เปิดใจ "รู้จริง เห็นจริง และปฏิบัติได้จริง"มาเล่าสู่กันฟังนะ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย prachas, 30 มกราคม 2012.

  1. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    :z16เอามาฝาก5

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C06%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"MS Sans Serif"; panose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-alt:"Times New Roman"; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:auto; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยในชีวิต ความกลัวทั้ง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ไปแล้ว ความกลัวตายในปัจจุบันมิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ดุจบุรุษไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เรา[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มีความกลัวตายเหมือน[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    บุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไปแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดี[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    แล้ว แม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2012
  2. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก6

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C07%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"MS Sans Serif"; panose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-alt:"Times New Roman"; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:auto; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ผู้ก้าวล่วงสังโยชน์ทั้งปวง ออกจากป่า คือ กิเลสมาสู่นิพพาน<o></o>
    ออกจากกามมายินดีในเนกขัมมะ เหมือนทองคำอันพ้นแล้วจากหินฉะนั้น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
     
  3. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก7

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C08%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"MS Sans Serif"; panose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-alt:"Times New Roman"; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:auto; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 37.3pt 72.0pt 60.0pt; mso-header-margin:35.45pt; mso-footer-margin:35.45pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> ช้างตัวประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้านั้น เป็น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ผู้มีปกติเพ่งฌาน ยินดีในนิพพาน มีจิตตั้งมั่นดีแล้วในภายใน คือ เมื่อ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เดินก็มีจิตตั้งมั่น เมื่อยืนก็มีจิตตั้งมั่น นอนก็มีจิตตั้งมั่น แม้เมื่อนั่งก็มี[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    จิตตั้งมั่น เป็นผู้สำรวมในที่ทั้งปวง อันนี้เป็นคุณสมบัติของช้างผู้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้า ช้างตัวประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้า<o></o>
    <o></o>
    เหมือนช้างที่อดทนต่อศาตราวุธในยุทธสงครามฉะนั้น เราไม่ยินดีความ[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ตาย ไม่เพลิดเพลินความเป็นอยู่ เรารอเวลาตาย เหมือนลูกจ้างรอให้[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    หมดเวลาทำงาน ฉะนั้น เราไม่ยินดีความตาย ไม่เพลิดเพลินความเป็น[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    อยู่ แต่เรามีสติสัมปชัญญะรอเวลาตาย พระศาสดาเราได้คุ้นเคยแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    เราทำคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเสร็จแล้ว ปลงภาระอันหนักลงแล้ว[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    ถอนตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพขึ้นแล้ว ได้บรรลุถึงประโยชน์ที่กุลบุตรทั้ง[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    หลายออกบวชเป็นบรรพชิตต้องการแล้ว เพราะฉะนั้น จะมีประโยชน์[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    อะไรด้วยสัทธิวิหาริก ผู้ว่ายากแก่เรา.[FONT=&quot]<o></o>[/FONT]
    <o>
    </o>
     
  4. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก8

    จากคู่มือพุทธประวัติ

    วามเห็นเรื่องการตาย-เกิด<o></o>
    ความเห็นของคนในยุคนั้นแบ่งเป็น ๒ พวก<o></o>
    พวกที่ ๑ เห็นว่าตายแล้วเกิด พวกนี้พยายามทำความดีเพื่อไปเกิดในภพที่ดีกว่า<o></o>
    พวกที่ ๒ เห็นว่าตายแล้วสูญ พวกนี้ไม่สนใจทำความดี เพราะเห็นว่าตายแล้วไม่เกิดอีก<o></o>
    ความเห็นเรื่องสุข-ทุกข์<o></o>
    พวกที่ ๑ เห็นว่า สัตว์หรือมนุษย์จะได้สุขหรือทุกข์ก็ได้เองไม่มีเหตุปัจจัยบันดาล<o></o>
    พวกที่ ๒ เห็นว่า สุข-ทุกข์ ไม่ได้เกิดขึ้นเอง มีเหตุปัจจัยบันดาลให้เกิด<o></o>
    พวกที่ ๑ ขาดการขวนขวาย คอยแต่จะรับสุข-ทุกข์ สุดแต่จะเป็นไป ปล่อยชีวิตไปตามยถากรรม<o></o>
    พวกที่ ๒ เว้นชั่วประพฤติดี พยายามสร้างเหตุดี เพื่อคอยรับผลดีตอบสนอง<o></o>
     
