ภาพคลื่นเมฆพายุ! ...ถล่มกรุงเทพฯ น่ากลัวมากๆ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย รัก+ยม, 28 เมษายน 2007.

  1. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    ภาพคลื่นเมฆพายุ! ...ถล่มกรุงเทพฯ น่ากลัวมากๆ



    <CENTER>[​IMG]
    ภาพนื้
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    ตอนนี้ อะไรก็เกิดขึ้นได้ ดูสิ ที่ไม่เคยเกิดมาก่อน มันมาเพียงชั่วฟ้าแลบ ไม่มีอะไรเตือนมาก่อนเลย พายุก็หนักขึ้น ไม่แปลกใจเลย ถ้าพายุมันมาแถบชายฝั่ง แล้วมาแรง แล้วมาแบบสายฟ้าแลบ จะทำอย่างไรก็หนีลำบาก
     
  3. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ผมเจอกันเองตั้งแต่วันแรกครับ หนีแทบไม่ทัน มันก่อตัวและส่งคลื่นออกมาให้เราสัมผัสกันได้ ว่าไม่ธรรมดา ไม่ใช่เหตุการณ์ปกติครับ

    ถือว่าเป็นดีเคด ของเหตุการณ์ภัยพิบัติทั้งหมดที่กำลังจะเกิดขึ้นและต้องบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ครับ

    แต่ตอนเช้ามีมาบอกเป็นกลอนครับ

    "วิปริตดินฟ้าจะอาเพส เกิดเหตุวิปโยคให้โศกศรร"

    อีกสองวรรค ขออนุญาตไม่นำลงครับ
     
  4. Khunkik

    Khunkik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2006
    โพสต์:
    2,151
    ค่าพลัง:
    +18,075
    เค้ามาเทสต์ว่าเราจะมีปัญญาไม๊ จะรู้วิธีรักษาตัวรอดไม๊ จะตกตื่น สติแตกกันขนาดไหน นี่แค่มาแหย่เล่นๆ น่ะ ^D^ ใครนึกถึงพระทันมั่งเอ่ย?

    เคยเจอพายุใกล้เคียง คือ เมื่อหลายปีที่แล้วไปดูดาวตก ที่เขาตะเกียบ พอดูดาวเสร็จประมาณตี 2 เวลาไม่ถึง 5 นาที เมฆวิ่งมาจากไหนไม่รู้ ต้องใช้คำว่าวิ่ง มาพร้อมกับฟ้าผ่า ฟ้าร้อง และลมแรงมากๆ เลยต้องรีบวิ่งเข้าบ้านกัน หลังจากนั้นไม่ถึง 10 นาที ฝนก็ตกหนักอย่างไม่ลืมหูลืมตา จนกลัวว่าน้ำจะท่วม ตกจนถึงเช้า พร้อมกันนอนฟังเสียงฟ้าผ่าจนบ้านไหว และแผ่นดินสะเทือนทั้งคืน
     
  5. Aspn

    Aspn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    335
    ค่าพลัง:
    +5,303
    ไม่ธรรมดาเลยครับ ปกติจะชอบบรรยากาศก่อนฝนตกมีพายุ มีเมฆดำๆทมึนมาก แต่วันนั้นกลับรู้สึกตรงกันข้ามเลย รับรู้ได้เลยว่ามันผิดปกติแล้วหละ น่ากลัวจริงๆ หวั่นๆเหมือนกัน..ว่าเกิดอะไรขึ้นหรือเปล่า
    เป็นการกระตุ้นเตือนได้ดีทีเดียวครับผม..
     
  6. อยากรู้ไปโม๊ด

    อยากรู้ไปโม๊ด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +183
    น่ากลัวจริงๆด้วยค่ะ
    ฝนตกหนักและแรงมาก
    ตอนนั้นกลัวนึกว่าหลังคาบ้านจะ
    หล่นทับไหมนี่
    ลืมภาวนาไปจริงๆด้วย
     
  7. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    สติ...
     
  8. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    ธรรมชาติลงโทษพวกเราแล้ว
     
  9. athiwat799

    athiwat799 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 เมษายน 2007
    โพสต์:
    52
    ค่าพลัง:
    +207
    รู้เท่าทันและมีสติ
     
  10. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>"พายุสุริยะ" เรื่องนอกโลกที่ใกล้ตัว</TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG][/IMG] [​IMG] ภายใต้กระบวนการผลิตพลังงานอันร้อนแรงแห่งดาวฤกษ์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ แกนดวงอาทิตย์เร่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นเดือดดาลอยู่ภายในแกนกลาง สะสมเป็นแรงดันระเบิดที่มีอำนาจทำลายล้างสูงกว่าอาวุธร้ายใดๆ ที่มนุษย์เคยคิดค้นขึ้นมา เกือบครึ่งชีวิตของมันแล้วที่ทำหน้าที่ผลิตพลังงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย


