ปัญหาโลกร้อน Global warming

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 30 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    น้ำแข็งทะเล​
    [FONT=FreesiaUPC,FreesiaUPC]"[/FONT]อาร์กติก[FONT=FreesiaUPC,FreesiaUPC]"[/FONT]หดลดวูบ[FONT=FreesiaUPC,FreesiaUPC]!

    [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]บีบีซีรายงานว่า ศูนย์เก็บข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติ สหรัฐอเมริกา [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]([/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]NSIDC) [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]เปิดผลการศึกษาล่าสุดพร้อมแสดงภาพดาวเทียมที่ฟ้องว่า ปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก มีระดับต่ำที่สุดเมื่อวัน[/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ที่ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]16 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กันยายน [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2550 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]คิดเป็นพื้นที่ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]4.13 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ล้านตารางกิโลเมตร น้อยกว่าสถิติที่ต่ำสุดเมื่อปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2548 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ที่บันทึกไว้ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]5.32 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ล้านตารางกิโลเมตร สถานการณ์ดังกล่าวเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่บ่งบอกถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่ก่อขึ้นโดยฝีมือมนุษย์ [/FONT]
    [FONT=Cordia New,Cordia New]
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]นายมาร์ก เซอร์เรเซ นักวิทยาศาสตร์ประจำศูนย์ [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]NSIDC [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กล่าวว่า สถิติเดิมเมื่อปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2548 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]ทำให้ตกใจอยู่แล้ว มาเจอสถิติใหม่นี้ ยิ่งมึนเข้าไปอีก เราไม่เคยเห็นพื้นที่ทะเลน้ำแข็งหดเหลือน้อยได้ขนาดนี้ในช่วงฤดูร้อน ส่อเค้าว่าปริมาณน้ำแข็งในทะเลมีแนวโน้มจะลดน้อยลงไปถึงขั้นเหือดหาย ตอนนี้จะรอดูว่า สถานการณ์ในช่วงฤดูหนาวจะดีขึ้นได้หรือไม่ ทั้งนี้ เมื่อปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2549 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]มีคณะนักวิทยาศาสตร์ของสหรัฐพยากรณ์ ทะเลอาร์กติกจะไร้น้ำแข็งสิ้นเชิงในปี [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2583
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]
    -------------------------------------------- ​
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]
    ที่มา ​
    [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]http://matichon.co.th/khaosod/khaosod.php (25 [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]กันยายน [/FONT][FONT=Cordia New,Cordia New]2550)

    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]
    21 ​
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New].[/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]. 2548

    16
    [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New].[/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New][/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]. 2550
    [/FONT]
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    คาดชายฝั่งสหรัฐจมทะเลใน ​
    [FONT=Cordia New,Cordia New]100 [/FONT]ปี

