]พุทธภูมิจะต้องมีความรู้สึกอยู่เสมอว่าเราเป็นผู้ที่ต้องการพระนิพพานอารมณ์ใดที่องค์สมเด็จพระพิชิตมารทรงแนะนำในด้านวิปัสสนาญาณ ต้องเกาะให้ติดและมีกำลังจิตใช้ปัญญาพิจารณาไว้เสมอ เพื่อความสุขของจิต เพื่อปัญญาเลิศแล้วก็มีจิตตั้งไว้เสมอว่า ถ้าหากจิตของเราบริสุทธิ์ผุดผ่องเมื่อไหร่เมื่อนั้นบารมีของเรานั้นไซร้ จะเข้าเต็มเปี่ยมในขั้น พุทธวิสัย ชื่อว่าการที่เราจะเข้าพระนิพพานคนเดียว เราไม่เข้าใจ มองไว้เข้าใจว่าบุคคลใดที่มีความทุกข์ในโลกที่ยังมีความฉลาดไม่พอบุคคลนั้นเราเองจะเป็นผู้อุ้มเขาไปสู่แดนเอกันตบรมสุขคือพระนิพพาน[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]อันนี้เป็นกำลังใจของท่านที่ปรารถนาพระโพธิญาณ[/FONT][FONT=&quot]

    [/FONT]
    [FONT=&quot]พุทธภูมิมีจุดดึงมากเพราะเกี่ยวกับครู มีหน้าที่ในการเป็นครู การที่จะเป็นครูเขานี่ จะต้องลำบากทุกอย่างจะต้องผ่านหมด พวกพุทธภูมินี่ถ้าไม่จบกรรมฐาน ๔๐ กอง ยังไม่ไปหรอกต้องล่อกันมาเป็นแสนชาติเลย ไม่ใช่ชาติเดียวนะ ไม่ใช่ชาติสุดท้ายก็ได้ ๔๐ ไม่ใช่ต้องว่ากันมาเป็นแสนชาติ สังเกตดูพระพุทธเจ้า ท่านได้อภิญญามาตลอดท่านเหาะตลอด[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot](*)หลวงปู่ดู่ทรงเทศน์ไว้ครับ<o>(*)</o>[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๓ วันหนึ่ง ขณะที่ผู้เขียนกำลังนั่งคุยกับหลวงปู่ ท่านได้ถามผู้เขียนว่า "เคยได้ยินเรื่องการแบ่งภาคไหม" ผู้เขียนเรียนตอบท่านว่า "เคยครับ ในเรื่องรามเกียรติ์ พระรามแบ่งภาคมาจากพระนารายณ์ มีจริงหรือครับหลวงปู่" หลวงปู่ท่านนิ่งอยู่อึดใจหนึ่งแล้วตอบว่า "มีจริงเหมือนกัน อย่างหลวงปู่ทวดแบ่งภาคมาเกิดไงละ" เกี่ยวกับเรื่องนี้ เคยมีนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียนถามหลวงปู่ ซึ่งหลวงปู่ตอบว่า "มี...แต่ทำได้ในพวกหน่อพุทธภูมิ" หลวงปู่ท่านเคยบอกผู้เขียนว่า "แกรู้ไหมว่า ในหลวงท่านเป็นใคร ท่านคือผู้ปรารถนาพุทธภูมิ กำลังใจของท่านพวกนี้จะต้องเป็นผู้นำหมู่คณะ ดูอย่างวัวยังมีจ่าฝูง นกก็ต้องมีหัวหน้าฝูง วัดก็ต้องมีเจ้าอาวาส อย่างหลวงพ่อใหญ่ (พระโบราณคณิสร อดีตเจ้าอาวาสวัดสะแก) แต่หน่อพุทธภูมิที่มีบารมีเต็มแล้ว สูงแล้ว เขามักจะไม่เป็นกษัตริย์ เพราะจะมีภาระหนักหน่วง ส่วนใหญ่เขามักเป็นคนธรรมดาแล้วบวชพระ แต่จะบำเพ็ญบารมีจนในที่สุดจะกระเทือนถึงพระราชวงศ์เอง พระเจ้าแผ่นดินองค์นี้ท่านมีบุญมาก และเป็นแบบอย่างให้ข้าราชการผู้ใหญ่ทำตาม"[/FONT][FONT=&quot]


    ผู้เขียนจึงเรียนถามท่านต่อไปว่า "หลวงปู่ครับ หน่อพุทธภูมิที่บารมีเต็มแล้ว ท่านก็ไม่ต้องมาเกิดแล้วใช่ไหม รอการตรัสรู้เลยที่ชั้นดุสิต หรืออย่างหลวงปู่ก็ไม่ต้องมาเกิดแล้วใช่ไหมครับ" หลวงปู่ตอบว่า "กำลังของพุทธภูมิมีหน้าที่ที่จะทำให้มหาชนมีความสุข ถ้ามีคนเรียกร้องหรือบ้านเมืองเกิดยุคเข็ญก็ต้องลงมาช่วย จะคิดเอาแต่สบายได้ยังไง นั่นไม่ใช่ความคิดของหน่อพุทธภูมิ อย่างนี้พระอรหันต์สำเร็จแล้ว ท่านก็ไม่ต้องยุ่งกับใคร ไม่ต้องทำอะไรแล้วซิ" หลวงปู่ท่านตอบคำถามของผู้เขียนเสร็จแล้ว ท่านปรารภถึงการจัดการเรื่องศพของท่านต่อไปว่า "ถ้าข้าตายแล้วอย่าเก็บศพไว้นาน เจ็ดวันเผาเลย ไม่เผาก็โยนทิ้ง เดี๋ยวจะกลายเป็นหากินกับศพ"

