มเหศวร เนื้อชินเขียว กรุวังบัว เพชรบุรี

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย boonmobile, 5 สิงหาคม 2011.

  1. boonmobile

    boonmobile เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    591
    ค่าพลัง:
    +419
    องนี้เป็นไงบ้างครับแล้ว กรุนี้วงการยอมรับไหมครับ ใครพอจะทราบประวัติไหมเอ่ย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  2. Red people

    Red people เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    237
    ค่าพลัง:
    +153
    ขออนุญาตแนะนำเพื่อเป็นข้อมุลประกอบนะครับ สังเกตุ ของแท้ พิมพ์จะลึก ชัดเจน สมกับที่เป็นฝีมือช่างหลวง สนิมแดงลูกพลับออกจากเนื้อ ไม่ใช่สนิมที่บางคนเอาไปบ่มทราย สำหรับกรุวัดสว่างสนิมอาจจะดูชื้น ๆ ตามสภาพกรุที่ชื้นเปียกคิดว่าเป็นเศษอิฐมอญหรือเศษสนิมเหล็กจากภายนอกมาทับถม ส่วนสนิมแดงแท้ที่ผุดมาจากเนื้อพระเมื่อปนคราบไขนานหลายร้อยปีสีจะออกปนเหลืองดูออกสีทอง ๆ ส่วนไขก็จะเป็นไขแผ่น ไม่ใช่คราบไขไข่แมงดา เนื้อแก่ตะกั่วจะยังคงมีพิมพ์ที่ชัดเจน ผิวจะออกดำเนื่องจากปฏิกิริยาของแร่เงินที่ทำปฏิกริยากับอากาศ ที่ผิวกรอบแบบเอากรดกัดจนดูไม่ชัดเจนนั้นไม่ใช่ มันไม่ได้ระเบิดรุนแรงแบบนั้น พระมเหศวรกรุวัดพระศรีฯที่แท้จริงนั้นจะเป็นชินอ่อน ไม่มีชินเขียว พระพักตร์อูมใหญ่เคร่งขรึมดูขลังยิ่ง เพราะรับอิทธิพลศิลปละโว้ ผิวพระมเหศวรจะเป็นสองชั้น กล่าวคือถ้ายังไม่ได้ใช้ถูกสัมผัสผิวจะเนียนและมีสีออกไปทางดำเอามากๆ แต่ถ้าถูกใช้จนสึกจะเห็นเนื้อในขาวนวลสดใสอย่างกับสีเงินยวง ที่ควรสังเกตให้มาก ๆ คือเนื้อชินเงินเมื่อมีคราบปรอท ดูเผินๆ เหมือนพระใหม่แต่หากส่องดูจะพบว่าปรอทมีความแห้งไม่แวววาวเหมือนของใหม่ ขอให้ทุกท่านโชคดีนะครับ

    .<!-- google_ad_section_end --> <!-- / message --><!-- sig -->
     

แชร์หน้านี้

Loading...