    [FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]สำนักข่าวต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]23[/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC][/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC].[/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC][/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]. [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]อ้างความเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านสภาพอากาศหลายคนที่คาดการณ์ว่าภาวะโลกร้อนจะทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นจนท่วมหลายพื้นที่ที่เป็นจุดก่อกำเนิดประเทศอเมริกาขึ้นในชั่วระยะเวลาประมาณ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]100 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ปี อาทิ เมืองเจมส์ทาวน์ในรัฐเวอร์จิเนียซึ่งเป็นเมืองแรกที่ชาวอเมริกาเข้ามาตั้งรกราก หรือที่ฐานปล่อยจรวดในรัฐฟลอริดาซึ่งเป็นจุดส่งชาวอเมริกันคนแรกขึ้นสู่อวกาศ ตลอดจนย่านวอลล์สตรีทเดิม และหอคอยเก่าในย่านซิลิคอน วัลเลย์
    [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]บรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของโลกคาดว่า ภาวะโลกร้อนที่ทำให้ธารน้ำแข็งแถบขั้วโลกละลาย ชั้นน้ำแข็งหายไป และน้ำอุ่นขึ้นนั้นจะทำให้มหาสมุทรต่างๆ มีระดับน้ำสูงขึ้นราว [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]1 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]เมตร หรือประมาณ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]39 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]นิ้ว และเรื่องเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ว่าในอนาคตจะมีการออกมาตรการใดๆ มาเพื่อควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกก็ตาม และการที่น้ำท่วมใหญ่จะทำให้ประเทศต้องเปลี่ยนโฉมหน้าใหม่
    การคาดการณ์ครั้งนี้เป็นผลมาจากการจัดทำแผนที่แถบชายฝั่งทะเลของนักวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยอริโซนาที่จัดทำขึ้นโดยอาศัยข้อมูลจากกรมธรณีวิทยาสหรัฐ โดยนายเบนจามิน แซนเทอร์ นักฟิสิกส์ชั้นบรรยากาศประจำห้องทดลองแห่งชาติลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์ในแคลิฟอร์เนีย กล่าวว่า ระดับน้ำทะเลขึ้นสูงเป็นสิ่งที่ตัวเองเป็นห่วงมากที่สุดในฐานะนักวิทยาศาสตร์
    ขณะที่นายโดนัลด์ โบสช์ นักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแมริแลนด์ เสริมว่า สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่ใช่แค่เรื่องน้ำทะเลขึ้นสูงเท่านั้น แต่ยังมีอันตรายที่หนักหนาสาหัสกว่านั้นจากการที่พายุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเฮอริเคน พายุในฤดูหนาว หรือพายุแถบชายฝั่งที่มีความรุนแรงมากขึ้น และเกิดขึ้นบ่อยครั้งขึ้น เพราะการที่น้ำทะเลสูงขึ้นหมายความว่ามีน้ำท่วมมากขึ้น และบ่อยขึ้นอันเป็นผลเกี่ยวเนื่องจากเหตุการณ์ร้ายแรงพวกนี้
    ทางด้านผู้อำนวยการสถาบันศึกษาดาวเคราะห์โลกประจำมหาวิทยาลัยอริโซนา กล่าวว่า น้ำทะเลที่ขึ้นสูงใน
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]48 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]รัฐ ไม่รวมฮาวาย และอลาสกาจะทำให้ให้พื้นที่ราว [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]65,000 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ตารางกิโลเมตรตกอยู่ใต้น้ำ ซึ่งมีขนาดเท่ากับรัฐเวอร์จิเนียตะวันตก แต่ถ้ารวมอีก [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]2 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]รัฐที่เหลือเข้าไปด้วยพื้นที่ที่จมน้ำก็จะยิ่งแผ่กว้างออกไปมากกว่านี้
    อย่างไรก็ตาม บรรดานักวิทยาศาสตร์ยังมีความเห็นไม่ตรงกันเรื่องเวลาที่จะเกิดน้ำท่วมใหญ่ โดยบางส่วนมองว่าอาจจะเกิดเร็วขึ้น คือ ภายใน
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]50 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ปี ขณะที่บางส่วนมองว่าอาจจะนานกว่านั้น คือ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]150 [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ปี
    [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]
    ----------------------------- ​
    [/FONT][FONT=CordiaUPC,CordiaUPC]ที่มา [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]http://www.komchadluek.net/ [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]23 [/FONT][FONT=Angsana New,Angsana New]กันยายน [/FONT][FONT=Times New Roman,Times New Roman]2550
    [/FONT]
     
  3. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    เตือนกิน “ปลา-หอย” เสี่ยงรับพิษสาหร่าย

    [29 ก.ย. 50 - 03:46]


    จากการประชุมวิชาการเรื่อง “วิกฤติโลกร้อน : ความไม่พร้อมของประเทศไทย” จัดโดยสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สป.) ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า จากภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงอย่างสุดขั้ว อาทิ ฝนตกหนัก น้ำท่วมขังนาน อุณหภูมิเย็นจัดหรือร้อนจัด ล้วนส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของประเทศไทย โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของสาหร่ายทะเลที่มีจำนวนมากและมีความเป็นพิษสูง เนื่องจากพบว่ามีพิษที่ส่งผลต่อระบบประสาท ทำให้เส้นประสาทอักเสบ เกิดอัมพฤกษ์อัมพาต และยังก่อให้เกิดโรคอหิวาต์ การเปลี่ยนแปลงของสาหร่ายทะเลเชื่อว่ามีความสัมพันธ์กับการลดลงของปะการัง ที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน และเมื่อสาหร่ายกินซากปะการังดังกล่าวเข้าไป จึงกลายเป็นแหล่งสะสมพิษตัวสำคัญ ดังนั้น สิ่งที่ต้องระวังเป็นพิเศษ คือ เมื่อปลาทะเล หรือหอยมากินสาหร่ายดังกล่าวเข้าไปจะได้รับพิษด้วย และเมื่อคนรับประทานเนื้อสัตว์ทะเลดังกล่าวก็จะได้รับพิษจากสาหร่าย ส่งผลให้เกิดท้องร่วง หายใจติดขัด ตัวแข็งทื่อ เคลื่อนไหวไม่สะดวก
    “ที่น่าตกใจคือ มีความสับสนในพิษของเนื้อปลาปักเป้ากับปลาทะเลหรือหอย เนื่องจากอาการใกล้เคียงกัน แต่เมื่อ 2 เดือนที่ผ่านมามีนักศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5 รายได้กินปลากะพงผัดคื่นฉ่าย ส่งผลให้เกิดท้องร่วงรุนแรง ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ในระยะเวลาหนึ่ง จากการวิเคราะห์พบว่า ไม่ใช่พิษจากปลาปักเป้า แต่เป็นพิษชนิดใดยังไม่มีข้อมูลแน่ชัด เพราะประเทศไทยไม่มีวิธีตรวจสอบพิษอื่นๆ นอกจากปลาปักเป้า ซึ่งเป็นจุดอ่อนอย่างมาก เบื้องต้นนักศึกษาทั้ง 5 รายปลอดภัยแล้ว” ศ.นพ.ธีระวัฒน์ กล่าวและว่า นอกจากนี้ จากสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงยังส่งผลต่อวงจรชีวิตของเชื้อโรคทำให้มีความเก่งกาจและมีชีวิตอยู่ได้ยาวนานขึ้น โดยเชื้อโรคเหล่านี้จะอาศัยอยู่ในสัตว์รังโรค อาทิ หมู ไก่ ฯลฯ โดยไม่แสดงอาการ แต่โรคจะระบาดก็ต่อเมื่อมีสัตว์ จำพวก ยุง ริ้น ไรหรือแมลงต่างๆเป็นตัวพาหะนำโรคไปแพร่กระจายสู่คน ที่สำคัญเชื้อโรคพวกนี้เพิ่มจำนวนมากขึ้น โดยเมื่อ 3-4 ปีที่ผ่านมา พบเชื้อโรคชนิดต่างๆประมาณ 1,400 กว่าชนิด แต่ปัจจุบันเพิ่มขึ้นอีก 20 ชนิด โดยเชื้อโรคเหล่านี้ร้อยละ 75 ล้วนมาจากสัตว์เป็นพาหะทั้งสิ้น.