  5. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208


    เอามาฝาก9

    พระองค์ทรงแนะนำให้ปฏิบัติกลางๆไม่หย่อนไม่ตึงเกินไป เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือการปฏิบัติตาม มรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑.สัมมาทิฐิ เห็นชอบ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๒.สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๓.สัมมาวาจา เจรจาชอบ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๔.สัมมากัมมันตะ การงานชอบ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๕.สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๖.สัมมาวายามะ เพียรชอบ<o></o><!--[endif]-->
    <!--[if !supportLists]-->๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๘.สัมมาสมาธิ ตั้งมั่นชอบ<!--[endif]--><o></o>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 99.jpeg
      99.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      9.5 KB
      เปิดดู:
      67
  6. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก10

    เผื่อสหายธรรมของเราสนใจ

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C04%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} /* List Definitions */ @list l0 {mso-list-id:171729853; mso-list-type:hybrid; mso-list-template-ids:1887457800 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715;} @list l0:level1 {mso-level-tab-stop:42.0pt; mso-level-number-position:left; margin-left:42.0pt; text-indent:-18.0pt;} @list l1 {mso-list-id:972293583; mso-list-type:hybrid; mso-list-template-ids:430091274 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715;} @list l1:level1 {mso-level-tab-stop:36.0pt; mso-level-number-position:left; text-indent:-18.0pt;} @list l2 {mso-list-id:1262184297; mso-list-type:hybrid; mso-list-template-ids:-557920488 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715;} @list l2:level1 {mso-level-tab-stop:36.0pt; mso-level-number-position:left; text-indent:-18.0pt;} @list l3 {mso-list-id:1866140567; mso-list-type:hybrid; mso-list-template-ids:1989596546 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715 67698703 67698713 67698715;} @list l3:level1 {mso-level-tab-stop:36.0pt; mso-level-number-position:left; text-indent:-18.0pt;} ol {margin-bottom:0cm;} ul {margin-bottom:0cm;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]กรรมฐาน ๔0[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]กสิณ ๑0 [/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->1.<!--[endif]-->[FONT=&quot] ปฐวีกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งดิน[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->2.<!--[endif]-->[FONT=&quot] อาโปกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งน้ำ[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->3.<!--[endif]-->[FONT=&quot] เตโชกสิณ คือ เพ่งไฟ[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->4.<!--[endif]-->[FONT=&quot] วาโยกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งลม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->5.<!--[endif]-->[FONT=&quot] นีลกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งสีเขียว[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->6.<!--[endif]-->[FONT=&quot] ปีตกสีณ คือ[/FONT] [FONT=&quot]เพ่งสีเหลือง[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->7.<!--[endif]-->[FONT=&quot] โลหิตกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งสีแดง[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->8.<!--[endif]-->[FONT=&quot] โอทาตกสิณ คือ เพ่งสีขาว[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->9.<!--[endif]-->[FONT=&quot] อาโลกกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งแสงสว่าง[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->10.<!--[endif]-->[FONT=&quot]อากาสกสิณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ เพ่งอากาศ[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อนุสสติ ๑0[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->1.<!--[endif]-->[FONT=&quot]พุทธานุสสติ[/FONT] [FONT=&quot]คือ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->2.<!--[endif]-->[FONT=&quot]ธัมมานุสสติ คือ ระลึกถึงพระธรรมคำสอน[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->3.<!--[endif]-->[FONT=&quot]สังฆานุสติ คือ ระลึกถึงพระอริยะเจ้า[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->4.<!--[endif]-->[FONT=&quot]สีลานุสสติ[/FONT] [FONT=&quot] คือ ระลึกถึงศีล[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->5.<!--[endif]-->[FONT=&quot]จาคานุสสติ[/FONT] [FONT=&quot]คือ ระลึกถึงการให้ทาน[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->6.<!--[endif]-->[FONT=&quot]เทวตานุสสติ[/FONT] [FONT=&quot]คือ ระลึกถึงคุณความดีของเทวดา[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->7.<!--[endif]-->[FONT=&quot]มรณานุสสติ คือ ระลึกถึงความตาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->8.<!--[endif]-->[FONT=&quot]กายคตานุสสติ[/FONT] [FONT=&quot]คือ ระลึกถึงความเป็นจริงของร่างกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->9.<!--[endif]-->[FONT=&quot]อานาปานุสสติ คือ ระลึกถึงลมหายใจเป็นปกติ[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->10.<!--[endif]-->[FONT=&quot]อุปสมานุสสติ[/FONT] [FONT=&quot]คือ ระลึกถึงสภาวะแห่งพระนิพพานเป็นอารมณ์[/FONT]<o></o>
    <o></o>
    [FONT=&quot]อสุภ ๑0[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->1.<!--[endif]-->[FONT=&quot]อุทธุมาตกอสุภ คือ การพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นช[/FONT]<o></o>ม
    <!--[if !supportLists]-->2.<!--[endif]-->[FONT=&quot]วินีลกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot]คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->3.<!--[endif]-->[FONT=&quot]วิปุพพกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot] คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->4.<!--[endif]-->[FONT=&quot]วิฉิททกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot]คือ การพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->5.<!--[endif]-->[FONT=&quot]วิกขายิตกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot]คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->6.<!--[endif]-->[FONT=&quot]วิกขิตตกอสุภ คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->7.<!--[endif]-->[FONT=&quot]หตวิกขิตตกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot]คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->8.<!--[endif]-->[FONT=&quot]โลหิตกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot]คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชมของเลือด[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->9.<!--[endif]-->[FONT=&quot]ปุฬุวกอสุภ[/FONT] [FONT=&quot]คือ การพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชม[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]10.[/FONT][FONT=&quot] อัฏฐิกอสุภ คือการพิจารณาเห็นความน่ารังเกียจและไม่น่าชื่นชมของโครงกระดูก<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]วิปัสสนาญาณ๙[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->1.<!--[endif]-->[FONT=&quot]อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ คือ พิจารณาที่มาที่กำลังอยู่และที่กำลังจะไปของเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->2.<!--[endif]-->[FONT=&quot]ภังคานุปัสสนาญาณ คือ พิจารณาการเสื่อมและดับลงอยู่ตลอดเวลาของเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->3.<!--[endif]-->[FONT=&quot]ภยตูปัฏฐานญาณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ รู้ทุกข์ภัยแห่งการมีเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->4.<!--[endif]-->[FONT=&quot]อาทีนวานุปัสสนาญาณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ พิจารณาเห็นโทษแห่งการมีเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->5.<!--[endif]-->[FONT=&quot]นิพพิทานุปัสสนาญาณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ พิจารณาเห็นความน่าเบื่อหน่ายแห่งการมีเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->6.<!--[endif]-->[FONT=&quot]มุญจิตุกามยตาญาณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ รู้เหตุและผลแห่งการมีเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->7.<!--[endif]-->[FONT=&quot]ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ คือ พิจารณาหาหนทางหลุดพ้นจากการมีเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->8.<!--[endif]-->[FONT=&quot]สังขารุเปกขาญาณ[/FONT] [FONT=&quot]คือ รู้อารมณ์แห่งการวางเฉยต่อการกระทบของเรือนกาย[/FONT]<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->9.<!--[endif]-->[FONT=&quot]สัจจานุโลมิกญาณ คือ รู้โลกแห่งความเป็นจริงทั้งปวงว่าเป็นอริยะสัจจธรรมทั้ง๔ประการ<o></o>[/FONT]
    [FONT=&quot]พิจาณาขันธ์ ๕ เป็นวิปัสสนาญาณ[/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2012
  7. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก11

