นักวิชาการจี้เวียดนามปิดเขื่อนร้าว ดินไหวอีกครั้งพังครืนแน่

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย สังขารไม่เที่ยง, 22 มีนาคม 2012.

  1. สังขารไม่เที่ยง

    สังขารไม่เที่ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    5,943
    ค่าพลัง:
    +24,697
    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>นักวิชาการจี้เวียดนามปิดเขื่อนร้าว ดินไหวอีกครั้งพังครืนแน่</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>23 มีนาคม 2555 14:41 น.</TD><TD vAlign=center align=left><SCRIPT type=text/javascript src="http://platform.twitter.com/widgets.js"></SCRIPT><IFRAME style="WIDTH: 116px; HEIGHT: 20px" class="twitter-share-button twitter-count-horizontal" title="Twitter Tweet Button" src="http://platform.twitter.com/widgets/tweet_button.1332442903.html#_=1332518294828&count=horizontal&id=twitter-widget-0&lang=en&original_referer=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FIndoChina%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000037254&size=m&text=%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%20%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B9%88&url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FIndoChina%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000037254&via=ASTVManager" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME>

    Share22
    <SCRIPT type=text/javascript src="https://apis.google.com/js/plusone.js" gapi_processed="true"> {lang: 'th'}</SCRIPT><IFRAME style="POSITION: static; BORDER-BOTTOM-STYLE: none; BORDER-RIGHT-STYLE: none; MARGIN: 0px; WIDTH: 90px; BORDER-TOP-STYLE: none; HEIGHT: 20px; VISIBILITY: visible; BORDER-LEFT-STYLE: none; TOP: 0px; LEFT: 0px" id=I1_1332518296406 title=+1 tabIndex=0 marginHeight=0 src="https://plusone.google.com/_/+1/fastbutton?url=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th%2FIndoChina%2FViewNews.aspx%3FNewsID%3D9550000037254&size=medium&count=true&hl=th&jsh=m%3B%2F_%2Fapps-static%2F_%2Fjs%2Fgapi%2F__features__%2Frt%3Dj%2Fver%3Dk8ICCiiH11w.th.%2Fsv%3D1%2Fam%3D!brN6X75-Zu-IDRYPeA%2Fd%3D1#id=I1_1332518296406&parent=http%3A%2F%2Fwww.manager.co.th&rpctoken=278170804&_methods=onPlusOne%2C_ready%2C_close%2C_open%2C_resizeMe%2C_renderstart" frameBorder=0 width="100%" allowTransparency name=I1_1332518296406 marginWidth=0 scrolling=no></IFRAME>

    <TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; HEIGHT: 35px; OVERFLOW: hidden; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/asp-bin/mgrshort.aspx?NewsID=9550000037254&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=504><TBODY><TR><TD vAlign=top width=504 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    ราษฎรเวียดนามในท้องถิ่นเดินผ่านบริเวณที่เกิดดินยุบกินอาณาบริเวณกว้างใกล้สันเขื่อนซงแจง 2 ใน จ.กว๋างนาม เดือน ธ.ค.ปีที่แล้ว ในภาพแฟ้มหนังสือพืมพ์เตื่อยแจ๋ ดินยุบเกิดขึ้นหลังจากเกิดแผ่นดินไหวในเดือน พ.ย. ติดตามมาด้วยเสียงดังกึกก้องที่ฟังดูประหลาดๆ ต่อเนื่องกันหลายครั้ง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า เป็นเสียงของหินเลื่อนใต้ภูเขาในอาณาบริเวณลำน้ำซงแจง แต่การไฟฟ้าเวียดนามอธิบายว่าหลุมลึกที่อยู่ใกล้สันเขื่อนเกิดจากการก่อสร้างคันดิน ไม่ได้เกี่ยวกับแผ่นดินไหวและไม่ได้ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างเขื่อนคอนกรีตแบบอัดแรงแม้แต่น้อย แต่ในวันนี้ได้เกิดรอยร้าวใหญ่ขึ้นที่ตัวเขื่อนอย่างเป็นปริศนา นักวิชาการจี้ให้รัฐบาลสั่งปิดเขื่อนและระบายน้ำออกโดยด่วน. -- ภาพ: Tuoi Tre. </B></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ASTVผู้จัดการออนไลน์ – นักวิชาการทางด้านการชลประทานและ อุทกศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในเวียดนามเรียกร้องให้รัฐบาลรีบสั่งให้การไฟฟ้าเวียดนามปิดเขื่อนที่กำลังรั่วรุนแรงอยู่ในขณะนี้ ก่อนจะเกิดโศกนาฏกรรมโดยชี้ว่าไม่มีทางที่จะอุดรอยร้าวได้อย่างถาวร และ ถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวอีกครั้งหนึ่งเขื่อนใหญ่อาจจะพังทลายสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของราษฎรนับหมื่นๆ ได้