    ผู้เขียนได้แย้งท่านว่า "กลัววัดจะร้าง" หลวงปู่ท่านตอบว่า "เรื่องเผาไม่เผา ต้องแล้วแต่คำสั่ง ดูอย่างหลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ท่านสั่งไม่ให้เผา เพราะกลัวพระเณรจะอดอยาก แต่สำหรับข้าให้เผา เวลาจะเผาให้เผายืน ข้าจะได้ไปไหนได้" ผู้เขียนจึงถามท่านว่า "หลวงปู่ไม่ไปนิพพานหรือ" ท่านตอบว่า "จะไปได้อย่างไร คนนี้ก็เรียก คนนั้นก็ร้อง ข้าไปแค่หัวตะพานก็พอ ดูอย่างหลวงปู่ทวดซิ มีคนเรียกร้องท่านมากมาย บารมีท่านเต็มท้องฟ้า อย่างข้าเอง คนไหนคิดถึงข้า ข้าก็คิดถึงเขา คนไหนไม่คิดถึงข้า ข้าก็คิดถึงเขา เพราะในวันหนึ่งๆ ข้าต้องอธิษฐานไปให้หมู่คณะทุกวันไม่เคยขาด วันละ ๓ ครั้ง เขาจะได้ไม่เป็นอันตรายทั้งเช้ามืด ตอนเย็น ตอนกลางคืน ก่อนนอน เพื่อเป็นการช่วยเหลือหมู่คณะ"

    ผู้เขียนฟังจบ พร้อมกับสำนึกในเมตตาของหลวงปู่ที่มีต่อลูกศิษย์อย่างมาก หลวงปู่ท่านได้ย้ำด้วยความเมตตาต่อไปอีกว่า "คิดถึงพระครั้งหนึ่ง บารมีพระมาถึงเราไปกลับ ๗ เที่ยว รวมแล้ว ๑๔ ครั้ง ได้กำไรดีไหมล่ะ นี่มีในพระไตรปิฎก พระพุทธเจ้าบอกกับพระอานนท์ ถ้าเราคิดถึงพระได้เหมือนกับคิดถึงแฟนเมื่อไหร่ แสดงว่าจะดีแล้ว"พระโพธิสัตว์ - หน่อพุทธภูมิ - การแบ่งภาค
    ช่วงที่ ๒

    ในเรื่องการแบ่งภาค ตามความเห็นของผู้เขียนเข้าใจว่า ท่านลงมาเกิดทั้งองค์ คงจะไม่ใช่เป็นการแบ่งจิตมาเกิด เนื่องจากหน่อพุทธภูมิที่มีบารมีสูงแล้ว ท่านจะมีพลังจิตสามารถตั้งพุทธนิมิต ธรรมนิมิต สังฆนิมิตได้ ซึ่งรวมเรียกว่าเป็นพลังงานหรือบารมีธรรมที่ท่านสร้างมา ซึ่งหลวงปู่เรียกรวมว่า "ภูตพระเจ้า" นั่นเอง สิ่งเหล่านี้จะเป็นบารมีที่คอยติดตาม รักษาคุ้มครองไม่ให้ออกนอกลู่นอกทางของศาสนา จวบจนกระทั่งท่านได้ปฏิบัติธรรมไปถึงจุดหนึ่ง ทำให้ท่านได้รู้ถึงอดีตที่เคยทำมา ซึ่งตรงกับมงคล ๓๘ ในข้อที่ว่า "ปุพเพจะกตะ ปุญญะตา" บุญที่เคยทำมาแต่ก่อนนั้นเป็นมงคล ดังนั้น ผู้ที่สนใจทางศาสนาได้ จึงถือว่ามีบุญแต่เก่าก่อน มาค้ำชูอุดหนุน บางคนเคยเป็นโจร เมื่อถึงเวลาผลบุญเก่าเข้ามาเสริม ก็สามารถพลิกจิตให้เกิดปัญญาได้ อาทิเช่น พระองคุลีมาล เป็นต้น

    หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี ได้เคยอธิบายถึงท่านที่ได้พระโสดาบัน เมื่อมาเกิดใหม่ ไม่ใช่จะรู้ว่าตนเองเป็นพระอริยบุคคลเลยทีเดียว แต่ต้องมาปฏิบัติธรรมอีกระยะหนึ่ง จึงจะรู้อดีตได้ ซึ่งในหน่อพุทธภูมิก็คงเช่นเดียวกัน หลวงพ่อมหาวีระ ท่านเคยกล่าวถึงหน่อพุทธภูมิที่มีบารมีเต็มขั้น ซึ่งเป็นปรมัตถบารมี จึงจะไม่ตกนรกอีก เสมือนพระโสดาบัน ซึ่งไม่ตกไปสู่อบายภูมิอย่างแน่นอน พระบางองค์อาจบรรลุอรหัตตผล โดยไม่ผ่านขั้นตอนโสดาสกิทาและอนาคามีผล ซึ่งผู้เขียนมีความเห็นว่าเป็นไปได้ ๒ กรณีคือ กรณีที่ ๑ พระองค์นี้เคยเป็นพระโสดาบันมาแล้วในอดีต กรณีที่ ๒ คือ พระองค์นั้นบรรลุอรหัตตผลโดยฉับพลันทันทีตลอดสายเช่น การบรรลุอรหัตตผลของพระสีวลี เริ่มตั้งแต่เป็นเณรได้เป็นพระโสดาบัน เมื่อท่านมาบวชเป็นพระ ในขณะที่ปลงผมจนกระทั่งเป็นพระเรียบร้อย ท่านก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ทันทีพระโพธิสัตว์ - หน่อพุทธภูมิ - การแบ่งภาค
    ช่วงที่ ๓