    ดวงอาทิตย์ให้ทั้งความสว่างและพลังงานแสงอันอบอุ่นต่อโลกของเรา แม้จะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ถึง 150 ล้านกิโลเมตร แต่บางครั้งกระบวนการผลิตพลังงานของดวงอาทิตย์ อาจจะส่งผลกระทบต่อโลกของเราโดยไม่ตั้งใจ
    ที่ผ่านมา...คลื่นประจุไฟฟ้าความเร็วสูง หรือ "พายุสุริยะ" จากดวงอาทิตย์เคยซัดมายังโลกของเราหลายครั้งแล้ว?!?
    "...โลกยังโคจรอยู่บนชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ อนุภาคพลังงานสูงที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ อยู่ในรูปอนุภาคประจุไฟฟ้า เช่น อิเล็กตรอนและโปรตอน เราเรียกสายธารของอนุภาคที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ว่า ลมสุริยะ และในบางครั้งลมสุริยะก็อาจทวีความรุนแรงกว่าปกติ เรียก พายุสุริยะ..."
    ส่วนหนึ่งของบทความเรื่องพายุสุริยะของ "วิมุติ วสะหลาย" หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย ที่สรุปถึงข้อข้องใจของการเกิดพายุสุริยะ ผ่านการสนทนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (แชท) ก่อนจะส่งบทความพายุสุริยะที่เขาเคยแปลและเรียบเรียงไว้ถึง 4 ตอน เพื่ออ้างอิงความรู้เรื่องพายุสุริยะ
    "...ในศตวรรรที่ 12 เป็นช่วงที่ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์รุนแรงต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ซึ่งสอดคล้องกับช่วงเวลาที่ดินแดนตอนเหนือของโลกมีอุณหภูมิอุ่นเป็นพิเศษ จนมีคนไปตั้งรกรากอยู่บนกรีนแลนด์ได้ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงความเข้มของประจุไฟฟ้ารอบๆ โลก ทำให้สนามแม่เหล็กโลกอาจเหนี่ยวนำไฟฟ้า บนวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าบนผิวโลก อย่างเช่น ท่อส่งน้ำมัน สายไฟฟ้าแรงสูง ถ้าเกิดกรณีดังกล่าวกับสายไฟฟ้าแรงสูง จะทำให้หม้อแปลงระเบิด และระบบส่งจ่ายไฟฟ้าขัดข้อง อย่างที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี 2532 ที่ควิบิก แคนาดา และเมืองหนึ่งในรัฐนิวเจอร์ซีของสหรัฐอเมริกา"
    พายุสุริยะเกิดขึ้นได้อย่างไร?
    อันดับแรกต้องทำความรู้จักกับปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ก่อน ได้แก่ จุดดำ (Sunspot) แฟลร์ (Flare) และคอโรนอล แมส อีเจคชั่น (Coronal Mass Ejection)
    จุดดำ : บริเวณสนามแม่เหล็กที่มีการหมุนเวียนของแก๊ส ที่พวยพุ่งออกมาจากจุดดำบนดวงอาทิตย์ มีวัฏจักรการเกิดเฉลี่ย 11 ปีต่อครั้ง โดยจุดดำมี 2 แบบ คือ จุดดำที่เป็นคู่และจุดดำเดี่ยวๆ โดยจุดดำที่เป็นคู่นั้นเมื่อแก๊สพวยพุ่งหลุดชั้นบรรยากาศ ที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด (โฟโตสเฟียร์) ก็จะพุ่งกลับไปยังจุดดำอีกจุดที่อยู่คู่กัน ส่วนจุดดำเดี่ยวๆ สนามแม่เหล็กจะพุ่งออกมาจากจุดดำชั้นใน และสาดออกไปสู่อวกาศเป็นที่มาของ ลมสุริยะ นั่นเอง
    ลมสุริยะ มีความเร็วเกือบพันกิโลเมตรต่อวินาที ใช้เวลา 26 ชั่วโมง เดินทางผ่านอวกาศจากดวงอาทิตย์มาถึงโลกมนุษย์ แต่ก็ยังจัดว่ามีความเร็วและความรุนแรงต่ำ แต่ลมสุริยะจะทวีความรุนแรงจนกลายเป็น พายุสุริยะ ก็ต่อเมื่อเกิดปรากฏการณ์ แฟลร์ และ คอโรนอล แมส อีเจคชั่น
    แฟลร์ : เป็นการระเบิดอย่างรุนแรงที่ชั้นบรรยากาศส่วนกลางของดวงอาทิตย์ (โครโมสเฟียร์) โดยจะเกิดเหนือรอยต่อระหว่างขั้วของสนามแม่เหล็ก กึ่งกลางจุดดำแบบคู่ หรือท่ามกลางกระจุกของจุดดำ ที่มีสนามแม่เหล็กปั่นป่วนซับซ้อน
    ทั้งนี้ พลังงานของแฟลร์ลูกหนึ่งอาจมากเท่ากับระเบิดไฮโดรเจนขนาด 100 เมกะตัน 1 ล้านลูกรวมกัน ซึ่งการระเบิดของแฟลร์ จะปล่อยพลังงานความร้อนมหาศาล และสาดอนุภาคประจุไฟฟ้าออกมาอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ช่วยเสริมกำลัง ลมสุริยะ ให้กลายเป็น พายุสุริยะ เดินทางมาถึงโลกในเวลาไม่กี่สิบนาที
    คอโรนอล แมส อีเจคชั่น : เป็นปรากฏการณ์ที่มีความรุนแรงกว่าแฟลร์หลายเท่านัก เพราะมีการสาดมวลสารจำนวนมหาศาล คล้ายฟองมหึมาถูกเป่าออกสู่อวกาศ ด้วยความเร็วสูงนับพันกิโลเมตรต่อวินาที ส่วนสาเหตุการเกิดคอโรนอล แมส อีเจคชั่นนั้น นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกก็ยังมีคำตอบที่ไม่ชัดเจนนัก
    วิมุติ พูดถึงผลกระทบของพายุสุริยะสั้นๆ ได้ใจความว่า เมื่อเกิดพายุสุริยะพัดมายังโลก จะทำให้มือถือใช้ไม่ได้ จีพีเอสใช้ไม่ได้ เพราะดาวเทียมสื่อสารพัง ที่ผ่านมายานสำรวจดาวอังคารของญี่ปุ่นเคยโดนพายุสุริยะซัดพังมาแล้ว นอกจากนี้ยังเคยเกิดไฟดับทั้งเมืองเมื่อปี 2532 ที่ จ.ควิบิก ประเทศแคนาดา มาแล้ว
    อย่างไรก็ตาม หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก ให้คนไทยสบายใจได้ เพราะประเทศไทยและประเทศที่ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกจะปลอดภัย หรืออย่างน้อยก็ปลอดภัย เพราะเหตุการณ์ไฟฟ้าดับหรือหม้อแปลงระเบิด ส่วนใหญ่มักจะเกิดกับประเทศแถบขั้วโลก ที่มีสนามแม่เหล็กของโลกเท่านั้น!
    แต่ก็ไม่อาจวางใจได้ ถ้าคนทั่วโลกยังใช้ประโยชน์จากดาวเทียม ที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศของโลกอยู่ต่อไป!?!
    ด้วยพายุสุริยะที่ซัดมายังโลก อาจพัดมาถูกดาวเทียมที่กำลังโคจรอยู่ จนทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นที่ผิวดาวเทียม ประจุไฟฟ้านี้ทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้ารบกวนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในของดาวเทียม อาจทำให้ดาวเทียมทำงานผิดพลาดได้
    สอดคล้องกับ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ที่พูดถึงพายุสุริยะผ่านโทรศัพท์ทางไกลจากเชียงใหม่ ว่าเมื่อเกิดพายุสุริยะนักบินอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศโลก จะได้รับผลกระทบ แต่สิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกจะไม่ได้รับผลกระทบ เพราะโลกมีสนามแม่เหล็กเป็นเกราะคุ้มกัน ไม่ให้อนุภาคประจุพลังงานไฟฟ้าทะลุทะลวงมาถึงชั้นบรรยากาศ สิ่งมีชีวิตบนโลกจึงปลอดภัย
    ทั้งนี้ เมื่อลมสุริยะพัดเข้ามาใกล้โลก จะเปลี่ยนทิศทางและตีเกลียวไปตามเส้นแรงแม่เหล็กโลก เมื่ออนุภาคเหล่านี้กระทบถูกบรรยากาศโลกจะถูกดูดกลืนพลังงานไป หรือเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ ที่หลายๆ คนรู้จักในชื่อแสงออโลล่าบริเวณขั้วโลกนั่นเอง
    "โลกเรามีสนามแม่เหล็กป้องกันพายุสุริยะ จะเกิดปรากฏการณ์แสงออโลล่าที่ขั้วโลก แถวๆ ทวีปเมริกาเหนือ บางพื้นที่ก็พบแสงออโลล่า 300 วัน หรือเกือบทั้งปี บางครั้งพายุสุริยะก็รบกวนการสื่อสาร โดยเฉพาะคลื่นวิทยุเอเอ็ม ส่วนพวกดาวเทียมจะโดนหนัก ถ้าเกิดแฟลร์หันมาทางโลก อนุภาคประจุไฟฟ้าที่มีความเร็วกว่ากระสุนปืนตกกระทบมาพื้นโลก อย่างที่เคยเกิดขึ้นที่แคนาดา ทำให้หม้อแปลงระเบิด ไฟฟ้าดับทั้งเมืองมาแล้ว" ดร.ศรัณย์ บอกถึงผลกระทบจากพายุสุริยะที่โลกเคยสัมผัส
    อย่างไรก็ตาม รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ย้ำด้วยน้ำเสียงจริงจังว่า พายุสุริยะไม่น่ากลัวเท่ากับโลกร้อน เพราะชั้นโอโซนที่กรองแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบมายังโลกเหลือน้อยเต็มทีแล้ว ทำให้แสงจากดวงอาทิตย์ส่งมายังพื้นโลกมากขึ้น สภาวะแบบนี้น่ากลัวกว่าการเกิดพายุสุริยะมาก
    คงเหมือนกับผลพวงจากสภาวะโลกร้อน ที่คนเชียงใหม่กำลังเผชิญหมอกควันจากไฟป่าปกคลุมไปทั่วเมือง เพราะโลกกำลังถูกคุกคามจากสภาวะโลกร้อน ด้วยฝีมือของคนบนพื้นโลก แต่ถ้าดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงน้อย ตกอยู่ในคราวเคราะห์ ถูกภัยคุกคามจากนอกโลก อย่าง พายุสุริยะซ้ำเติมอีก แล้ว...โลกเราจะมีสภาพเป็นอย่างไร?
    'สเตอริโอ-โซโห' สำรวจพายุสุริยะ