    ศ.ดร.หว่างวันเติ๋น (Hoàng Văn Tấn) ผู้เชี่ยวชาญด้านอุทกศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยการก่อสร้าง กล่าวว่าคณะกรรมการบริหารที่ 2 ซึ่งรับผิดชอบเขื่อนซงแจง 2 (Sông Tranh 2) ที่มีรอยร้าวและมีน้ำรั่วออกมาอย่างแรงในขณะนี้ ได้กระทำการแบบ "ขัดต่อลักษณะวิชาชีพ" คือ พยายามใช้สารเคมีฉีดเข้าอุดรอยรั่วในท่ามกลางน้ำไหล ซึ่งไม่ต่างกับการพ่นสเปรย์ให้หายไปในสายหมอก และ ปลอบใจตัวเองว่า "ควบคุมได้"

    ศ.ดร.เติ่นกล่าวว่า ลักษณะที่เกิดเป็นรอยรั่วยาวขนาด 1 เมตรถึง 3 แห่ง และรอยพรุนอีกมากมายในตัวเขื่อน บอกให้ทราบว่า มีความปรกติทางด้านโครงสร้าง ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่การออกแบบ จนถึงการก่อสร้าง อันเป็นประเด็นที่คณะกรรมการรบริหารฯ ปัดปฏิเสธอย่างสิ้นเชิง

    นักวิชาการผู้นี้กล่าวว่าก่อนอื่นจะต้องรีบปิดเขื่อนทันทีและเร่งระบายน้ำออก เพราะเขื่อนอาจจะแตกหรือพังได้ทุกเมื่อ หลังจากปิดการใช้งานแล้วผู้เชี่ยวชาญจะต้องใช้เครื่องมือที่ดีที่สุดตรวจสอบรอยรั่ว ก่อนจะตัดสินใจว่าจะใช้การต่อไปหรือไม่ หรือจะแก้ไจด้วยวิธีการใด

    ดร.บุ่ยจุงซวุง (Bùi Trung Dung) รองหัวหน้าคณะกรรมการตรวจรับโครงการในสังกัดกระทรวงก่อสร้าง ได้ให้สัมภาษณ์อย่างมั่นใจว่า "ความบกพร่องด้านการก่อสร้าง การออกแบบ ไม่ได้เป็นปัญหาอย่างแน่นอน"

    แต่เดจ้าหน้าที่ผู้นี้โยนกลองไปยังคณะกรรมการที่รับผิดชอบเขื่อนนี้ โดยระบุว่า "ขาดความรับผิดชอบ" ไม่ได้รีบจัดการกับปัญหาตั้งแต่ต้น ทั้งๆ ที่ควรจะรีบปล่อยน้ำออกจากเขื่อนให้มากที่สุดเท่าที่ระบบจะยอมรับได้ และรีบหาทางแก้ไขรอยรั่วซึมต่างๆ ก่อนที่ฝนจะตกลงมา

    แต่ ดร.เลแองต๋วน ( Lê Anh Tuấn) แห่งสถาบันวิจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมทิอากาศโลก นครเกิ่นเทอ (Cần Thơ) ในเขตที่ราบปากแม่น้ำโขง และเป็นกรรมการที่ปรึกษาของกลุ่มเครือข่ายแม่น้ำเวียดนามกล่าวว่าสถานการณ์ของเขื่อนซงแจง 2 เป็นอันตรายมาก

    เขื่อนแห่งนี้เหมือนกับคนติดเชื้อและจะไม่หยุดอยู่แค่นั้น รอยร้าวพร้อมจะขยายใหญ่โตและทำให้เขื่อนแตกได้ทุกเมื่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเกิดแรงสั่นสะเทือนครั้งใหญ่จากแผ่นดินไหว

    "จนถึงวันนี้ ก็ยังไม่มีการสำรวจรอยปริร้าวกับรอยรั่วต่างๆ ซึ่งควรจะต้องรีบกระทำ ต้องมีการระดมเครื่องไม้เครื่องมือที่ทันสมัยที่สุดเท่าที่มีอยู่ในโลก เพราะขณะนี้เขื่อนเป็นอันตรายมาก" ดร.ต๋วนกล่าว พร้อมสนับสนุนความคิดของนักวิชาการคนอื่นๆ ที่เสนนอให้ปิดเขื่อนลงชั่วคราว
    .