    หน่อพุทธภูมิที่มีการสร้างบารมีถึง ๓๐ ทัศน์ มีอยู่อย่างหนึ่งคือ ปัญญาบารมีขั้นปรมัตถ์ จึงทำให้ท่านไม่ต้องไปอบายภูมิ เพราะท่านล่วงรู้ถึงสัจจะธรรมต่างๆ ทำให้ไม่หลงตน ผู้เขียนเคยกราบเรียนถามหลวงปู่โดยอ้างพระไตรปิฎก ซึ่งได้กล่าวถึงบุญที่ถวายทานกับพระอริยะขั้นต่างๆ กำลังบุญไม่เสมอกัน แต่ในพระไตรปิฎกไม่ได้กล่าวถึงหน่อพุทธภูมิ หลวงปู่ท่านได้ตอบผู้เขียนว่า "หน่อพุทธภูมิ ถ้าเปรียบไปแล้ว ก็คือ พระอนาคามี เพราะกำลังจะสำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า แต่จัดเป็นพระอนาคามีชั้นพิเศษ คือเหมือนกันแต่ท่านยังไม่เอา หลวงปู่ท่านจึงยังไม่สอนใครถึงนิพพาน เพราะถึงไม่ใช่กิจของท่าน แต่ท่านรู้ทั้งนั้น บารมีทั้ง ๑๖ อสงไขย ไม่รู้ได้อย่างไร หลวงปู่ทวด จิตท่านยังมีจุดดำอยู่ แกว่าจริงไหม" ผู้เขียนตอบว่า "ถ้าไม่มีท่านก็สำเร็จแล้วซิครับ แต่จุดดำนั้นเป็นจุดของความเมตตา ที่ท่านจะโปรดสัตว์ เพื่อจะให้สมกับคำว่า ศรีอริยเมตไตรย ดังนั้น จุดดำนี้ผมถือว่า มีค่าน้อยมากตัดทิ้งไปได้เลย" หลวงปู่ท่านพยักหน้ายิ้มรับ และทำให้ผู้เขียนเข้าใจถึงพระธาตุหลวงปู่ทวด ที่ท่านเสด็จมาเอง สัณฐานค่อนข้างกลม สีน้ำตาลดำ หลวงปู่ท่านบอกว่า คือพระธาตุหลวงปู่ทวด ซึ่งถ้าเราอ่านตามพระไตรปิฎก พระธาตุจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อสำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้วเท่านั้น ไม่มีการกล่าวถึงพระธาตุจากหน่อพุทธภูมิเลย เพราะท่านก็เปรียบเสมือนพระผู้บริสุทธิ์ การซักฟอกธาตุขันธ์จึงย่อมเป็นไปได้ ทำให้เข้าใจถึงฟันและเกศาของหลวงปู่ที่เป็นพระธาตุเช่นกัน ผู้เขียนนึกถึงคำพูดของหลวงพ่อมหาวีระ ที่กล่าวถึงพระโพธิสัตว์ที่มีบารมีสูง พระอรหันต์ยังให้ความเคารพ เมื่อผู้เขียนกราบเรียนถามหลวงปู่ ท่านตอบว่า "คงจะจริง ดูอย่างหลวงปู่ทวดนั่นไง เวลาปลุกเสกพระ พระโดยมากก็ร้องขอความช่วยเหลือจากท่าน"พระโพธิสัตว์ - หน่อพุทธภูมิ - การแบ่งภาค
    ช่วงที่ ๔

    หลวงปู่ท่านเล่าให้ผู้เขียนฟังในวันหนึ่ง ถึงหมอจีนที่มารักษาท่าน โดยการจับชีพจรเพื่อตรวจอาการโรคหรือที่เรียกว่า หมอแมะ หมอบอกว่า หลวงปู่มีพระเต็มไปหมดทั้งตัว ท่านถามเหตุผลกับผู้เขียน ซึ่งผู้เขียนพิจารณาแล้วนึกถึงเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ชนิดหนึ่ง ใช้วัดการเต้นของชีพจร ถ้าเป็นผู้มีสมาธิดี การเต้นของชีพจรจะราบเรียบ การใช้ออกซิเจนจะน้อย แต่ในกรณีหลวงปู่ หมอใช้วิทยาการทางจิตตรวจสอบพบว่า การเต้นของชีพจรราบเรียบ ทั้งๆ ที่หลวงปู่นั่งอยู่ในอิริยาบทกำลังคุย คือไม่ได้นั่งสมาธิ นั่นแสดงว่า จิตของท่านเป็นสมาธิตลอดเวลา หรือจิตไม่มีความคิดปรุงแต่ง ทางหนังจีนกำลังภายในเรียกว่า ท่าไร้อารมณ์ ลักษณะเช่นนี้ เข้าลักษณะทางพุทธ คือ อารมณ์ของพระอรหันต์ เป็นลักษณะของผู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติจิตขั้นสูง ทำให้นึกถึงหลวงปู่ปาน ที่กล่าวไว้ในประวัติของท่าน ในขณะที่ท่านกำลังคุยกับญาติโยม แต่อีกจิตหนึ่งสามารถเสกน้ำมนต์ไปพร้อมกัน หรือผู้เขียนประสบมาด้วยตัวเองกับหลวงพ่อชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี ในขณะที่ท่านนั่งคุยกับผู้เขียนและญาติโยมอยู่นั้น ท่านก็ได้จุดเทียนไว้บนขันน้ำ สักพักหนึ่งก็ได้น้ำมนต์มาพรมให้กับญาติโยมและผู้เขียน โดยท่านไม่ได้นั่งอธิษฐานจิตเลย แม้แต่หลวงปู่เอง ท่านก็ได้ทำอยู่บ่อยๆ เมื่อมีญาติโยมมานิมนต์ท่านไปร่วมพิธีต่างๆ ตั้งแต่พิธีปลุกเสกพระ งานทำบุญบ้าน ฯลฯ