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CADMINI%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:"Cordia New"; panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:14.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} h1 {mso-style-next:Normal; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; text-align:center; mso-pagination:widow-orphan; page-break-after:avoid; mso-outline-level:1; font-size:20.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-font-kerning:0pt; font-weight:normal;} h2 {mso-style-next:Normal; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; page-break-after:avoid; mso-outline-level:2; font-size:20.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; font-weight:normal;} p.MsoTitle, li.MsoTitle, div.MsoTitle {margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; text-align:center; mso-pagination:widow-orphan; font-size:20.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} p.MsoSubtitle, li.MsoSubtitle, div.MsoSubtitle {margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:20.0pt; font-family:"Cordia New"; mso-fareast-font-family:"Cordia New"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:595.3pt 841.9pt; margin:72.0pt 63.7pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]สมาบัติ ๘[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]รูปฌาน [/FONT]1. [FONT=&quot]ปฐมฌาน[/FONT]
    2. [FONT=&quot]ทุติยฌาน[/FONT]<o></o>
    3. [FONT=&quot]ตติยฌาน[/FONT]<o></o>
    4. [FONT=&quot]จตุตถฌาน[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อรูปฌาน [/FONT]5.[FONT=&quot]อากาสานัญจายตนะ คือ เป็นอากาศ[/FONT]<o></o>
    6.[FONT=&quot]วิญญาณัญจายตนะ คือ เป็นร่างโปร่งใส[/FONT]<o></o>
    7.[FONT=&quot]อากิญจัญญายตนะ คือ เป็นความว่างเปล่า[/FONT]<o></o>
    8.[FONT=&quot]เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ เป็นสิ่งที่ไม่มีการรับรู้[/FONT]<o></o>
    <o>
    </o>​
    [FONT=&quot]ญาณ ๘[/FONT]<o></o>