    http://www.thairath.co.th/news.php?section=education&content=62751
     
  4. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    USยันต้องการแก้ไข'โลกร้อน'อย่างจริงจัง <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">29 กันยายน 2550 07:42 น.</td> </tr> </tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td align="center" valign="middle">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> <table align="right" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr> <td width="5">[​IMG]</td> <td align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="300"> <tbody><tr> <td align="center" valign="top" width="300"> [​IMG] </td> </tr> <tr><td class="Image" align="left" valign="baseline">คอนโดลิซซา ไรซ์</td></tr> </tbody></table></td> </tr> <tr> <td align="center" height="5" valign="top">[​IMG]</td> </tr> </tbody></table> เอเอฟพี - คอนโดลีซซา ไรซ์ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ จัดประชุมเรื่องโลกร้อนครั้งใหญ่เมื่อวันพฤหัสบดี(27) ขอความร่วมมือจากนานาชาติเพื่อต่อสู้กับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยอยู่ภายใต้กรอบขององค์การสหประชาชาติ(ยูเอ็น)

    ไรซ์กล่าวสุนทรพจน์ต่อตัวแทนประเทศผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายใหญ่ของโลก ซึ่งนับเป็นคำแถลงเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ใช้ถ้อยคำหนักแน่นที่สุดที่รัฐบาลของประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช เคยแถลงมา

    แต่คำแถลงดังกล่าวก็ยังไม่สามารถกำจัดข้อเคลือบแคลงสงสัยของบรรดาผู้ปกป้องพิธีสารเกียวโตได้

    "เราอยากอยู่ในโลกแบบไหน แล้วเราอยากส่งทอดโลกแบบไหนให้ลูกหลาน?" ไรซ์กล่าวเปิดประชุม ซึ่งจะใช้เวลา 2 วัน

    "สหรัฐฯจริงจังกับเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมาก เพราะเราเป็นทั้งประเทศเศรษฐกิจยักษ์ใหญ่ และเป็นผู้ปล่อยก๊าซรายใหญ่ด้วย"

    "ถ้าเรายังเดินต่อไปในเส้นทางปัจจุบัน เราจะต้องเจอกับทางเลือกที่ไม่พึงปรารถนาทางใดทางหนึ่ง ซึ่งก็คือ เราจะต้องสละการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทั่วโลกเพื่อรักษาอาการโลกของเรา หรือเราจะยอมทิ้งความแข็งแรงของโลกแล้วสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจด้วยพลังงานฟอสซิลกันต่อไป" ไรซ์กล่าว

    "เราต้องแก้ปัญหาอย่างกล้าหาญเรื่องพลังงานฟอสซิล การปล่อยก๊าซคาร์บอน และกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ระบบในปัจจุบันนั้นไม่ยั่งยืนอีกต่อไปแล้ว และเราต้องเปลี่ยนระบบให้ดีกว่าเดิมทั้งหมดโดยการปฏิวัติเทคโนโลยีด้านพลังงาน"

    ไรซ์เปรียบเทียบการว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนั้นคล้ายคลึงกับปัญหาการแพร่กระจายอาวุธนิวเคลียร์ โรคภัยแพร่ระบาด และการก่อการร้าย เพราะมันเป็นปัญหาของโลกที่ชาติเพียงชาติเดียวไม่สามารถแก้ไขได้เพียงลำพัง ไม่ว่าจะแข็งแกร่งเพียงใดก็ตาม