    แม้ว่าภัยจาก "พายุสุริยะ" จะเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก แต่องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซา) ก็ไม่ได้ชะล่าใจ คอยระวังเพศภัยจากพายุสุริยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องมนุษย์อวกาศ สถานีอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่นอกโลก
    ล่าสุดนาซาได้ส่งดาวเทียมคู่แฝดมูลค่า 22,000 หมื่นล้านบาท ภายใต้ชื่อ "ภารกิจหอสังเกตการณ์ความสัมพันธ์ดวงอาทิตย์กับโลก" หรือสเตอริโอ (STEREO : Solar terrestrial Relations Observatory) เพื่อติดตามดวงอาทิตย์จาก 2 มุมนอกวงโครจรของโลกแบบ 3 มิติ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2549 มีกำหนดทำงาน 2 ปี เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์พยากรณ์สภาพการประทุของดวงอาทิตย์แต่ละครั้งมีผลต่อโลกอย่างไร?
    การปะทุของดวงอาทิตย์ (solar flares) แต่ละครั้งจะปลดปล่อยมวลจากบรรยากาศชั้นโคโรนานับพันๆ ล้านตันกระจายสู่อวกาศ ด้วยความเร็วประมาณ 400 กิโลเมตรต่อวินาที สังเกตจาก "แสงเหนือ" ซึ่งการปะทุนี้อาจรุนแรงถึงขั้นทำลายดาวเทียม หรือนักบินอวกาศที่ประจำการอยู่ด้านนอก จะได้รับรังสีมากกว่าปกติจนเกิดอันตราย รวมถึงเกิดพายุแม่เหล็กรบกวน การส่งไฟฟ้าและการสื่อสารในโลก
    เมื่อ "สเตอริโอ" เทียบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ จะช่วยให้นักดาราศาสตร์ได้ภาพ 3 มิติ เวลาเกิดปรากฏการณ์พายุสุริยะ นอกจากนี้ ดาวเทียมสเตอริโอยังสอดรับกับการทำงานของดาวเทียมรุ่นพี่ที่ชื่อ "โซโห" หรือ "โครงการโซโห" (SOHO : The Solar and Hoilospheric Observatory) ที่คอยจับภาพการประทุของดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกปล่อยสู่อวกาศตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2538 หรือเมื่อ 11 ปีก่อนที่สเตอริโอจะทยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศ
    ดาวเทียมที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์เหล่านี้ สามารถแจ้งเหตุการกระโชกของลมสุริยะล่วงหน้าประมาณ 1- 2 วัน ก่อนจะพัดมาถึงโลก แต่ถ้าเป็นพายุสุริยะจะเตือนล่วงหน้าได้ประมาณครึ่งชั่วโมง นับว่านานพอที่โรงไฟฟ้าจะเตรียมระบบจ่ายไฟฟ้าหรือระบบป้องกันฉุกเฉิน เพื่อรับมือกับความแปรปรวนของสนามแม่เหล็ก และยังนานพอจะเตือนนักดาราศาสตร์และประชาชนตื่นมาดูแสงเหนือ-แสงใต้