    [FONT=&quot]ทิพยจักขุญาณ คือ มีจิตรู้ในโลกธรรม[/FONT]
    [FONT=&quot]จุตูปปาตญาณ คือ รู้สถานที่เกิดของสัตว์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]เจโตปริยญาณ คือ รู้อารมณ์จิตของสัตว์[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ระลึกชาติได้[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อดีตังสญาณ คือ รู้เหตุการณ์ในอดีต[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]อนาคตังสญาณ คือ รู้เหตุการณ์ในอนาคต[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ปัจจุปปันนังสญาณ คือ รู้เหตุการณ์ในปัจจุบัน[/FONT]<o></o>
    [FONT=&quot]ยถากัมมุตาญาณ คือ รู้ผลกรรมอะไรเป็นเหตุ[/FONT]<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 กุมภาพันธ์ 2012
  8. อิ่มทิพย์

    อิ่มทิพย์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    34
    ค่าพลัง:
    +34
    กระทู้นี้มีแต่คนบ้าาาาาา&วิกลจริต
     
  9. ANAN JANG

    ANAN JANG เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    544
    ค่าพลัง:
    +175
    คนเรามันก็บ้ากันเป็นปกติอยู่แล้วครับ

    บ้าทั้งรัก ทั้งโลภ ทั้งโกรธ ทั้งหลง ++
     
  10. ice_jade

    ice_jade เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กันยายน 2005
    โพสต์:
    68
    ค่าพลัง:
    +311

    อนุโมทนาสาธุค่ะ จะจำไว้เตือนสติตนเอง
     
  11. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก12

    พระองค์ท่านได้แบ่งบุคคลไว้4จำพวก
    พวกที่1 คนบางคนชอบพูด แต่ไม่ชอบทำ เปรียบดั่งฟ้าคำรามแต่ฝนไม่ตก
    พวกที2 คนบางคนชอบทำ แต่ไม่ชอบพูด เปรียบดั่งฝนตกแต่ฟ้าไม่คำราม
    พวกที่3 คนบางคนชอบพูดด้วยและชอบทำด้วย เปรียบดั่งฟ้าคำรามแล้วฝนก็ตกด้วย
    พวกที่4 คนบางคนไม่ชอบพูดและก็ไม่ชอบทำด้วย เปรียบดั่งฟ้าไม่คำรามและฝนก็ไม่ตก
    ขอความสวัสดีจงมีแด่ท่านทั้งหลายเทอญ
     
  12. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เล่าสู่กันฟัง9
    พระอรหันต์มาบอก
    เรื่องเกิดเมื่อสัก4-5ปีก่อน หลังจากผมทำสมาธิแล้วก็ล้มตัวนอนสักพักนึง ตัวเราก็ลอยไปบนอากาศแล้วก็ไปลงตรงใกล้ๆกับโต้ะหมู่บูชาที่ใหนก็ไม่รู้ ซึ้งมีพระพุทธรูปอยู่หนึ่งองค์ เราก็คลานไปก้มลงกราบ พอกราบครั้งที่สองเรารู้สึกว่ามีใครอยู่ใกล้ๆเรา แต่ไม่ได้สนใจ ขณะที่กำลังกราบครั้งที่สาม พระพุทธรูปที่ตรงหน้าเราหายไป มีแต่พระจริงๆนั้งอยู่ พร้อมกับพระอีก7 องค์ ล้อมเราอยู่ แล้วพระองค์ที่อยู่ตรงหน้าเราก็พูดว่า "ฮึ..ศิษย์พระอานนท์" แค่นั้นแหละเราก็ร้องให้
    หากเราเป็นศิษย์พระอานนท์ท่านจริง แล้วทำไม่เราจึงยังมาเกิดอยู่ที่นี่อีกหละ..มันนานมากแล้วนะเมื่อนับจากสมัยพุทธกาล นี่เราโง่เขล่าเบาปัญญามากเลยหรือนี่ แค่นี้แหละครับตื่นมาก็น้ำตาท่วมหมอนไป
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 99.jpeg
      99.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      8.5 KB
      เปิดดู:
      63
  13. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เอามาฝาก13