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=591><TBODY><TR><TD vAlign=top width=591 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    คนงานการไฟฟ้าเวียดนามพยายามต่อท่อแป๊บเพื่อช่วยให้น้ำไหลออกจากรอยร้าวอย่างเป็นระเบียบในวันที่ 21 มี.ค.ที่ผ่านมา เพื่อลดการกัดเซาะด้านหลังเขื่อนในเบื้องล่าง แต่ก็ยังไม่ได้แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ นักวิชาการกล่าวว่าคณะกรรมการที่รับผิดชอบแก้ไขปัญหาแบบ "ขัดต่อลักษณะวิชาชีพ" และ ไม่รีบตรวจหาสาเหตุ และเสนอให้รัฐบาลสั่งปิดเขื่อนแห่งนี้ลงชั่วคราว . -- ภาพ: Tuoi Tre. </B></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=590><TBODY><TR><TD vAlign=top width=590 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=563><TBODY><TR><TD vAlign=top width=563 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    หลุมใหญ่กับรอยร้าวที่เกิดขึ้นใกล้บริเวณสันเขื่อนใน 2 ภาพข้างบนนี้ ปรากฏให้เห็นหลังเกิดแผ่นดินไหว 3.6 มาตราริคเตอร์ในปลายเดือน พ.ย.ปีที่แล้ว ซึ่งเกิดอ๊าฟเตอร์ช็อกติดตามมาเป็นระลอกๆ แต่คณะกรรมการบริหารเขื่อนซงแจง 2 อธิบายว่าหลุมกับiอยร้าวที่เห็นไม่ได้เกี่ยวกับแผ่นดินไหว หากเกิดจากการก่อสร้างคันดินซึ่งเป็นเรื่องปรกติธรรมดา. --ภาพ: เหงื่อยเดือติน (Người Đưa Tin). </B></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=593><TBODY><TR><TD vAlign=top width=593 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    คณะกรรมการบริหารโครงการออกตรวจสภาพหลังเขื่อนที่มีน้ำไหลออกจากรอยร้าวให้เห็นตลอดเวลาเมื่อต้นสัปดาห์นี้ ก่อนจะแถลงว่าเป็นปรกติธรรมดาและสามารถควบคุมได้ นักวิชาการหลายคนกล่าวว่าคณะกรรมการฯ ปฏิบัติแบบ "ขัดต่อลักษณะวิชาชีพ" ไม่เร่งแก้ไขที่ต้นเหตุ และเชื่อว่าเขื่อนจะยิ่งร้าวหนัก และอาจพังทะลายลงได้ทุกเมื่อ. --ภาพ: เหงื่อยเดือติน (Người Đưa Tin). </B></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> .
    สิ่งหนึ่งที่เป็นปัญหาก็คือ คณะกรรมการบริหารเขื่อนเอง ที่ยังป่าวประกาศว่าโครงสร้างเขื่อนออกแบบมาให้รับแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวขนาด 7 มาตราริคเตอร์ แต่ขณะนี้สถานการณ์ได้เปลี่ยนไปแล้ว รอยร้าวจะทำให้เขื่อนพังลงได้ทุกเมื่อหากเกิดแผ่นดินไหว แม้ขนาดย่อมๆ ขึ้นมาในบริเวณนี้อีก ดร.ต๋วนกล่าว

    ตามรายงานของสื่อเวียดนาม ในปี 2554 ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาดย่อมขึ้นในบริเวณแม่น้ำซงแจงถึง 4 ครั้ง และ 3 ครั้งหลังเกิดในตอนปลายปี รวมทั้งขนาด 3.6 มาตราริคเตอร์ในเดือน พ.ย.ด้วย ครั้งสุดท้ายนี้ได้ทำให้เกิดหลุมลึกขึ้นบริเวณใกล้สันเขื่อน ในขณะที่คณะกรรมการบริหารเขื่อนอธิบายว่า เป็นหลุมที่เกิดจากการก่อสร้าง ไม่ได้เกี่ยวกับเหตุแผ่นดินไหว