    "สึนามิ" บนดวงอาทิตย์

    การเกิดแฟลร์ หรือการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุของการเกิดพายุสุริยะนั้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ว่า "สึนามึบนดวงอาทิตย์" เพราะเกิดคลื่นกระแทกคล้ายสึนามิ เดิมเรียกว่าคลื่น moreton กำลังม้วนตัวข้ามผิวของดวงอาทิตย์ พร้อมกับรบกวน filament หรือกลุ่มก๊าชความหนาแน่นสูง แต่อุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณข้างเคียงภายใน magnetic loop เหนือผิวดวงอาทิตย์ ซึ่งเห็นเป็นโครงสร้างคล้ายเส้นมืดอยู่ด้านตรงข้าม ของจุดที่เกิดการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์
    วัชราวุฒิ หน่อแก้ว ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แปลและเรียบเรียงปรากฏการณ์การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ เมื่อวันที่ 5 ต่อเนื่อง วันที่ 6 ธันวาคม 2549 ที่มองเห็นด้วยกล้องโทรทรรศน์ต้นแบบสำหรับสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ ที่มลรัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีลักษณะคล้ายการเกิดสึนามึบนดวงอาทิตย์!?!
    ...จากหอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์แห่งชาติ (National Solar Observatory : NSO) อธิบายว่า นี่เป็นคลื่นจากการระเบิดครั้งใหญ่ที่เกิดได้ไม่บ่อยนัก แต่ทรงพลังยิ่งยวด คลื่นดังกล่าวเคลื่อนที่ในมวลสารของดวงอาทิตย์ภายในเวลาไม่กี่นาที ก็เดินทางไปทั่วดวงอาทิตย์ กวาดเอาสสารภายใน filament ออกไป
    กลุ่มก๊าซความหนาแน่นสูงภายในซีกเหนือและใต้ของดวงอาทิตย์ ก่อนและหลังถูกคลื่นกระแทกกวาดหายไป ไม่ใช่เรื่องปกติเลยที่สามารถตรวจพบเหตุการณ์นี้ จากหอสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน อีกทั้งการลุกจ้าในช่วงที่ดวงอาทิตย์มีจุดดับน้อยที่สุดในรอบ 11 ปี ก็ไม่ใช่เรื่องปกติเช่นกัน
    อย่างไรก็ตาม การประทุหรือการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์สามารถเกิดขึ้นในเวลาใดก็ได้ เพียงแต่จะเกิดบ่อยหรือรุนแรงมากน้อยเพียงไรเท่านั้นเอง ซึ่งการลุกจ้าเกิดขึ้นจากจุดดำ (sunspots) อันเป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กหนาแน่นกำลังกดมวลสารด้านล่างเอาไว้ แต่เมื่อสนามแม่เหล็กคลายตัวออกมวลสารความร้อนสูงจะถูกปลดปล่อยออกมาพร้อมๆ กับการแผ่รังสีพลังงานสูง ถัดมาในวันที่ 6 ธันวาคม เครือข่ายเฝ้าระวังดวงอาทิตย์ (Optical Solar Patrol Network) ของ NSO ก็ตรวจพบการลุกจ้าอีกครั้ง และครั้งนี้เองที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจพบคลื่นดังกล่าว แนวการเคลื่อนที่ของคลื่นกระแทกจากการลุกจ้า ซึ่งคลื่นกระแทกนี้เคลื่อนที่เหมือนกับคลื่นน้ำ ที่เกิดจากการขว้างหินลงไปในสระ ซึ่งเห็นเป็นแนวเส้นโค้งสว่างของก๊าซไฮโดรเจนร้อนที่ถูกบีบอัดเข้าหากัน เมื่อนักดาราศาสตร์ปรับแต่งความคมชัดของภาพที่ถ่ายได้ เพื่อดึงเอารายละเอียดออกมาให้เห็นกันอย่างชัดเจน แล้วสร้างภาพเคลื่อนไหวแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่น เมื่อคลื่นกวาดผ่านกลุ่มก๊าชพลังงานสูงสีดำสองแห่ง ซึ่งวางตัวอยู่ห่างกันบนผิวดวงอาทิตย์ ปรากฏว่าพวกมันหายไปเป็นเวลาหลายนาที โดยที่นักวิทยาศาสตร์ไม่มั่นใจว่า กลุ่มก๊าซพลังงานสูงเหล่านั้นถูกกวาดทิ้งไปถาวร หรือถูกบีบอัดเอาไว้และหายไปชั่วคราวกันแน่!
    ทีมข่าวรายงานพิเศษ

    -->[​IMG]



    ภายใต้กระบวนการผลิตพลังงานอันร้อนแรงแห่งดาวฤกษ์ที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ แกนดวงอาทิตย์เร่งปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นเดือดดาลอยู่ภายในแกนกลาง สะสมเป็นแรงดันระเบิดที่มีอำนาจทำลายล้างสูงกว่าอาวุธร้ายใดๆ ที่มนุษย์เคยคิดค้นขึ้นมา เกือบครึ่งชีวิตของมันแล้วที่ทำหน้าที่ผลิตพลังงานอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
    ดวงอาทิตย์ให้ทั้งความสว่างและพลังงานแสงอันอบอุ่นต่อโลกของเรา แม้จะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ถึง 150 ล้านกิโลเมตร แต่บางครั้งกระบวนการผลิตพลังงานของดวงอาทิตย์ อาจจะส่งผลกระทบต่อโลกของเราโดยไม่ตั้งใจ

    ที่ผ่านมา...คลื่นประจุไฟฟ้าความเร็วสูง หรือ "พายุสุริยะ" จากดวงอาทิตย์เคยซัดมายังโลกของเราหลายครั้งแล้ว?!?

    "...โลกยังโคจรอยู่บนชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ อนุภาคพลังงานสูงที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ อยู่ในรูปอนุภาคประจุไฟฟ้า เช่น อิเล็กตรอนและโปรตอน เราเรียกสายธารของอนุภาคที่ถูกพัดมาจากดวงอาทิตย์ว่า ลมสุริยะ และในบางครั้งลมสุริยะก็อาจทวีความรุนแรงกว่าปกติ เรียก พายุสุริยะ..."

    ส่วนหนึ่งของบทความเรื่องพายุสุริยะของ "วิมุติ วสะหลาย" หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย ที่สรุปถึงข้อข้องใจของการเกิดพายุสุริยะ ผ่านการสนทนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (แชท) ก่อนจะส่งบทความพายุสุริยะที่เขาเคยแปลและเรียบเรียงไว้ถึง 4 ตอน เพื่ออ้างอิงความรู้เรื่องพายุสุริยะ

    "...ในศตวรรรที่ 12 เป็นช่วงที่ปรากฏการณ์บนดวงอาทิตย์รุนแรงต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ซึ่งสอดคล้องกับช่วงเวลาที่ดินแดนตอนเหนือของโลกมีอุณหภูมิอุ่นเป็นพิเศษ จนมีคนไปตั้งรกรากอยู่บนกรีนแลนด์ได้ อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงความเข้มของประจุไฟฟ้ารอบๆ โลก ทำให้สนามแม่เหล็กโลกอาจเหนี่ยวนำไฟฟ้า บนวัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าบนผิวโลก อย่างเช่น ท่อส่งน้ำมัน สายไฟฟ้าแรงสูง ถ้าเกิดกรณีดังกล่าวกับสายไฟฟ้าแรงสูง จะทำให้หม้อแปลงระเบิด และระบบส่งจ่ายไฟฟ้าขัดข้อง อย่างที่เคยเกิดขึ้นเมื่อปี 2532 ที่ควิบิก แคนาดา และเมืองหนึ่งในรัฐนิวเจอร์ซีของสหรัฐอเมริกา"

    พายุสุริยะเกิดขึ้นได้อย่างไร?
    อันดับแรกต้องทำความรู้จักกับปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์ก่อน ได้แก่ จุดดำ (Sunspot) แฟลร์ (Flare) และคอโรนอล แมส อีเจคชั่น (Coronal Mass Ejection)

    จุดดำ : บริเวณสนามแม่เหล็กที่มีการหมุนเวียนของแก๊ส ที่พวยพุ่งออกมาจากจุดดำบนดวงอาทิตย์ มีวัฏจักรการเกิดเฉลี่ย 11 ปีต่อครั้ง โดยจุดดำมี 2 แบบ คือ จุดดำที่เป็นคู่และจุดดำเดี่ยวๆ โดยจุดดำที่เป็นคู่นั้นเมื่อแก๊สพวยพุ่งหลุดชั้นบรรยากาศ ที่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด (โฟโตสเฟียร์) ก็จะพุ่งกลับไปยังจุดดำอีกจุดที่อยู่คู่กัน ส่วนจุดดำเดี่ยวๆ สนามแม่เหล็กจะพุ่งออกมาจากจุดดำชั้นใน และสาดออกไปสู่อวกาศเป็นที่มาของ ลมสุริยะ นั่นเอง