    "โลกธรรม 8" หมายถึง เรื่องของโลกซึ่งมีอยู่ประจำกับชีวิต สังคมและโลกของมนุษย์ เป็นความจริงที่ทุกคนต้องประสบด้วยกันทั้งนั้นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะชอบหรือไม่ชอบก็ตาม อยู่ที่ว่า ใครจะประสบมาก หรือประสบน้อย ช้าหรือเร็วกว่ากัน
    โลกธรรม แบ่งออกเป็น 8 ชนิด จำแนกออกเป็น 2 ฝ่ายควบคู่กัน ซึ่งมีความหมายตรงข้ามกัน คือ ฝ่ายอิฏฐารมณ์ อารมณ์ที่น่าปรารถนาและฝ่ายอนิฏฐารมณ์ อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ดังนี้


    โลกธรรมฝ่ายอิฏฐารมณ์ คือ ฝ่ายที่มนุษย์พอใจมี 4 เรื่อง คือ
    1.ได้ลาภ หมายความว่า ได้ผลประโยชน์ ได้ทรัพย์สินเงินทอง ได้บ้านเรือนหรือที่สวน ไร่นา
    2.ได้ยศ หมายความว่า ได้รับแต่งตั้งให้มีฐานันดรสูงขึ้น ได้ตำแหน่ง ได้อำนาจเป็นใหญ่เป็นโต
    3.ได้รับสรรเสริญ คือ ได้ยิน ได้ฟัง คำสรรเสริญคำชมเชย คำยกยอ
    4.ได้สุข คือ ได้ความสบายกาย สบายใจ ได้ความเบิกบาน ร่าเริง ได้ความบันเทิงใจ
    โลกธรรมฝ่ายอนิฏฐารมณ์ คือ ฝ่ายที่มนุษย์ไม่พอใจมี 4 เรื่อง คือ
    1. เสียลาภ หมายความว่า ลาภที่ได้มาแล้วเสียไป
    2. เสื่อมยศ หมายถึง ถูกลดความเป็นใหญ่ ถูกถอดออกจากตำแหน่ง ถูกถอดอำนาจ
    3. ถูกนินทา หมายถึง ถูกตำหนิติเตียนว่าไม่ดี ถูกผู้อื่นพูดถึงความไม่ดีของเราในที่ลับหลังเรียกว่าถูกนินทา
    4. ตกทุกข์ คือ ได้รับความทุกข์ทรมานกายทรมานใจ
    ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ ไม่มีอะไรเที่ยง ไม่มีอะไรแน่นอน ไม่มีอะไรเป็นตัวของเราเอง ไม่มีใครในโลกนี้จะพบแต่ความสมหวังตลอดชีวิต จะต้องพบกับคำว่าผิดหวังบ้าง
    ผู้มีปัญญาได้รับการศึกษาอบรมมาอย่าง ดีแล้ว พึงทำใจเอาไว้กลางๆ ว่า มีคนนินทา ก็ต้องมีคนสรรเสริญ มีสุขก็ต้องมีทุกข์ มีลาภย่อมเสื่อมลาภ มียศก็ย่อมเสื่อมยศ หากเราหวังอะไรเกินเหตุ เมื่อเวลาเราผิดหวัง ไม่สมหวัง ให้ทำใจไว้ว่านั่นคือโลกธรรมทั้ง 8 คือมีได้ก็ต้องเสื่อมได้ เป็นของธรรมดาในโลกนี้ ไม่ว่าสัตว์หรือบุคคลใด ก็ย่อมหนีสิ่งเหล่านี้ไปไม่พ้น เมื่อเกิดมาเป็นมนุษย์ ก็ย่อมหนีสิ่งเหล่านี้ไปไม่พ้นอย่างแน่นอน เพราะไม่สมปรารถนาที่ตัวเองคิดไว้ จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียอกเสียใจ รำพึงรำพันกับตัวเองถึงความไม่สมหวัง จะได้ไม่ต้องเป็นทุกข์มาก
    เพราะฉะนั้น จงใช้สติปัญญาหมั่นพิจารณาอยู่เนืองๆ ว่า สิ่งใดมีเกิดขึ้น ก็ต้องมีเสื่อมไปเป็นของธรรมดา เหมือนโลกธรรมทั้ง 8 ประการ เราเกิดมาเป็นมนุษย์ทุกคนจะต้องตกอยู่ในโลกธรรม 8 กันถ้วนหน้า จะได้ไม่ต้องเศร้าโศกเสียใจเป็นทุกข์ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในโลกนี้อย่างเป็นสุข

    ขอขอบคุณท่านผู้ให้บทธรรมทั้งหมดนี้ ขอความสวัสดีจงมีแด่ท่านและหมู่คณะเทอญ สาธุ..
     