    แผ่นดินไหวเมื่อปีที่แล้วยังทำให้เกิดแผ่นดินยุบขึ้นหลายแห่งตามแนวแม่น้ำ และ ถนนหลายสายในเขต อ.บั๊กจ่ามี (Bac Tra My) จ.กว๋างนาม (Quang Nam) ซึ่งเป็นที่ตั้งของเขื่อนแห่งนี้ เกิดเป็นรอยร้าว

    นักวิชาการได้เคยออกเตือนมาหลายครั้งว่า เขื่อนหลายแห่งใน จ.กว๋างนาม อยู่ในแนวเลื่อนของเปลือกโลก และอาจจะได้รับอันตรายจากแผ่นดินไหว แต่เวียดนามซึ่งขาดแคลนไฟฟ้าอย่างหนักยังคงแสวงหาที่ตั้งเขื่อนในบริเวณนั้น

    การไฟฟ้าเวียดนามกล่าวว่า เขื่อนทุกแห่งถูกออกแบบให้ทนทานต่อแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ได้ จึงจะไม่เป็นปัญหาใดๆ

    แม่น้ำซงแจงเป็นลำน้ำสายยาวที่เกิดขากเขตที่ราบสูงภาคกลางในแถบ จ.ดั๊กลัก (Dak Lak) ไหลขึ้นเหนือผ่านหลายอำเภอของ จ.กว๋างนาม ไปออกทะเลจีนใต้ที่นครด่าหนัง หากเขื่อนพังน้ำปริมาณมหาศาลจะสร้างความเสียหายให้แก่ราษฎรนับหมื่นครัวเรือนที่อาศัยไปจนถึงปากแม่น้ำ เทือกสวนไร่นาอีกนับล้านไร่.

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>



    <TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ภาพชวนสยอง.. เขื่อนรั่วในเวียดนาม รอดไม่รอด?</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD height=40><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4><TBODY><TR><TD class=body vAlign=center align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=center align=left>22 มีนาคม 2555 11:55 น.</TD><TD vAlign=center align=left><TD></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><IFRAME style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; WIDTH: 450px; HEIGHT: 35px; OVERFLOW: hidden; BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none" src="http://www.facebook.com/plugins/like.php?href=http://www.manager.co.th/asp-bin/mgrshort.aspx?NewsID=9550000036590&layout=standard&show_faces=false&width=450&action=like&colorscheme=light&height=35" frameBorder=0 allowTransparency scrolling=no></IFRAME></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600><TBODY><TR><TD vAlign=top width=600 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    ความใหญ่โตมหึมาของเขื่อนอาจจะเทียบได้กับทางลูกรังสำหรับรถยนต์ ที่ตัดเข้าไปยังบริเวณทางน้ำไหลด้านหลังเขื่อน (มุมซ้าย) หลังปั่นไฟได้เพียงปีเศษ เขื่อนซงแจง 2 มูลค่า 250 ล้านดอลลาร์ เกิดมีรูรั่วนับ 10 แห่งกับรอยร้าวขนาดยาว 1 เมตรถึง 3 แห่ง การไฟฟ้าเวียดนามใช้วิธีฉีดสารเคมีเข้ารูรั่วกับรอยร้าวเพื่อพยายามอุดให้อยู่และส่งผู้เชี่ยวชาญไปดูปัญหาหลายครั้ง ก่อนออกแถลงว่า เป็นการรั่วซึมที่ยอมรับได้ ควบคุมได้ แต่ราษฎรในพื้นที่กล่าวว่าน้ำรั่วออกมากกว่าที่การไฟฟ้าออกแถลงมากมายนัก และหนักขึ้นเรื่อยๆ.--- ภาพ: VietnamExpress. </B>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ASTVผู้จัดการออนไลน์ -- เวลาผ่านไปเกือบสัปดาห์นับตั้งแต่ราษฎรในท้องถิ่นได้ร้องเรียนเกี่ยวกับรอยรั่วนับสิบแห่งที่เขื่อนซงแจง 2 (Sông Tranh 2) ในภาคกลางเวียดนาม และ น้ำยังคงไหลออกไม่หยุด แม้ว่าคนงานกับผู้เชี่ยวชาญของการไฟฟ้าเวียดนามจะพยายามอุดรอยรั่วแล้วก็ตาม ในขณะที่รัฐบาลกลางในกรุงฮานอยได้สั่งให้ทางการอำเภอและจังหวัดท้องถิ่น ตลอดจนรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าที่เป็นเจ้าของเร่งสรุป เพื่อหาทางดำเนินต่อไป