    เพื่อนของผู้เขียนคนหนึ่งเรียนถามหลวงปู่ว่า จะรู้ได้อย่างไรว่าพระองค์ไหนบารมีสูง หลวงปู่มองหน้าผู้เขียนแล้วตอบยิ้มๆ ว่า "อย่างเช่น ท่านนั่งอยู่ที่หนึ่ง แต่อธิษฐานจิตไปช่วยเหลือ ไปได้อีกที่หนึ่ง" เพื่อนของผู้เขียนฟังแล้วรู้สึกงงๆ แต่ผู้เขียนเข้าใจทันที เพราะกำลังพูดคุยอยู่กับท่านพอดี เกี่ยวกับท่านอธิษฐานจิตไปช่วยเหลือในการสร้างรูปหล่อของหลวงปู่ที่กรุงเทพฯ โดยท่านบอกผู้เขียนว่า "ทำมาหลายวันแล้ว อธิษฐานให้หลวงพ่อทวดไปช่วยเหลือ ให้พระไปช่วย เรามีกิจมาก เดี๋ยวลืมจะทำให้เสียงานได้"พระโพธิสัตว์ - หน่อพุทธภูมิ - การแบ่งภาค
    ช่วงที่ ๕

    เกี่ยวกับเรื่องความปรารถนาของหลวงปู่ ผู้เขียนสรุปได้เลยว่า ท่านปรารถนาพุทธภูมิอย่างแน่นอน ผู้เขียนเคยคุยกับลูกศิษย์ของหลวงปู่หลายคน มีคนหนึ่งชื่อ "เช็ง" อยู่วัดสะแก ได้กล่าวถึงหลวงปู่ว่า "หลวงลุงท่านปรารถนาพุทธภูมิ ไม่อย่างนั้น ท่านไม่มานั่งหลังขดหลังแข็งรับญาติโยมอยู่หรอก" มีอยู่ครั้งหนึ่ง ลูกศิษย์หลวงปู่ชื่อ "ปราณี" ได้ถามหลวงปู่เรื่องการไปนิพพานของหลวงปู่ หลวงปู่ตอบว่า "เรื่องอะไรข้าจะไปนิพพาน ข้าหวังเป็นนายร้อย ไม่ใช่หวังเป็นนายสิบ คนอย่างข้าต้องหักยอดฉัตร จึงสมใจ" ซึ่งเป็นการกล่าวจากปากท่านเอง สำหรับผู้เขียนนั้น ท่านบอกความปรารถนานี้เช่นกัน และท่านยังบอกผู้เขียนอีกว่า "เขาว่ากันว่า ข้าจะสำเร็จระหว่างต้นไม้หนึ่งคู่ ข้าเองยังไม่รู้เมื่อไร" ในตอนนั้น ผู้เขียนยังไม่แน่ใจ ได้แต่มองต้นไม้ในวัดสะแกว่าจะเป็นต้นไหน แต่ก็ไม่มี มาตอนหลังจึงเข้าใจในคำพูดของท่าน จนกระทั่งหลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข จังหวัดสิงห์บุรี ท่านมาเยี่ยม เมื่อคราวที่หลวงปู่ไม่สบายก่อนมรณภาพ มีอยู่ครั้งหนึ่ง ซึ่งเป็นครั้งสุดท้าย ก่อนที่หลวงปู่บุดดาจะกลับ ท่านได้พูดกับหลวงปู่ดู่ว่า "วันนี้ผมนำมงกุฎพระพุทธเจ้ามามอบให้คุณ นิมนต์อยู่ต่อเถิด ถ้าไม่อยู่ก็ไม่เป็นไร ที่คุณปรารถนานั้นน่ะ สำเร็จแน่ ต่อไปคุณจะได้เป็นพระพุทธเจ้า" หลวงปู่บุดดาก็ลากลับ ในวันนั้น ผู้ได้ยินหลายคน ลูกศิษย์คนหนึ่งได้เรียนถามหลวงปู่ ถึงความหมายที่หลวงปู่บุดดาพูด ท่านตอบว่า "พระอรหันต์ให้พร เราก็รับไว้ไม่เสียหายอะไร"
    ผู้เขียนเคยปรารภกับหมู่คณะหลายๆ ท่าน ถึงความโชคดีที่มีโอกาสได้อยู่ใกล้ชิดกับพระผู้บริสุทธิ์ และมีเมตตาจนเรากล่าวคำนมัสการได้สนิทใจว่า