    "เราต่างต้องการหุ้นส่วน เราต่างต้องทำงานร่วมกัน" ไรซ์กล่าว

    อย่างไรก็ตาม หลายฝ่ายตั้งข้อสงสัยในการประชุมครั้งนี้ โดยเฉพาะยุโรป เพราะกลัวว่า บุชต้องการผลักดันให้มีข้อตกลงหลวมๆแบบสมัครใจ แทนการปฏิบัติตามพิธีสารเกียวโต ซึ่งจะหมดอายุลงในปี 2012

    ไรซ์พยายามเคลียร์ข้อสงสัยเหล่านี้ โดยเน้นย้ำว่า การประชุมที่วอชิงตันในครั้งนี้มีขึ้นเพื่อปูทางไปสู่การเจรจาหลังปี 2012 "และช่วยให้ชาติต่างๆทำตามความรับผิดชอบของตน" ภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC)

    ถึงแม้ไรซ์จะพูดเช่นนั้น แต่การที่บุชไม่ยอมกำหนดกฎหมายตัดลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และต้องการตั้งเป้าหมายแบบสมัครใจ ก็เป็นเรื่องที่ถูกวิจารณ์อย่างหนัก

    รัฐมนตรีสิ่งแวดล้อมแอฟริกาใต้ มาร์ทินุส แวนชาลควิก กล่าวกับเอเอฟพีว่า เขามองว่าสหรัฐฯมี "คำแถลงเชิงบวก แต่ดูระดับเนื้อหาแล้ว มันไม่มีอะไรใหม่เลย"

    "สิ่งสำคัญของมันก็คือ ประเทศอื่นๆในโลกเกือบจะเป็นหนึ่งเดียวในการตั้งเป้าหมายตัดลดการปล่อยก๊าซ แต่สหรัฐฯยังคงต้องการใช้วิธีตั้งเป้าหมายโดยสมัครใจและกำหนดแยกประเทศต่อไป มันจะยังไม่มีความคืบหน้าจนกว่าเราจะแก้ปัญหานั้นได้" แวนชาลควิกกล่าว
     
  5. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เปลี่ยนถุงพลาสติกมาใช้
     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="45" width="522"><tbody><tr><td height="24" valign="bottom" width="500"> นักวิชาการหวั่นโลกร้อนทำเต่าทะเลกลายเป็นตัวเมีย
    <!-- End Show Head -->
    </td> </tr> <tr> <td>[​IMG]</td> <td>[​IMG]</td> </tr> <tr> <td width="10"> โดยทีมข่าว INN News <!-- Show Date --> 02 ตุลาคม 2550 18:47:12 น.

    นักวิชาการกลุ่มสัตว์ทะเลหายาก หวั่นอุณหภูมิสูงขึ้นแค่ 0.5 องศาเซลเซียส กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงเพศของเต่าทะเลกลายเป็นตัวเมีย 100 เปอร์เซนต์

    นายก้องเกียรติ กิตติวัฒนาวงศ์ นักวิชาการกลุ่มสัตว์ทะเลหายาก จากสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและป่าชายเลน จังหวัดภูเก็ต กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) กล่าวว่า มีงานวิจัยจากต่างประเทศยืนยันว่าอุณหภูมิที่สูงขึ้น มีผกระทบโดยตรงต่อกำหนดเพศของเต่าทะเล ภาวะปกติ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการฟักของไข่เต่าจะอยู่ที่ 29.5 องศาเซลเซียส จะทำให้ได้ลูกเต่าเพศผู้และเพศเมียในอัตราส่วนเท่ากันคือ 50 : 50 แต่หากอุณหภูมิสูงขึ้น เพียง 0.5 องศาฯ จะส่งผลให้ไข่ เต่าที่ฟักออกมาเป็นเพศเมีย 100 เปอร์เซนต์ ถ้ามีแนวโน้มเป็นลักษณะนี้มากขึ้นจะทำให้เต่าทะเลเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ได้ เพราะในธรรมชาติ เต่าตัวผู้มีน้อยอยู่แล้ว