    ลมสุริยะ มีความเร็วเกือบพันกิโลเมตรต่อวินาที ใช้เวลา 26 ชั่วโมง เดินทางผ่านอวกาศจากดวงอาทิตย์มาถึงโลกมนุษย์ แต่ก็ยังจัดว่ามีความเร็วและความรุนแรงต่ำ แต่ลมสุริยะจะทวีความรุนแรงจนกลายเป็น พายุสุริยะ ก็ต่อเมื่อเกิดปรากฏการณ์ แฟลร์ และ คอโรนอล แมส อีเจคชั่น

    แฟลร์ : เป็นการระเบิดอย่างรุนแรงที่ชั้นบรรยากาศส่วนกลางของดวงอาทิตย์ (โครโมสเฟียร์) โดยจะเกิดเหนือรอยต่อระหว่างขั้วของสนามแม่เหล็ก กึ่งกลางจุดดำแบบคู่ หรือท่ามกลางกระจุกของจุดดำ ที่มีสนามแม่เหล็กปั่นป่วนซับซ้อน
    ทั้งนี้ พลังงานของแฟลร์ลูกหนึ่งอาจมากเท่ากับระเบิดไฮโดรเจนขนาด 100 เมกะตัน 1 ล้านลูกรวมกัน ซึ่งการระเบิดของแฟลร์ จะปล่อยพลังงานความร้อนมหาศาล และสาดอนุภาคประจุไฟฟ้าออกมาอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ช่วยเสริมกำลัง ลมสุริยะ ให้กลายเป็น พายุสุริยะ เดินทางมาถึงโลกในเวลาไม่กี่สิบนาที

    คอโรนอล แมส อีเจคชั่น : เป็นปรากฏการณ์ที่มีความรุนแรงกว่าแฟลร์หลายเท่านัก เพราะมีการสาดมวลสารจำนวนมหาศาล คล้ายฟองมหึมาถูกเป่าออกสู่อวกาศ ด้วยความเร็วสูงนับพันกิโลเมตรต่อวินาที ส่วนสาเหตุการเกิดคอโรนอล แมส อีเจคชั่นนั้น นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกก็ยังมีคำตอบที่ไม่ชัดเจนนัก

    วิมุติ พูดถึงผลกระทบของพายุสุริยะสั้นๆ ได้ใจความว่า เมื่อเกิดพายุสุริยะพัดมายังโลก จะทำให้มือถือใช้ไม่ได้ จีพีเอสใช้ไม่ได้ เพราะดาวเทียมสื่อสารพัง ที่ผ่านมายานสำรวจดาวอังคารของญี่ปุ่นเคยโดนพายุสุริยะซัดพังมาแล้ว นอกจากนี้ยังเคยเกิดไฟดับทั้งเมืองเมื่อปี 2532 ที่ จ.ควิบิก ประเทศแคนาดา มาแล้ว

    อย่างไรก็ตาม หัวหน้ากองบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก ให้คนไทยสบายใจได้ เพราะประเทศไทยและประเทศที่ตั้งอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตรของโลกจะปลอดภัย หรืออย่างน้อยก็ปลอดภัย เพราะเหตุการณ์ไฟฟ้าดับหรือหม้อแปลงระเบิด ส่วนใหญ่มักจะเกิดกับประเทศแถบขั้วโลก ที่มีสนามแม่เหล็กของโลกเท่านั้น!

    แต่ก็ไม่อาจวางใจได้ ถ้าคนทั่วโลกยังใช้ประโยชน์จากดาวเทียม ที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศของโลกอยู่ต่อไป!?!

    ด้วยพายุสุริยะที่ซัดมายังโลก อาจพัดมาถูกดาวเทียมที่กำลังโคจรอยู่ จนทำให้เกิดประจุไฟฟ้าขึ้นที่ผิวดาวเทียม ประจุไฟฟ้านี้ทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้ารบกวนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ภายในของดาวเทียม อาจทำให้ดาวเทียมทำงานผิดพลาดได้
    สอดคล้องกับ ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ที่พูดถึงพายุสุริยะผ่านโทรศัพท์ทางไกลจากเชียงใหม่ ว่าเมื่อเกิดพายุสุริยะนักบินอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมที่โคจรอยู่เหนือชั้นบรรยากาศโลก จะได้รับผลกระทบ แต่สิ่งมีชีวิตบนพื้นโลกจะไม่ได้รับผลกระทบ เพราะโลกมีสนามแม่เหล็กเป็นเกราะคุ้มกัน ไม่ให้อนุภาคประจุพลังงานไฟฟ้าทะลุทะลวงมาถึงชั้นบรรยากาศ สิ่งมีชีวิตบนโลกจึงปลอดภัย
    ทั้งนี้ เมื่อลมสุริยะพัดเข้ามาใกล้โลก จะเปลี่ยนทิศทางและตีเกลียวไปตามเส้นแรงแม่เหล็กโลก เมื่ออนุภาคเหล่านี้กระทบถูกบรรยากาศโลกจะถูกดูดกลืนพลังงานไป หรือเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ-แสงใต้ ที่หลายๆ คนรู้จักในชื่อแสงออโลล่าบริเวณขั้วโลกนั่นเอง

    "โลกเรามีสนามแม่เหล็กป้องกันพายุสุริยะ จะเกิดปรากฏการณ์แสงออโลล่าที่ขั้วโลก แถวๆ ทวีปเมริกาเหนือ บางพื้นที่ก็พบแสงออโลล่า 300 วัน หรือเกือบทั้งปี บางครั้งพายุสุริยะก็รบกวนการสื่อสาร โดยเฉพาะคลื่นวิทยุเอเอ็ม ส่วนพวกดาวเทียมจะโดนหนัก ถ้าเกิดแฟลร์หันมาทางโลก อนุภาคประจุไฟฟ้าที่มีความเร็วกว่ากระสุนปืนตกกระทบมาพื้นโลก อย่างที่เคยเกิดขึ้นที่แคนาดา ทำให้หม้อแปลงระเบิด ไฟฟ้าดับทั้งเมืองมาแล้ว" ดร.ศรัณย์ บอกถึงผลกระทบจากพายุสุริยะที่โลกเคยสัมผัส
    อย่างไรก็ตาม รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ย้ำด้วยน้ำเสียงจริงจังว่า พายุสุริยะไม่น่ากลัวเท่ากับโลกร้อน เพราะชั้นโอโซนที่กรองแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบมายังโลกเหลือน้อยเต็มทีแล้ว ทำให้แสงจากดวงอาทิตย์ส่งมายังพื้นโลกมากขึ้น สภาวะแบบนี้น่ากลัวกว่าการเกิดพายุสุริยะมาก

    คงเหมือนกับผลพวงจากสภาวะโลกร้อน ที่คนเชียงใหม่กำลังเผชิญหมอกควันจากไฟป่าปกคลุมไปทั่วเมือง เพราะโลกกำลังถูกคุกคามจากสภาวะโลกร้อน ด้วยฝีมือของคนบนพื้นโลก แต่ถ้าดาวเคราะห์สีน้ำเงินดวงน้อย ตกอยู่ในคราวเคราะห์ ถูกภัยคุกคามจากนอกโลก อย่าง พายุสุริยะซ้ำเติมอีก แล้ว...โลกเราจะมีสภาพเป็นอย่างไร?