    นะโมโพธิสัตโต พรหมปัญโญ สัมมาสัมพุทโธ อนาคตกา[/FONT]
    [FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
  5. เณรสยุมภู

    เณรสยุมภู Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +25
    ผมก็ตั้งปณิธานเป็นพระโปรดโลกอีกองค์หนึ่งเหมือนกันครับ
    ขออนุโมทนาบุญด้วยนะครับ
     
  6. แชมป์คุง

    แชมป์คุง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    212
    ค่าพลัง:
    +279
    อนุโมทนาสาธุการครับ แล้วการที่ตั้งตนเป็นศิษย์ของพระโพธิสัตว์และครับมีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้างครับ
    เมี่ยว วิธีมหัศจรรย์อาตยะหกสะอาด
    สาน สัมพันธ์ดีแปรเปลี่ยนเป็นธาตุ
    กวน เพ่งว่างเพ่งรูปรู้สึกแน่
    อิม เสียงแท้หากได้ยินแสวงหา<SCRIPT type=text/javascript> <!-- vBulletin.register_control("vB_ProfilefieldEditor", "5"); //--> </SCRIPT>
     
  7. centuar

    centuar เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    151
    ค่าพลัง:
    +178
    ร่วมอนุโมทนากับคุณ pat3112<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_2367125", true); </SCRIPT> ด้วยครับ
     
  8. plaspirit

    plaspirit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กันยายน 2008
    โพสต์:
    367
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +1,118
    รบกวนช่วยโพสต์ด้วยครับ

    สาธุ สาธุ อนุโมทามิ

    http://www.beupload.com/download/?726636&A=891933

    คำทำนายของครูบาอาจารย์

    http://www.beupload.com/download/?726637&A=535887

    พุทธทำนาย

    ขอทุกท่านในที่นี้ช่วยกันบอกบุญต่อบุญส่งต่อๆกันไปด้วยครับ ขอขอบพระคุณความเมตตาของทุกท่านในที่นี้ด้วย Thank You!
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 มกราคม 2010
  9. emperron

    emperron เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +432
    ผู้ประกอบด้วยโลกุตรปัญญาอันลึกซึ้ง
    ได้มองเห็นว่า โดยธรรมชาติแท้แล้ว ขันธ์ทั้งห้านั้นว่างเปล่า
    และด้วยเหตุที่เห็นเช่นนั้น จึงได้ก้าวล่วง พ้นจากความทุกข์ทั้งปวงได้
    รูปไม่ต่างจากความว่าง ความว่าง ก็ไม่ต่างไปจากรูป
    รูปคือความว่างนั่นเอง และความว่างก็คือรูปนั่นเอง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็เป็นดังนี้ด้วย
    สารีบุตร ธรรมทั้งหลาย มีธรรมชาติแห่งความว่าง ไม่ได้เกิดขึ้นและไม่ได้ดับลง
    ไม่ได้สะอาดและไม่ได้สกปรก ไม่ได้เพิ่มขึ้นไม่ได้ลดลง
    ดังนั้น ในความว่างจึงไม่มีรูป ไม่มีเวทนา หรือสัญญา ไม่มีสังขาร หรือวิญญาณ
    ไม่มีตาหรือหู ไม่มีจมูกหรือลิ้น ไม่มีกายหรือจิต ไม่มีรูปหรือเสียง ไม่มีกลิ่นหรือรส
    ไม่มีโผฏฐัพพะหรือธรรมารมณ์ ไม่มีโลกแห่งผัสสะ หรือวิญญาณ
    ไม่มีอวิชชา และไม่มีความดับลงแห่งอวิชชา ไม่มีความแก่และความตาย
    และไม่มีความดับลงซึ่งความแก่ และความตาย ไม่มีความทุกข์
    และไม่มีต้นเหตุแห่งความทุกข์ ไม่มีความดับลงแห่งความทุกข์
    และไม่มีมรรคทางให้ถึง ซึ่งความดับลงแห่งความทุกข์
    ไม่มีการประจักษ์แจ้งและไม่มีการลุถึง เพราะไม่มีอะไรที่จะต้องลุถึง
    พระโพธิสัตว์ผู้วางใจในโลกุตรปัญญา จะมีจิตที่เป็นอิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    เพราะจิตของพระองค์เป็นอิสระจาก อุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    พระองค์จึงไม่มีความกลัวใดๆ ก้าวล่วงพ้นไปจากมายาหรือสิ่งลวงตา
    ลุถึงพระนิพพานได้ในที่สุด พระพุทธในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
    ผู้ทรงวางใจในโลกุตรปัญญา ได้ประจักษ์แจ้งแล้วซึ่งภาวะอันตื่นขึ้น
    อันเป็นภาวะที่สมบูรณ์และไม่มีใดอื่นยิ่ง ดังนั้น จงรู้ได้เถิดว่า โลกุตรปัญญา
    เป็นมหาธรรมอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นธรรมแห่งความรู้อันยิ่งใหญ่
    เป็นสิ่งอันไม่มีสิ่งอื่นยิ่งกว่า เป็นมนต์อันไม่มีสิ่งอื่นใดมาเทียบได้ซึ่งจะตัดเสียซึ่งความทุกข์ทั้งปวง
    นี่เป็นสัจจะ เป็นอิสระจากความเท็จทั้งมวล ในใจของตน
    "อัตนา โจทยัตตานัง" จงกล่าวโทษเตือนตนไว้เสมอ
    "สัพพะปาปัสะอกรณัง ละเว้นความชั่ว
    กุสลัสสูปสัมปทา ทำแต่ความดี
    สจิตตะปริโยทปนัง ทำจิตใจให้ผ่องใส
    เอตังพุทธานะสาสะนัง" พระพุทธเจ้าทรงสอนเช่นนี้เหมือนกันหมด
    "อัตตาหิอัตโนนาโถ ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน
    โกหินาโถปโรสิยา ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้
    อัตตาหิสุทันเตนะ เมื่อฝึกตนดีแล้ว
    นาถังลภะติทุลภัง" จะได้ที่พึ่งอันบุคคลอื่นหาได้ยาก
    อาตมาโง่เบาปัญญาขอคุณโยมโปรดชี้แนะด้วยและขอให้คุณโยมเจริญในธรรมยิ่งๆๆไป
     