  14. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เล่าสู่กันฟัง10
    แด่สหายธรรม
    3กุมภา+49 ผมก็ไม่รู่ว่ามันคืออะไร??มันได้ตอนทำสมาธิงะ..
    หมู่นี้ฝันเห็นแต่พายุ สี่ห้าครั้งแล้ว เห็นTornado 2ครั้ง,พายุหอบน้ำ1,เมฆหมุนเป็นเกลียวอยู่บนท้องฟ้า2 เฮอ.ไม่รู้ว่ามันจะฝันอะไรกันหนักกันหนา ธรรมชาติจะเอางัยก็ว่าไป เราเป็นแค่มนุษย์เดินดิน คงต้องรับๆกันไป
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 111.jpeg
      111.jpeg
      ขนาดไฟล์:
      5.5 KB
      เปิดดู:
      81
  15. ปารามิตราราชาวดี

    ปารามิตราราชาวดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    93
    ค่าพลัง:
    +404
    เมื่อปีที่แล้วดิฉันก็ฝันเห็น พายุหมุน เหมือนทอร์นาโด 3-4 ลูก ทั้งปีฝันเห็น 4-5 ครั้งค่ะ
     
  16. ANAN JANG

    ANAN JANG เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    544
    ค่าพลัง:
    +175
    สงสัยลม+น้ำ จะมาก่อน ><
     
  17. prachas

    prachas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +1,208
    เล่าสู่กันฟัง11
    แด่สหายธรรม สงสัยดาวที่ว่ามันจะมีจริงซะแล้ว ผมเห็นมัดชัดเจนมาก มันมีสีแดงจัดจริงๆหาง
    มันหยั่งกะเปลวเพลิงวิ่งตามความเร็วของลูกไฟยังงัยยังงั้น เห็นใกล้เวลาเดิมอีกแหละ 05:55:44 วันที่10Feb12
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 99.jpg
      99.jpg
      ขนาดไฟล์:
      3.6 KB
      เปิดดู:
      709
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 กุมภาพันธ์ 2012
  18. one14300

    one14300 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    153
    ค่าพลัง:
    +212
    ผมขอมาเล่าด้วยน่ะ(ใครจะเชื่อหรือไม่เชื่อผมไม่รู้นะ)เมื่อประมาณ3-4วันก่อนผมฝันเห็นบ้านเมืองพังถล่มเเละมีลางสังหรณ์ขึ้นมาเองที่ฟิลิปปินส์มันคิดอยู่ว่าอะไรเกิดที่ฟิลิปปินส์พอตื่นเช้ามาก้เจอข่าวฟิลิปปินส์เเผ่นดินไหวคนตายafter shock 700ครั้งผมก้ตกใจว่าผมฝันถึงเรื่องในอนาคตได้เป็นอะไรไม่รู้จะเห็นหรือรับรู้ก่อนที่มันจะเกิดขึ้นมันเริ่มเป็นตั้งเเต่อายุประมาณ12อ่ะครับคือเห็นเเป้นบาสมันลงทับเด็กพออึดใจเดียวมันก้หล่นมาทับเด้กจริงๆเเต่เด็กไม่เป็นไรมากอ่ะครับ
     
  19. พิชญากร

    พิชญากร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 เมษายน 2010
    โพสต์:
    909
    ค่าพลัง:
    +5,260
    ........................

    ขอบคุณค่ะ ชอบวิปัสสนาญาณ ในเรื่องพิจารณาขันธ์ 5 ขอบคุณค่ะสำหรับธรรมทาน ทุกวันนี้ฝึกสมถะ ควบกับวิปัสสนา ก็เลยไม่ค่อยได้เห็นอะไรจริงจัง ส่วนใหญ่จะหลับไปก่อนเสมอค่ะ ตื่นมาก็จำอะไรไม่ได้แล้ว....จะติดตามกระทู้นี้ไปเรื่อยนะคะ
     
  20. จาคา

    จาคา Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    30
    ค่าพลัง:
    +27
    ขออนุโมทนา ค่ะprachas
     

แชร์หน้านี้

Loading...