    'สเตอริโอ-โซโห' สำรวจพายุสุริยะ
    แม้ว่าภัยจาก "พายุสุริยะ" จะเกิดขึ้นไม่บ่อยนัก แต่องค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐ (นาซา) ก็ไม่ได้ชะล่าใจ คอยระวังเพศภัยจากพายุสุริยะอย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องมนุษย์อวกาศ สถานีอวกาศ ตลอดจนดาวเทียมต่างๆ ที่โคจรอยู่นอกโลก
    ล่าสุดนาซาได้ส่งดาวเทียมคู่แฝดมูลค่า 22,000 หมื่นล้านบาท ภายใต้ชื่อ "ภารกิจหอสังเกตการณ์ความสัมพันธ์ดวงอาทิตย์กับโลก" หรือสเตอริโอ (STEREO : Solar terrestrial Relations Observatory) เพื่อติดตามดวงอาทิตย์จาก 2 มุมนอกวงโครจรของโลกแบบ 3 มิติ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2549 มีกำหนดทำงาน 2 ปี เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์พยากรณ์สภาพการประทุของดวงอาทิตย์แต่ละครั้งมีผลต่อโลกอย่างไร?
    การปะทุของดวงอาทิตย์ (solar flares) แต่ละครั้งจะปลดปล่อยมวลจากบรรยากาศชั้นโคโรนานับพันๆ ล้านตันกระจายสู่อวกาศ ด้วยความเร็วประมาณ 400 กิโลเมตรต่อวินาที สังเกตจาก "แสงเหนือ" ซึ่งการปะทุนี้อาจรุนแรงถึงขั้นทำลายดาวเทียม หรือนักบินอวกาศที่ประจำการอยู่ด้านนอก จะได้รับรังสีมากกว่าปกติจนเกิดอันตราย รวมถึงเกิดพายุแม่เหล็กรบกวน การส่งไฟฟ้าและการสื่อสารในโลก

    เมื่อ "สเตอริโอ" เทียบวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ จะช่วยให้นักดาราศาสตร์ได้ภาพ 3 มิติ เวลาเกิดปรากฏการณ์พายุสุริยะ นอกจากนี้ ดาวเทียมสเตอริโอยังสอดรับกับการทำงานของดาวเทียมรุ่นพี่ที่ชื่อ "โซโห" หรือ "โครงการโซโห" (SOHO : The Solar and Hoilospheric Observatory) ที่คอยจับภาพการประทุของดวงอาทิตย์ ซึ่งถูกปล่อยสู่อวกาศตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม 2538 หรือเมื่อ 11 ปีก่อนที่สเตอริโอจะทยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศ

    ดาวเทียมที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์เหล่านี้ สามารถแจ้งเหตุการกระโชกของลมสุริยะล่วงหน้าประมาณ 1- 2 วัน ก่อนจะพัดมาถึงโลก แต่ถ้าเป็นพายุสุริยะจะเตือนล่วงหน้าได้ประมาณครึ่งชั่วโมง นับว่านานพอที่โรงไฟฟ้าจะเตรียมระบบจ่ายไฟฟ้าหรือระบบป้องกันฉุกเฉิน เพื่อรับมือกับความแปรปรวนของสนามแม่เหล็ก และยังนานพอจะเตือนนักดาราศาสตร์และประชาชนตื่นมาดูแสงเหนือ-แสงใต้

    "สึนามิ" บนดวงอาทิตย์
    การเกิดแฟลร์ หรือการลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุของการเกิดพายุสุริยะนั้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสิ่งที่เกิดขึ้นนี้ว่า "สึนามึบนดวงอาทิตย์" เพราะเกิดคลื่นกระแทกคล้ายสึนามิ เดิมเรียกว่าคลื่น moreton กำลังม้วนตัวข้ามผิวของดวงอาทิตย์ พร้อมกับรบกวน filament หรือกลุ่มก๊าชความหนาแน่นสูง แต่อุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณข้างเคียงภายใน magnetic loop เหนือผิวดวงอาทิตย์ ซึ่งเห็นเป็นโครงสร้างคล้ายเส้นมืดอยู่ด้านตรงข้าม ของจุดที่เกิดการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์

    วัชราวุฒิ หน่อแก้ว ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล แปลและเรียบเรียงปรากฏการณ์การลุกจ้าบนดวงอาทิตย์ เมื่อวันที่ 5 ต่อเนื่อง วันที่ 6 ธันวาคม 2549 ที่มองเห็นด้วยกล้องโทรทรรศน์ต้นแบบสำหรับสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ ที่มลรัฐนิวเม็กซิโก ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่ามีลักษณะคล้ายการเกิดสึนามึบนดวงอาทิตย์!?!
    ...จากหอสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์แห่งชาติ (National Solar Observatory : NSO) อธิบายว่า นี่เป็นคลื่นจากการระเบิดครั้งใหญ่ที่เกิดได้ไม่บ่อยนัก แต่ทรงพลังยิ่งยวด คลื่นดังกล่าวเคลื่อนที่ในมวลสารของดวงอาทิตย์ภายในเวลาไม่กี่นาที ก็เดินทางไปทั่วดวงอาทิตย์ กวาดเอาสสารภายใน filament ออกไป

    กลุ่มก๊าซความหนาแน่นสูงภายในซีกเหนือและใต้ของดวงอาทิตย์ ก่อนและหลังถูกคลื่นกระแทกกวาดหายไป ไม่ใช่เรื่องปกติเลยที่สามารถตรวจพบเหตุการณ์นี้ จากหอสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน อีกทั้งการลุกจ้าในช่วงที่ดวงอาทิตย์มีจุดดับน้อยที่สุดในรอบ 11 ปี ก็ไม่ใช่เรื่องปกติเช่นกัน

    อย่างไรก็ตาม การประทุหรือการลุกจ้าบนผิวดวงอาทิตย์สามารถเกิดขึ้นในเวลาใดก็ได้ เพียงแต่จะเกิดบ่อยหรือรุนแรงมากน้อยเพียงไรเท่านั้นเอง ซึ่งการลุกจ้าเกิดขึ้นจากจุดดำ (sunspots) อันเป็นบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กหนาแน่นกำลังกดมวลสารด้านล่างเอาไว้ แต่เมื่อสนามแม่เหล็กคลายตัวออกมวลสารความร้อนสูงจะถูกปลดปล่อยออกมาพร้อมๆ กับการแผ่รังสีพลังงานสูง