  10. emperron

    emperron เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +432
    ผลอยู่ที่ฟ้าพ่ายแพ้อยู่ที่คนหลักการง่ายๆๆแค่นี้ขอคุณโยมโปรดพิจารณาด้วย เจริญพร
     
  11. emperron

    emperron เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +432
    หากคนเรายังยึดติดใน โลกและวิญญาณ คนผู้นั้นจะบังเกิดความโกรธ หลง ตัญหา กาม
    แต่หากผู้ใดสามารถละได้ทั้งใน โลกและวิญญาณ บุคคลผู้นั้นนับว่าหาได้ยากยิ่ง
    คนเราเกิดมาไม่รู้กี่ยุค กี่สมัย กี่ภพ กี่ชาต จนหาประมาณมิได้ ในอดีตเคยถูกคนอืนฆ่า เฉีอดเฉือนเนื้อกาย
    ถูกกระทำร้ายทางกายบ้าง ทรัพย์สินบ้าง ทางใจบ้าง หากใจเรายังยึดอยู่จะทำให้เกิดความโกรธ แค้น ความกลัว ระแวง จนขาดสติได้ แต่หากคนใดได้อ่านที่เขียนนี้แล้ว เกิดความกล้า ความพยายาม และความสำรวมในใจ คนผู้นั้นนับว่าหาได้ยากยิ่งนักในสมัยนี้
    เจริญพร
     
  12. emperron

    emperron เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +432
    ความทุกข์เปรียบเหมือนมหาสมุทรไร้ขอบเขต
    แต่ความสุขเปรียบเหมือนนำในแก้ว
    หากคนเรายังมักมาก ก็ยากที่จะรู้จักพอ จนในที่สุดหาจุดสิ้นสุดมิได้
    แต่เมื่อรู้จักพอ ก็จะเห็นฝั่ง เจริญพร
     
  13. ทิพย์ปทุโม

    ทิพย์ปทุโม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    555
    ค่าพลัง:
    +2,471
    คนธรรมดา หวัง "โพธิญาณ" เป็นไปได้ไหม?
     
  14. ไม่กินผัก

    ไม่กินผัก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มกราคม 2010
    โพสต์:
    187
    ค่าพลัง:
    +597
    [​IMG]
    กราบอนุโมทนาธุเจ้าค่ะ
     
  15. คือคนบาป

    คือคนบาป เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    35
    ค่าพลัง:
    +130
    ขออนุโมทนากับพุทธภูมิทั้งหลายด้วยครับ ผมปรารถนาพุทธภูมิให้ถึงอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งในอนาคต ทุกสิ่งที่ทำในวันนี้ก็เพียงเพื่อสิ่งที่ปรารถนานี้เท่านั้น
     
  16. มารวิกะ

    มารวิกะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 กันยายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +526
    ได้อย่างแน่นอนครับ วันไหนที่เราตั้งใจปราถนา พระโพธิญาณ วันนั้นเราก็ได้ชื่อ

    ว่า พระโพธิสัตว์ แน่นอนครับ ส่วนกำลังใจจะมากจะน้อยแค่ไหนไม่สำคัญ

    เริ่มต้นอย่างง่ายๆ มีศีล 5 ไว้ก่อน(กัน นรกได้ด้วย) แล้วเวลาเราทำบุญ ทำทาน

    ใดๆก็ตาม ให้เอ่ยคำอฐิษฐานว่า ด้วยบุญบารมีที่ข้าพเจ้าได้กระทำไปในครั้งนี้

    ขอให้ข้าพเจ้าได้ ตรัสรู้ พระสัมมาสัมโพธิญาณ เป็นพระพุทธเจ้าด้วยเทอญ

    แล้ว อย่าลืมกรวดน้ำอีกที เป็นอันเสร็จพีธี (อันนี้ในแบบของผม)
     