    นายก้องเกียรติ กล่าวด้วยว่า ทช.กำลังทำการติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิ ตามชายหาดสำคัญที่เป็นแหล่งวางไข่ของเต่าทะเลรวมทั้งหมด 5 จุด คือ ที่หมู่เกาะสุรินทร์ หมู่เกาะสิมิลัน หาดท้ายเหมือง หาดพระทอง จังหวัดพังงา และที่เกาะคราม จังหวัดชลบุรี เพื่อติดตามว่าอุณหภูมิที่สูงขึ้นจะกระทบกับการวางไข่ของเต่าทะเลหรือไม่ รวมทั้งจะได้วางแผนพยากรณ์ไข่เต่าในปีถัดไปด้วย อย่างไรก็ตาม นักวิชาการกำลังหาแนวทางอนุรักษ์เต่า เช่น นำไข่เต่าที่ขึ้นมาวางไข่บนหาดนำกลับมาฟัก ก่อนคืนกลับสู่ธรรมชาติ และอีกวิธีปล่อยให้เกิดเองตามธรรมชาติ แต่จะมีโอกาสรอดน้อย เพราะศัตรูมากเนื่องจากหลังเต่าฟักขึ้นมาเป็นตัว ต้องเดินลงทะเลไป แต่ระหว่างนั้นอาจถูกปู ถูกนกกัดกินได้ สำหรับการนำมาอนุบาลก่อนปล่อยไปอาจเสี่ยงต่อการเสียสัญชาตญาณการหากิน หรือติดโรคได้

    ด้านนายสัตวแพทย์สนธยา มานะวัฒนา แพทย์ประจำกลุ่มสัตว์ทะเลหายาก จากสถาบันวิจัยฯ เปิดเผยว่า ปัญหาแนวโน้มการสูญพันธุ์ของเต่าทะเลหายากทั้ง 5 ชนิด ทำให้นักวิชาการกำลังพยายามหาวิธีการผสมเทียมเต่าเพื่ออนุรักษ์พันธุ์เต่าทะเล ล่าสุด สถาบันวิจัยฯ จัดทำโครงการรีดเก็บน้ำเชื้อด้วยการกระตุ้นไฟฟ้า และตรวจคุณภาพน้ำเชื้อในเต่าทะเล ร ะหว่างคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทดลองรีดเก็บน้ำเชื้อเต่าด้วยการใช้ไฟฟ้าเป็นตัวกระตุ้น เบื้องต้นพบว่าประสบความสำเร็จ สามารถได้น้ำเชื้อเต่าหญ้า จำนวน 6 ตัวที่ศูนย์เพาะเลี้ยงของสถาบันวิจัยฯ เลี้ยงเอาไว้เป็นพ่อพันธุ์

    นายสัตวแพทย์สนธยา กล่าวด้วยว่า วิธีการคือใช้การกระตุ้นไฟฟ้าขนาด 2-4 โวลต์ เป็นวิธีเดียวกับการรีดน้ำเชื้อสัตว์ป่าหายาก เช่น แพนด้า นกกะเรียน เป็นต้น กรณีเต่า ถือเป็นครั้งแรกในภูมิภาคเอเชีย และพบว่าน้ำเชื้อที่รีดได้มีคุณภาพดี อัตราตัวเชื้อเยอะ ที่สำคัญเต่าพ่อพันธุ์ทั้งหมดปลอดภัยด้วย อย่างไรก็ตาม ขั้นตอนต่อไปจะนำเชื้อไปแช่แข็งเอาไว้ รอการผสมเทียม พร้อมกันนี้ มีโครงการคู่ขนานด้วยการศึกษาช่วงการตกไข่ในเต่าตัวเมีย เตรียมการผสมเทียมเต่าทะเลหายากในอนาคต คาดว่าอาจต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งจนกว่าจะมีความพร้อมมากกว่านี้

    </td> </tr></tbody></table>
     
  7. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    ตัวการโลกร้อน

    <TABLE style="WIDTH: 480px"><TBODY><TR><TD vAlign=top></TD><TD vAlign=top>ภาวะโลกร้อนกลายเป็นประเด็นสำคัญที่หลายประเทศในโลกกำลังประชุมเพื่อหาทางแก้ไข รวมไปถึงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ขณะที่จีนกำลังดิ้นรนสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่ เพื่อควบคุมมลพิษและบรรเทาความกระหายพลังงาน แต่บรรดานักวิทยาศาสตร์เตือนว่า อ่างเก็บน้ำนี้แหละ ที่ยังสร้างความเลวร้ายให้กับภาวะโลกร้อน ด้วยการปล่อยก๊าซเรือน กระจก

    หลายคนอาจสงสัยว่า อ่างเก็บน้ำหรือเขื่อนกักน้ำ เป็นหนึ่งในตัวการทำให้โลกร้อนได้อย่างไร ก็เพราะมาจากก๊าซมีเทน ซึ่งดักและเก็บความร้อนได้ดีกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ อันเกิดจากซากพืชซากสัตว์เน่าเปื่อยใต้น้ำ และเมื่อมีการเปิดกังหันน้ำ จะทำให้เกิดการปลดปล่อยก๊าซสู่ชั้นบรรยากาศ