    ถัดมาในวันที่ 6 ธันวาคม เครือข่ายเฝ้าระวังดวงอาทิตย์ (Optical Solar Patrol Network) ของ NSO ก็ตรวจพบการลุกจ้าอีกครั้ง และครั้งนี้เองที่ทำให้นักวิทยาศาสตร์ตรวจพบคลื่นดังกล่าว แนวการเคลื่อนที่ของคลื่นกระแทกจากการลุกจ้า ซึ่งคลื่นกระแทกนี้เคลื่อนที่เหมือนกับคลื่นน้ำ ที่เกิดจากการขว้างหินลงไปในสระ ซึ่งเห็นเป็นแนวเส้นโค้งสว่างของก๊าซไฮโดรเจนร้อนที่ถูกบีบอัดเข้าหากัน
    เมื่อนักดาราศาสตร์ปรับแต่งความคมชัดของภาพที่ถ่ายได้ เพื่อดึงเอารายละเอียดออกมาให้เห็นกันอย่างชัดเจน แล้วสร้างภาพเคลื่อนไหวแสดงการเคลื่อนที่ของคลื่น เมื่อคลื่นกวาดผ่านกลุ่มก๊าชพลังงานสูงสีดำสองแห่ง ซึ่งวางตัวอยู่ห่างกันบนผิวดวงอาทิตย์ ปรากฏว่าพวกมันหายไปเป็นเวลาหลายนาที โดยที่นักวิทยาศาสตร์ไม่มั่นใจว่า กลุ่มก๊าซพลังงานสูงเหล่านั้นถูกกวาดทิ้งไปถาวร หรือถูกบีบอัดเอาไว้และหายไปชั่วคราวกันแน่!

    ทีมข่าวรายงานพิเศษ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.komchadluek.net/2007/04/29/t006_111481.php?news_id=111481
     
  11. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    พายุฟ้าคะนอง หรือพายุฤดูร้อน (Thunderstorms)
    [​IMG]พายุฟ้าคะนองที่เกิดขึ้นในฤดูร้อน หรือ เรียกว่า พายุฤดูร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนเมษายน หรือ ในช่วงก่อนเริ่มต้นฤดูฝน ขณะที่อุณหภูมิในภาคต่างๆ เริ่มสูงขึ้น เนื่องจากแกนของโลกเริ่มเอียงเข้าหาดวงอาทิตย์ และดวงอาทิตย์จะเคลื่อนมาอยู่ที่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ทําให้อากาศร้อนอบอ้าว และชื้นในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตอนบนของภาคกลาง อากาศที่อยู่ใกล้ผิวพื้นจะมีอุณหภูมิสูง ประกอบกับลมที่พัดเข้าสู่ประเทศไทย เป็นลมใต้ และลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดมาจากอ่าวไทย และทะเลจีนใต้ ในระยะนี้ถ้ามีลมเหนือ (อากาศเย็น) พัดลงมาจากประเทศจีนคราวใด จะทําให้อากาศสองกระแสกระทบกัน ทําให้การหมุนเวียนของอากาศแปรปรวนขึ้นอย่างรวดเร็ว และฉับพลัน เป็นเหตุให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองอย่างแรง และรวดเร็ว มีฟ้าแลบ (Lightning) ฟ้าร้อง (Thunder) และฟ้าผ่า รวมอยู่ด้วย นอกจากนี้ มักจะมีลมกระโชกแรงและฝนตกหนักเกิดขึ้น บางครั้งยังมีลูกเห็บตกลงมาด้วย พายุฟ้าคะนองนี้ เป็นพายุที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาอันสั้น มีน้อยครั้งที่เกิดขึ้นนานกว่า 2 ชั่วโมง
    โดยทั่วไป พายุฤดูร้อนนี้มักเกิดขึ้นในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากการแผ่ลิ่มของความกดอากาศสูงจากประเทศจีนลงมาบริเวณภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนั้น ในขณะที่ประเทศไทยตอนบนมีอากาศร้อนและชื้น มีการยกตัวของมวลอากาศอยู่บ้างแล้ว แต่เมื่อมีอากาศเย็นจากบริเวณความกดอากาศสูง ซึ่งมีลักษณะจมตัวลงและมีอุณหภูมิต่ำกว่า ทําให้มวลอากาศร้อนยกตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว และเมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) ที่ก่อตัวขึ้นก็จะเจริญขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งอุณหภูมิยอดเมฆต่ำกว่า -60 ถึง 80 องศาเซลเซียส จึงทําให้เกิดลูกเห็บตกได้
    [​IMG]
    สิ่งที่ควรปฏิบัติ
    1. ในขณะปรากฏพายุฝนฟ้าคะนอง หากอยู่ใกล้อาคาร หรือ บ้านเรือนที่แข็งแรง และปลอดภัยจากน้ำท่วม ควรอยู่แต่ภายในอาคาร จนกว่าพายุฝนฟ้าคะนองจะยุติลง ซึ่งใช้เวลาไม่นานนัก
    2. การอยู่ในรถยนต์ จะเป็นวิธีการที่ปลอดภัยวิธีหนึ่ง แต่ควรจอดรถให้อยู่ห่างไกลจากบริเวณที่น้ำอาจท่วมได้
    3. อยู่ห่างจากบริเวณที่เป็นน้ำ ขึ้นจากเรือ ออกห่างจากชายหาด เมื่อปรากฏพายุฝนฟ้าคะนอง เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากน้ำท่วม และฟ้าผ่า
    4. ในกรณีที่อยู่ในป่า ในทุ่งราบ หรือในที่โล่ง ควรคุกเข่าและโน้มตัวไปข้างหน้า แต?ไม่ควรนอนราบกับพื้น เนื่องจากพื้นเปียกเป็นสื่อไฟฟ้า และไม่ควรอยู่ในที่ต่ำ ซึ่งอาจเกิดน้ำท่วมฉับพลันได้ ไม่ควรอยู่ในที่โดดเดี่ยวหรืออยู่สูงกว่าสภาพสิ่งแวดล้อม
    5. ออกให้ห่างจากวัตถุที่เป็นสื่อไฟฟ้าทุกชนิด เช่น ลวด โลหะ ท่อน้ำ แนวรั้วบ้าน รถแทรกเตอร์ จักรยานยนต์ เครื่องมืออุปกรณ์ทําสวนทุกชนิด รางรถไฟ ต้นไม้สูง ต้นไม้โดดเดี่ยวในที่แจ้ง
    6. ไม่ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ ฯลฯ และควรงดใช้โทรศัพท์ชั่วคราว นอกจากกรณีฉุกเฉิน
    7. ไม่ควรใส่เครื่องประดับโลหะ เช่น ทองเหลือง ทองแดง ฯลฯ ในที่แจ้ง หรือ ถือวัตถุโลหะ เช่น ร่ม ฯลฯ ในขณะปรากฏพายุฝนฟ้าคะนอง นอกจากนี้ ควรดูแลสิ่งของต่างๆ ให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรง และปลอดภัยอยู่เสมอ โดยเฉพาะสิ่งของที่อาจจะหักโค่นได้ เช่น หลังคาบ้าน ต้นไม้ ป้ายโฆษณา เสาไฟฟ้า เป็นต้น
    ข้อมูลจาก : กรมอุตุนิยมวิทยา
    Design by www.thaisnews.com <!--BEGIN WEB STAT CODE----><SCRIPT language=javascript1.1> page="life";</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.1 src="http://hits.truehits.in.th/data/c0002656.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.in.th/func/th_donate_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT src="http://tracker.truehits.in.th/func/th_common_1.4.js"></SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.2>sv=1.2;ss=screen.width+'*'+screen.height;sc=(bn=='MSIE')?screen.colorDepth:screen.pixelDepth;if(sc==udf){sc='na';}</SCRIPT><SCRIPT language=javascript1.3>sv=1.3; </SCRIPT>[​IMG] <!-- END WEBSTAT CODE -->
     