  17. emperron

    emperron เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +432
    ผู้ประกอบด้วยโลกุตรปัญญาอันลึกซึ้ง
    ได้มองเห็นว่า โดยธรรมชาติแท้แล้ว ขันธ์ทั้งห้านั้นว่างเปล่า
    และด้วยเหตุที่เห็นเช่นนั้น จึงได้ก้าวล่วง พ้นจากความทุกข์ทั้งปวงได้
    รูปไม่ต่างจากความว่าง ความว่าง ก็ไม่ต่างไปจากรูป
    รูปคือความว่างนั่นเอง และความว่างก็คือรูปนั่นเอง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็เป็นดังนี้ด้วย
    สารีบุตร ธรรมทั้งหลาย มีธรรมชาติแห่งความว่าง ไม่ได้เกิดขึ้นและไม่ได้ดับลง
    ไม่ได้สะอาดและไม่ได้สกปรก ไม่ได้เพิ่มขึ้นไม่ได้ลดลง
    ดังนั้น ในความว่างจึงไม่มีรูป ไม่มีเวทนา หรือสัญญา ไม่มีสังขาร หรือวิญญาณ
    ไม่มีตาหรือหู ไม่มีจมูกหรือลิ้น ไม่มีกายหรือจิต ไม่มีรูปหรือเสียง ไม่มีกลิ่นหรือรส
    ไม่มีโผฏฐัพพะหรือธรรมารมณ์ ไม่มีโลกแห่งผัสสะ หรือวิญญาณ
    ไม่มีอวิชชา และไม่มีความดับลงแห่งอวิชชา ไม่มีความแก่และความตาย
    และไม่มีความดับลงซึ่งความแก่ และความตาย ไม่มีความทุกข์
    และไม่มีต้นเหตุแห่งความทุกข์ ไม่มีความดับลงแห่งความทุกข์
    และไม่มีมรรคทางให้ถึง ซึ่งความดับลงแห่งความทุกข์
    ไม่มีการประจักษ์แจ้งและไม่มีการลุถึง เพราะไม่มีอะไรที่จะต้องลุถึง
    พระโพธิสัตว์ผู้วางใจในโลกุตรปัญญา จะมีจิตที่เป็นอิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    เพราะจิตของพระองค์เป็นอิสระจาก อุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    พระองค์จึงไม่มีความกลัวใดๆ ก้าวล่วงพ้นไปจากมายาหรือสิ่งลวงตา
    ลุถึงพระนิพพานได้ในที่สุด พระพุทธในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
    ผู้ทรงวางใจในโลกุตรปัญญา ได้ประจักษ์แจ้งแล้วซึ่งภาวะอันตื่นขึ้น
    อันเป็นภาวะที่สมบูรณ์และไม่มีใดอื่นยิ่ง ดังนั้น จงรู้ได้เถิดว่า โลกุตรปัญญา
    เป็นมหาธรรมอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นธรรมแห่งความรู้อันยิ่งใหญ่
    เป็นสิ่งอันไม่มีสิ่งอื่นยิ่งกว่า เป็นมนต์อันไม่มีสิ่งอื่นใดมาเทียบได้ซึ่งจะตัดเสียซึ่งความทุกข์ทั้งปวง
    นี่เป็นสัจจะ เป็นอิสระจากความเท็จทั้งมวล ในใจของตน
    "อัตนา โจทยัตตานัง" จงกล่าวโทษเตือนตนไว้เสมอ
    "สัพพะปาปัสะอกรณัง ละเว้นความชั่ว
    กุสลัสสูปสัมปทา ทำแต่ความดี
    สจิตตะปริโยทปนัง ทำจิตใจให้ผ่องใส
    เอตังพุทธานะสาสะนัง" พระพุทธเจ้าทรงสอนเช่นนี้เหมือนกันหมด
    "อัตตาหิอัตโนนาโถ ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน
    โกหินาโถปโรสิยา ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้
    อัตตาหิสุทันเตนะ เมื่อฝึกตนดีแล้ว
    นาถังลภะติทุลภัง" จะได้ที่พึ่งอันบุคคลอื่นหาได้ยาก
     
  18. Heureuse

    Heureuse เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2008
    โพสต์:
    857
    ค่าพลัง:
    +3,446
    สวัสดีค่ะ


    คือว่าดิฉันสงสัยในเรื่องหนึ่งมากๆเลย คืออยากรู้ว่า....

    ถ้ามีพระโพธิสัตว์องค์หนึ่ง กำลังบำเพ็ญบารมีอยู่ในสิบชาติสุดท้าย เเต่ว่า

    คู่บารมีเขา ไม่ได้ทำสมกับเป็นคู่บารมีของพระโพธิสัตว์(หรือถ้าทำตัวเป็นคนไม่ดี)

    ยังงี้จะมีโอกาสเป็นไปได้ไหมคะ ที่คู่บารมีของพระโพธิสัตว์ที่กำลังบำเพ็ญบารมี
    ใน10ชาติสุดท้ายจะเป็นเเบบที่กล่าวมา...