    ตามรายงานของสำนักข่าวเวียดนามเอ็กซ์เพรส ราษฎรหลายครอบครับในหมู่บ้านต่างๆ ที่อาศัยอยู่ใต้เขื่อนยังคงไม่กล้าหลับนอนในยามค่ำคืน หลายครอบครัวเริ่มอพยพข้าวของไปอาศัยกับญาติพี่น้องในตำบลอื่นๆ ซึ่งอยู่ในที่สูง คาดว่าจะพ้นจากน้ำท้วมถ้าหากเขื่อนเกิดพังลง

    ตามรายงานของหนังสือพิมพ์เดิ๊ตเหวียด (Báo Đất Việt) หนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาเวียดนาม รัฐบาลได้มีคำสั่งในวันที่ 21 มี.ค. ให้รัฐวิสาหกิจไฟฟ้ารีบสรุปสถานการณ์และการดำเนินการต่อไป โดยยึดถือความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สินของราษฎรในท้องถิ่นเป็นที่ตั้ง

    คณะกรรมการบริการโครงการเขื่อนแห่งนี้กล่าวว่า การรั่วซึมที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปรกติธรรมและอยู่ในขั้นที่สามารถยอมรับได้ ควบคุมได้ ท่ามกลางความสงสัยของสาธารณชนทั่วไป

    เมื่อต้นสัปดาห์คณะกรรมการบริหารโครงการได้เผยแพร่ภาพคนงานที่ปีนขึ้นไปอุดรอยรั่ว กับภาพผู้เชี่ยวชาญที่ลุยน้ำด้านหลังเขื่อนเข้าไปเพื่อดูจุดรั่วกับรอยร้าว ก่อนแถลงข่าว

    เวียดนามเอ็กซ์เพรสรายงานว่า ราษฎรที่ได้เข้าให้รายละเอียดต่อทางการอำเภอท้องถิ่นในวันเดียวกันได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่าน้ำยังคงไหลออกจากรอยร้าวและแรงขึ้นทุกขณะ มิใช่ระดับ 30 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ตามที่คณะกรรมการบริหารเขื่อนแห่งนี้เผยแพร่ข่าวออกไปแต่อย่างไร

    เขื่อนซงแจง 2 เป็นแห่งที่ 2 จากทั้งหมด 3 แห่งที่สร้างขึ้นกั้นลำน้ำแจง ในเขต อ.บั๊กจ่ามี (Bắc Trà My) จ.กว๋างนาม (Quảng Nam) ติดตั้งเครื่องปั่นไฟ 2 หน่วย รวม 190 เมกะวัตต์ มูลค่าก่อสร้าง 250 ล้านดอลลาร์ และเพิ่งจะเริ่มผลิตไฟฟ้าในปลายปี 2553

    ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวเตือนมาก่อนหน้านี้ว่า เขื่อนทั้ง 3 แห่งอยู่ในเขตรอยร้าวของเปลือกโลก และอาจจะได้รับผลกระทบเมื่อเกิดแผ่นดินไหว

    หลายฝ่ายตั้งข้อสังเกตว่ารอยร้าวอาจจะเกิดจากผลกระทบที่เกิดแผ่นดินไหวขนาดย่อมในอาณาบริเวณใกล้เคียงถึง 4 ครั้งเมื่อปีที่แล้ว แต่ยังไม่มีข้อสรุปอย่างเป็นทางการใดๆ ในขณะนี้ ขณะที่หลายฝ่ายพุ่งเป้าไปที่การทุจริตคอร์รัปชั่นในการก่อสร้าง.