  12. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    รวมภาพสุดยอดพายุ

    [​IMG]
    .
    .
    .
    นึกภาพไม่ถูกเลย คนแถวนั้นจะเป็นไง

    [​IMG]
    .
    .
    .
    สภาพ บ้านเมืองตอนโดนพายุ

    [​IMG]
    .
    .
    .

    [​IMG]
    .
    .
    .
    ท้องฟ้าน่ากลัวจัง

    [​IMG]
    .
    .
    .
    เกิดคลื่นลูกมหึมา

    [​IMG]
    .
    .
    .
    [​IMG]
    .
    .
    .
     
  13. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    ถ้ามีผมจะนำมาลงให้อีกครับ
     
  14. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    [​IMG]






    [​IMG]
     
  15. FenderMan

    FenderMan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    280
    ค่าพลัง:
    +566
    d

    ผมก็ได้รูปมาจากครับ พันทิป มันเกิดขึ้นช่วงนี้ บางคนบอกว่าลักษณะ คล้ายอาเพท ด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    [​IMG]
     
  17. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2] South Sioux City, NE[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]May 11, Aberdeen South Dakota[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]May 16, Holt County NE Tornadoes[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:picsz("320","212") -->[​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]May 22, Columbus to Blair SUPERCELL[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]May 24, Chester Nebraska into KS Tornadoes[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]May 28, Highway 12 Nebraska Supercell[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]June 10, sw NE Tornado and Gothenburg Supercell[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]June 11, nc IA Tornadoes[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]June 13 Alvo Nebraska Supercell and Tornadoes[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]June 14 Blair, Nebraska 4 a.m. fun[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]July 5 Clarks Nebraska Supercell[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]July 8, 2004 Mullen Nebraska Beast[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]July 12 central Nebraska Monster Supercell and Tornadoes[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:picsz("400","268") -->[​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]July 15 sw NE Supercell and Wind Storm[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="38%">[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]August 26, 2004 Coin Iowa Tornadoes[/FONT]

    </TD><TD vAlign=center width="62%"><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2][​IMG][/FONT]

    </CENTER><CENTER>[FONT=Verdana,Arial,Times New I2]<!-- $MVD$:spaceretainer() -->[/FONT]

    </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center width="50%">2007

    Hopefully this will be a good year for chasing.

    </TD><TD vAlign=center width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER>[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">2006

    54 sets of images. Not a fantastic year for big supercells. It was a decent year for sky photography though.

    </TD><TD vAlign=center width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:picsz("720","480") -->[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">2005

    32 sets of images. 2005 was a harder year, and a year I chased the most in. It most certainly had some amazing displays.

    </TD><TD vAlign=top width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER>[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">2004

    18 sets of images. 2004 was hands down the craziest spring for storm chasers to chase during. There are rather wild looking storms in this section. I quit my job to chase all spring and have been "making a living" at this since then. I could not have picked a better year to do this in.

    </TD><TD vAlign=top width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER>[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">2003

    13 sets of images. 2003 was a tough year for me personally. It was my best year up to that point, but still, I was missing out on good events. I did get a couple amazing supercells as well as my best and closest tornado encouter on May 10(in far ne MO of all places).

    </TD><TD vAlign=top width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:picsz("640","480") -->[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">2002

    10 sets of images. 2002 was an interesting year. I had about 30 chases and not once did I see a tornado. It wasn't because I was missing them on those days, but simply they weren't being produced anywhere(on the days I chased...mostly). 2002 was a very tight year. What it was not short of was beautiful storm structures. This would be the first year I buy a still camera. This was a pretty good move as the years to follow have had things that really begged to be shot with something higher resolution than a video camera.

    </TD><TD vAlign=top width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:picsz("640","480") -->[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">2001

    7 sets of images. Like in 2000 and in 2002, summer storms really saved my year. The most memorable chase of 2001 was certainly the July 16 chase.

    </TD><TD vAlign=top width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:picsz("401","331") -->[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR><TR><TD vAlign=center width="50%">96-2000

    5 sets of images. "The rookie years" I guess. 1999 was my first chase year and I got lucky the first time out. In 2000 it took until late July before I could find a tornado again.

    </TD><TD vAlign=center width="50%"><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:picsz("592","420") -->[​IMG]

    </CENTER><CENTER><!-- $MVD$:spaceretainer() -->

    </CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. รัก+ยม

    รัก+ยม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    863
    ค่าพลัง:
    +3,122
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=5 width=660 border=0><TBODY><TR bgColor=#f0ffff><TD align=middle>พายุ.....หาดกะตะ-ภูเก็ต </TD></TR><TR><TD align=middle bgColor=#fffff0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=5 width=660 bgColor=#fffff0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=right width="18%">รายละเอียด : </TD><TD align=left>หาดกะตะ...จังหวัดภูเก็ต ถ่ายเมื่อเดือนเมษายน 2542 ตอนที่มีพายุ..ตามชายหาดจะมีคลื่นลูกใหญ่มาก.. ไม่มีผู้คนลงเล่นน้ำแม้แต่คนเดียว.
    แต่...ท่ามกลางพายุร้าย ก็ซ่อนความสวยงามของฟองคลื่น อันมหิมาไว้.. ยากจะลืมเลือน. ประทับใจจริง ๆ กับฟองคลื่นที่โหมกระหน่ำชายหาดกกะตะ.. ชายหาดแห่งนี้แม้ยามไม่มีพายุ คลื่นลมก็ยิ่งใหญ่ เป็นที่ประทับใจชาวต่างชาติยิ่งนัก.. ได้ไปอีกครั้งเมื่อวันแม่ที่ผ่านมา มีภาพชาวต่างชาตินอนอาบแดดมากมาย ... แต่ไม่อยากนำมาลงให้ชมเพื่อเป็นภาพค่อนข้างไม่สุภาพ.. แต่ถ้าคิดในแง่ศิลปของภาพ นับว่ามีองค์ประกอบภาพที่หากได้ไม่ง่ายนัก

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  20. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,093
    ค่าพลัง:
    +62,396
    [​IMG]

    ทั้งสวยงามและน่ากลัวนะ..เมื่อวานที่อเมริกาเจอไปอีกสองลูก
     

แชร์หน้านี้

Loading...