    เเละถ้าคู่บารมีทำตัวผิดพลาดจริง จะหลุดจากการเป็นคู่ไหมคะ(อันนี้ไม่ค่อยสำคัญ)

    ที่สำคัญคืออยากรู้ว่าจะมีโอกาสที่จะเป็นไปได้ไหม ที่จะทำตัวไม่ดีค่ะ




    อยากทราบจริงๆค่ะ ขอบพระคุณล่วงหน้าสำหรับคำตอบค่ะ
     
  19. GenerationXXX

    GenerationXXX เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    562
    ค่าพลัง:
    +2,161
    ยิ่งพระโพธิสัตว์ที่แน่นอนแล้ว ยิ่งเป็นไปไม่ได้เลยครับ ที่คู่บารมีท่านจะมีความคิดแตกแยกกันถึงขนาดกระทำสิ่งที่ขัดต่อความปรารถนาพระโพธิสัตว์ แค่สิบชาติสุดท้าย ไม่เกินกำลังหรอกครับของคนที่ปรารถนามาเป็นคู่บารมี เพราะอย่างน้อยๆ ก็ต้องสะสมบารมีมาพอที่จะได้มาเกิดร่วมกันอยู่แล้วครับ ดังนั้นเหตุของกรรมที่จะทำให้แปรผันไปมันแทบเป็นไปไม่ได้ คือยิ่งบารมีมากๆ แล้ว เรื่องความไม่แน่นอนอย่างคนปกตินี่แทบจะตัดทิ้งไปได้เลยครับ ดังนั้นสรุปว่าเป็นไปไม่ได้แน่นอนครับผม
     
  20. emperron

    emperron เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    352
    ค่าพลัง:
    +432
    ผู้ประกอบด้วยโลกุตรปัญญาอันลึกซึ้ง
    ได้มองเห็นว่า โดยธรรมชาติแท้แล้ว ขันธ์ทั้งห้านั้นว่างเปล่า
    และด้วยเหตุที่เห็นเช่นนั้น จึงได้ก้าวล่วง พ้นจากความทุกข์ทั้งปวงได้
    รูปไม่ต่างจากความว่าง ความว่าง ก็ไม่ต่างไปจากรูป
    รูปคือความว่างนั่นเอง และความว่างก็คือรูปนั่นเอง
    เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ก็เป็นดังนี้ด้วย
    สารีบุตร ธรรมทั้งหลาย มีธรรมชาติแห่งความว่าง ไม่ได้เกิดขึ้นและไม่ได้ดับลง
    ไม่ได้สะอาดและไม่ได้สกปรก ไม่ได้เพิ่มขึ้นไม่ได้ลดลง
    ดังนั้น ในความว่างจึงไม่มีรูป ไม่มีเวทนา หรือสัญญา ไม่มีสังขาร หรือวิญญาณ
    ไม่มีตาหรือหู ไม่มีจมูกหรือลิ้น ไม่มีกายหรือจิต ไม่มีรูปหรือเสียง ไม่มีกลิ่นหรือรส
    ไม่มีโผฏฐัพพะหรือธรรมารมณ์ ไม่มีโลกแห่งผัสสะ หรือวิญญาณ
    ไม่มีอวิชชา และไม่มีความดับลงแห่งอวิชชา ไม่มีความแก่และความตาย
    และไม่มีความดับลงซึ่งความแก่ และความตาย ไม่มีความทุกข์
    และไม่มีต้นเหตุแห่งความทุกข์ ไม่มีความดับลงแห่งความทุกข์
    และไม่มีมรรคทางให้ถึง ซึ่งความดับลงแห่งความทุกข์
    ไม่มีการประจักษ์แจ้งและไม่มีการลุถึง เพราะไม่มีอะไรที่จะต้องลุถึง
    พระโพธิสัตว์ผู้วางใจในโลกุตรปัญญา จะมีจิตที่เป็นอิสระจากอุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    เพราะจิตของพระองค์เป็นอิสระจาก อุปสรรคสิ่งกีดกั้น
    พระองค์จึงไม่มีความกลัวใดๆ ก้าวล่วงพ้นไปจากมายาหรือสิ่งลวงตา
    ลุถึงพระนิพพานได้ในที่สุด พระพุทธในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
    ผู้ทรงวางใจในโลกุตรปัญญา ได้ประจักษ์แจ้งแล้วซึ่งภาวะอันตื่นขึ้น
    อันเป็นภาวะที่สมบูรณ์และไม่มีใดอื่นยิ่ง ดังนั้น จงรู้ได้เถิดว่า โลกุตรปัญญา
    เป็นมหาธรรมอันศักดิ์สิทธิ์ เป็นธรรมแห่งความรู้อันยิ่งใหญ่
    เป็นสิ่งอันไม่มีสิ่งอื่นยิ่งกว่า เป็นมนต์อันไม่มีสิ่งอื่นใดมาเทียบได้ซึ่งจะตัดเสียซึ่งความทุกข์ทั้งปวง
    นี่เป็นสัจจะ เป็นอิสระจากความเท็จทั้งมวล ในใจของตน
    "อัตนา โจทยัตตานัง" จงกล่าวโทษเตือนตนไว้เสมอ
    "สัพพะปาปัสะอกรณัง ละเว้นความชั่ว
    กุสลัสสูปสัมปทา ทำแต่ความดี
    สจิตตะปริโยทปนัง ทำจิตใจให้ผ่องใส
    เอตังพุทธานะสาสะนัง" พระพุทธเจ้าทรงสอนเช่นนี้เหมือนกันหมด
    "อัตตาหิอัตโนนาโถ ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน
    โกหินาโถปโรสิยา ใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้
    อัตตาหิสุทันเตนะ เมื่อฝึกตนดีแล้ว
    นาถังลภะติทุลภัง" จะได้ที่พึ่งอันบุคคลอื่นหาได้ยาก
    อาตมาโง่เบาปัญญาขอคุณโยมโปรดชี้แนะด้วยและขอให้คุณโยมเจริญในธรรมยิ่งๆๆไป
    ขอเจิญรพร
     

แชร์หน้านี้

Loading...