    จากรายงานทางวิจัยเมื่อไม่นานนี้ระบุว่า เขื่อนต่างๆ สามารถปล่อยก๊าซมีเทนได้ประมาณร้อยละ 8 นอกจากนี้ก๊าซดังกล่าวที่ติดไฟง่าย ยังสามารถดักและเก็บความร้อนได้ดี จึงถูกนำมาใช้ในการสร้างพลังงานสำหรับเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำ ทำให้ จีน มหาอำนาจแห่งเอเชีย ดำเนินการ สร้างเขื่อนพลังน้ำขนาดใหญ่ เพื่อพลังงาน ที่สะอาดและราคาถูก ทดแทนการใช้ถ่านหิน ซึ่งเป็นพลังงานที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน

    ปัจจุบัน จีนไล่กวดทันสหรัฐ ในฐานะชาติที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อันดับ 1 ของโลกแล้ว ไม่เพียงแค่นั้น จีนยังเป็นชาติผู้นำในการปล่อยฝนกรด อันมีสาเหตุจากซัลเฟอร์ไดออกไซด์ อย่างไรก็ตาม แม้เขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำของจีน เป็นหัวใจของโครงการสร้างพลังงานทดแทน แต่การปล่อยก๊าซมีเทนอาจต้องชดเชยกับประโยชน์มหาศาล

    อีวาน ลิมา ผู้เชี่ยวชาญแห่งสถาบันวิจัยอวกาศแห่งชาติบราซิลบอกว่า ผลการศึกษาระบุเขื่อนต่าง ๆ ทั่วโลก สามารถปล่อยก๊าซมีเทนประมาณ 1 ใน 5 จากแหล่งอื่นทั้งหมดของโลก แต่อ่างเก็บน้ำที่ตื้นเขินในเขตโซนร้อน กลายเป็นปัญหาใหญ่ เพราะสร้างก๊าซมีเทนต่อหน่วยได้มากกว่าการเผาเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่เขื่อนหลายแห่งในจีน ส่วนใหญ่มีระดับความลึกและอยู่ในเขตที่สภาพอากาศเย็นสบาย ด้วยสองประการนี้ เป็นปัจจัยที่ทำให้การปล่อยก๊าซมีเทนอยู่ในระดับที่เบาบาง

    แพทริก แมคคูลลี ผู้อำนวยการบริหารของอินเตอร์เนชันแนล ริเวอร์ส เนตเวิร์ค (ไออาร์เอ็น) กล่าวว่า เขื่อนขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ประมาณครึ่งหนึ่งอยู่ใน จีน ดังนั้นจึงมีโอกาสที่อ่างเก็บน้ำขนาด ยักษ์เหล่านี้ จะเป็นตัวการปล่อยก๊าซในปริมาณสูง

    แมคคูลลีบอกอีกว่า หากคุณมีอ่างเก็บน้ำที่เป็นมลพิษจำนวนมาก โดยเฉพาะมีสิ่งโสโครกมากมายไหลเข้าสู่อ่างเก็บน้ำ คุณก็จะพบสถานการณ์ที่สร้างก๊าซมีเทนได้เป็นจำนวนมาก และขณะนี้เป็นที่ประจักษ์อย่างชัดเจนแล้วว่า จีนกำลังมีปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพน้ำที่เลวร้ายอย่างยิ่ง

    ขณะที่ผู้เชี่ยวชาญในจีน ก็ออกคำเตือนว่า โครงการเขื่อนทรี จอร์จ ซึ่ง เป็นเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำที่ใหญ่ที่สุดในโลกของจีนอาจสร้างความหายนะให้แก่ระบบนิเวศวิทยา หากไม่รีบเร่งป้องกัน จะยิ่งสร้างความเสียหายแก่สภาพแวดล้อมมากขึ้น โดยปัญหาสิ่งแวดล้อมมีขึ้นจากการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่

    หวัง เสี่ยวเฟง ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารการก่อสร้างเขื่อนของจีนเปิดเผยว่า ถึงเวลาแล้วที่ต้องยอมรับถึงผลเสียทางด้านสิ่งแวดล้อม อันเกิดจากการสร้างเขื่อน โดยเฉพาะปัญหาดินถูกกัดเซาะและดินถล่ม รวมไปถึงการเกิดมลพิษทางน้ำ ตลอดจนความขัดแย้งอันมีสาเหตุมาจากที่ดินและการขาดแคลนน้ำ ผลกระทบของเขื่อนยังมีต่อสัตว์ป่าในภูมิภาคอีกด้วย ดังนั้น เราต้องไม่เสียสละสภาพแวดล้อมของเรา เพื่อแลกกับความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืน.
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Columnid=46617&NewsType=2&Template=1
     
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    "กวนเกษียรสมุทร"แก้โลกร้อน
    3 ตุลาคม พ.ศ. 2550 19:44:00



    อังกฤษขุดทฤษฎีเก่าเสนอไว้เมื่อ 40 ปีที่แล้ว มาแนะรัฐบาลโลกติดตั้งท่อแนวดิ่งให้ทั่วมหาสมุทร เพื่อกวนธาตุอาหารที่อยู่ใต้ทะเลให้ลอยขึ้นมาบนผิวน้ำ เป็นอาหารเลี้ยงดูปูเสื่อสาหร่าย ช่วยลดโลกร้อน

    กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ : เจมส์ เลิฟล็อค นักวิทยาศาสตร์อิสระเสนอ "ทฤษฎีเกีย" ไว้เมื่อคริสต์ทศวรรษที่ 60 หลังจากช่วยองค์การนาซ่าแห่งสหรัฐคิดวิธีเสาะหาร่องรอยของสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร ทฤษฎีดังกล่าวตามชื่อของ เทพธิดากรีก โดยเสนอว่า สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตล้วนเป็นส่วนหนึ่งของโลก มีปฏิสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนจนเสมือนเป็นองคาพยพเดียวกัน อย่างไรก็ดี ทฤษฎีเกียฟู่ฟ่าได้ไม่กี่ปี หลังจากปี 2518 เป็นต้นมา ผู้คนก็แทบจะลืมทฤษฎีนี้ไปแล้ว

    เลิฟล็อค กลับมาชุบชีวิตแนวคิดดังกล่าวใหม่อีกครั้ง โดยเสนอแนะให้รัฐบาลทั่วโลกฝังท่อลงในมหาสมุทรลึก 200 เมตร ปลายท่อมีวาล์วเปิดเมื่อกระแสคลื่นพัดผ่านปลายท่อ วาล์วจะเปิดให้ธาตุอาหารใต้ทะเลลอยตามท่อขึ้นมาข้างบน

    แนวคิดดังกล่าวต่อยอดมาจากข้อเสนอของฟิลิป คิธิล ผู้บริหารบริษัทแอตโมเชียน ซึ่งกล่าวในที่ประชุมว่าด้วยฟิสิกส์โลกเมื่อ 100 ปีที่แล้ว ครั้งนั้น คิธิล เสนอให้วางท่อสูง 10 เมตร 100 ล้านท่อทั่วมหาสมุทรโลกเพื่อกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ก่อขึ้น และคาดว่าจะช่วยลดก๊าซก่อเรือนกระจกตัวนี้ได้ราว 1 ใน 4

    อย่างไรก็ตาม เทคนิคดังกล่าวยังมีปัญหาติดขัดอยู่บางประการ สารอาหารจากท้องทะเลเป็นแหล่งอาหารชั้นดีสำหรับปลา และสิ่งมีชีวิตอย่างพวกสาหร่ายก็จริง แต่อาหารเหล่านี้อุดมด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เช่นกัน ถ้าหากบริหารจัดการไม่ดี แทนที่จะช่วยลดก๊าซเรือนกระจกกลับยิ่งช่วยซ้ำเติมปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่ชั้นบรรยากาศหนักเข้าไปอีก

    เลิฟล็อค บอกว่า หลังจากที่เขานำความคิดนี้ไปคุยกับนักวิทยาศาสตร์หลายคน ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย และไม่คิดว่ามันจะช่วยลดโลกร้อนอย่างได้ผล เขายอมรับว่า นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้อาจคิดถูกหลายเรื่อง แต่ก็ไม่ทุกเรื่อง เดิมพันครั้งนี้สูงมาก การนำพลังงานของโลกมาช่วยเยียวยาตัวมันเองจึงนับเป็นแนวคิดที่น่าลอง

    ผู้เชี่ยวชาญบางคนเตือนว่า วิธีการดังกล่าวอาจสร้างผลกระทบที่ไม่อาจคาดเดาได้ล่วงหน้า ทางที่ดีควรสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์ที่ซับซ้อนขึ้นมาก่อน เนื่องจากผลที่ได้อาจแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าติดตั้งท่อที่ไหน ต้องทำนานเท่าไร และท่อยาวแค่ไหน

    ยกตัวอย่าง ถ้าทำแถวมหาสมุทรมหาสมุทรแปซิฟิกแถบเส้นศูนย์สูตร สารอาหารที่ปั๊มขึ้นมาอาจปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น แต่ถ้าทำโครงการที่อื่นอาจได้ประโยชน์เร็วกว่า