    <CENTER>ตัวใครตัวมัน </CENTER><CENTER>by VietnamExpress </CENTER><CENTER></CENTER>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=490><TBODY><TR><TD vAlign=top width=490 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350><TBODY><TR><TD vAlign=top width=350 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350><TBODY><TR><TD vAlign=top width=350 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=350><TBODY><TR><TD vAlign=top width=350 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=499><TBODY><TR><TD vAlign=top width=499 align=middle>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>
    ภาพ: เหงื่อยเดือติน (Người Đưa Tin). </B>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=490><TBODY><TR><TD vAlign=top width=490 align=middle>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=5 vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    </TD></TR><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=490><TBODY><TR><TD vAlign=top width=490 align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มีนาคม 2012
  2. nickybamby

    nickybamby เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    216
    ค่าพลัง:
    +174
    เขื่อนนี้อยู่ตรงไหนครับ ท่านใดทราบขอพิกัดหน่อยสิครับ :cool:
     
  3. โลกป่วย

    โลกป่วย สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +10
    อั้ยยะ!!!!! น่ากลัวมากกกกก
     
  4. ANAN JANG

    ANAN JANG เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    544
    ค่าพลัง:
    +175
    หวาดเสียว จริงๆ++
     
  5. สิบหก

    สิบหก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    680
    ค่าพลัง:
    +603
    สปริงเวย์ ....... แบบใหม่หรือป่าว ...............:boo:
     
  6. โอกระบี่

    โอกระบี่ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    1,477
    ค่าพลัง:
    +1,651
    ใช้ปั่นไฟแค่สองปีเศษก็รั่ว แสดงว่ากินกันจนเละโครงการนี้ บ้านเราเมืองไทยเราขออย่าให้เป็นอย่างนี้เลย
     
  7. fang_aee

    fang_aee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มีนาคม 2005
    โพสต์:
    70
    ค่าพลัง:
    +123
    ตอนแรก ดูจากสภาพเขื่อน นึกว่าสร้างได้ เป็นสิบๆ ปีแล้ว
    แค่ปีสองปี ก็ขนาดนี้ คงกินกันพุงกางนะครับ
     
  8. nickybamby

    nickybamby เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    216
    ค่าพลัง:
    +174
    หาไม่เจอ เขื่อนนี้อยู่ตรงไหนของ อ.บั๊กจ่ามี (Bắc Trà My) จ.กว๋างนาม (Quảng Nam)

    แต่ถ้าเป็นที่ๆเห็น(แต่ไม่รู้ว่าใช่หรือเปล่า)ล่ะ สยองแน่ ข้างล่างเมืองใหญ่ซะด้วย :boo:
     
  9. Aloe SeRene

    Aloe SeRene Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    39
    ค่าพลัง:
    +62
    รั่ว เป็นน้ำตกเลย เหอๆๆ
     
  10. warrrior

    warrrior Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    170
    ค่าพลัง:
    +64
    พวกทีจะไปลงทุนเวียดนามก้อดูๆๆไว้ละกันครับ :boo: เจอแบบนี้คงแย่กว่าเมใืองไทยเยอะ
     
  11. baitouy

    baitouy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    94
    ค่าพลัง:
    +179
    ดูแล้วน่าจะเป็นเขื่อนคอมแพคคอนกรีตเหมือนเขื่อนขุนด่านที่นครนายกเลยแต่ของเราสูงกว่าและไม่รั่ว รอยแตกที่เกิดเป็นเส้นตรงกันทุกชั้นไม่น่าจะเกิดจากรอยต่อของคอนกรีตอย่างงี้พังแน่
     
  12. sarloasarlea

    sarloasarlea สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    55
    ค่าพลัง:
    +16
    ให้ไม่เกินสองปีได้ฟังข่าวน่าสลด ชัว
     
  13. PumpDemon

    PumpDemon Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มีนาคม 2012
    โพสต์:
    75
    ค่าพลัง:
    +30
    มองประเทศเขา แล้ว ย้อนมองสะท้อนดูประเทศของเรา
    คิดแล้วกลุ้ม ต้องปล่อยวางซะบ้างนะเรา
     
  14. สังขารไม่เที่ยง

    สังขารไม่เที่ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    5,943
    ค่าพลัง:
    +24,697
    นักวิชาการจี้เวียดนามปิดเขื่อนร้าว ดินไหวอีกครั้งพังครืนแน่
     
  15. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,293
    ค่าพลัง:
    +12,622
    ถ้าเป็นนักวิชาการไทยก็จะแนะให้จัดงานฉลองสงกรานต์บนสันเขื่อนเพื่อสยบข่าว.....ฮา
     
  16. nickybamby

    nickybamby เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    216
    ค่าพลัง:
    +174
    :cool::cool::cool::cool::cool::cool::cool:
     

แชร์หน้านี้

Loading...