    http://www.bangkokbiznews.com/2007/10/03/WW54_5409_news.php?newsid=188767
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td align="left" valign="top"><table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td class="headline" align="left" valign="baseline">ก.พลังงาน แจกหลอดตะเกียบ8แสนหลอด กระตุ้นประหยัดไฟ-ลดภาวะโลกร้อน</td></tr></tbody></table> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td bgcolor="#cccccc" height="1">[​IMG]</td></tr></tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline">โดย ผู้จัดการออนไลน์</td> <td class="date" align="left" valign="baseline">6 ตุลาคม 2550 16:21 น.</td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td align="center" valign="center">[​IMG]</td></tr></tbody></table> <table border="0" cellpadding="4" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td class="body" align="center" valign="top"> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"> <tbody> <tr> <td class="body" align="left" valign="baseline"> นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ รมว.พลังงาน กล่าวว่า วันที่ 9ต.ค.นี้ กระทรวงพลังงาน ร่วมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดตัวแคมเปญใหญ่ส่งเสริมประชาชนร่วมใช้หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน ทั้งโครงการส่งเสริมการใช้หลอดตะเกียบทดแทนหลอดไส้ และการใช้หลอดผอมมากแทนหลอดผอม ซึ่งหากโครงการประสบผลสำเร็จ คาดจะทำให้ประเทศชาติลดการใช้พลังงานลงได้ 2,000 เมกะวัตต์ และลดภาวะโลกร้อนได้ด้วย

    “ยอมรับว่า แคมเปญรณรงค์ใช้หลอดประหยัดไฟออกมาช้า เนื่องจากรอให้ผู้ผลิตหลอดไฟของไทยสามารถผลิตหลอดผอมมากออกมาจำหน่ายได้ ซึ่งขณะนี้เป็นเรื่องที่น่ายินดีมีผู้ผลิต 2 ราย ทำให้ไม่ต้องพึ่งพาหลอดไฟนำเข้าจากจีน” นายปิยสวัสดิ์ กล่าว

    ทั้งนี้ กฟผ. จะดำเนินการโครงการแจกหลอดตะเกียบเบอร์ 5 จำนวน 800,000 หลอด ทุกจังหวัดทั่วประเทศ และขายหลอดตะเกียบเบอร์ 5 ที่ไปรษณีย์ไทย 7-Eleven และ Super Store ทั่วประเทศ ภายใต้โครงการเพื่อชาติ เลิกหลอดไส้ ใช้หลอดตะเกียบ เบอร์ 5 โดยตามโครงการนี้เป็นไปตามกรอบแผนอนุรักษ์พลังงานระยะที่ 3 ในช่วงปี 2551-2554 โดยเร่งรัดการดำเนินการตาม พ.ร.บ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 โดยใช้มาตรการส่งเสริมและจูงใจทั้งด้านการเงิน มาตรการทางด้านภาษี การให้คำแนะนำ และเพิ่มแนวทางใหม่ เพื่อเสริมกับมาตรการที่มีอยู่เดิม เพื่อช่วยผู้ประกอบการมีทางเลือกที่จะลงทุนเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานเพิ่มขึ้น เช่น การส่งเสริมการใช้อุปกรณ์แสงสว่างประสิทธิภาพสูง ด้วยการรณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้หลอดผอมใหม่เบอร์ 5 แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ T8 หรือหลอดผอมเดิม คาดว่าจะลดการใช้พลังงานไฟฟ้าได้ 4,790 ล้านหน่วยต่อปี นับตั้งแต่ปี 2555 ลดความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดได้ 1,040 เมกะวัตต์ และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 2.1 ล้านตัน ต่อปี
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="5" width="567"><tbody><tr><td valign="top">อุตุนิยมสรุปวันร้อนเกิน44องศาทำลายสถิติ56ปี</td> </tr> <tr> <td valign="top">9 ตุลาคม 2550 00:41 น.

    </td> </tr> <tr> <td class="Text_Story" valign="top"><!-- [​IMG] กรมอุตุฯ ชี้ภัยโลกร้อน ทำวันร้อนตับแลบเกิน 44 องศา เผยวันร้อนจัดพุ่งถึง 25 วัน ทำลายสถิติในรอบ 56 ปี ส่วนวันเย็นสุดต่ำกว่า 16 องศาลดลงเรื่อยๆ หนักสุดที่เชียงราย-นครสวรรค์ ขณะที่นักวิชาการจาก ม.มหิดล เตือนคนเมืองเสี่ยงสุด แนะให้ระวังอาหารการกิน-หมั่นออกกำลังกายเป็นเกราะคุ้มกัน


    ในโอกาสครบรอบ 20 ปี หนังสือพิมพ์ “กรุงเทพธุรกิจ” เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม ที่ผ่านมา ได้มีการจัดเสวนา เรื่อง "Life Shock Climate Change" โดยมีนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมหลายคน เนื้อหามุ่งเน้นไปถึงปัญหาที่เกิดจากภาวะโลกร้อน
    นางจงกลนี อยู่สบาย ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวว่า จากการติดตามภาวะโลกร้อนในส่วนของเมืองไทย พบว่า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีสัญญาณที่บ่งบอกถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ พบว่า อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2549 ซึ่งอยู่ในช่วงต้นฤดูหนาวสูงกว่าปกติ 1.7 องศาเซลเซียส สูงสุดเป็นอันดับ 1 ในรอบ 56 ปีของประเทศ ขณะที่เดือนธันวาคม 2549 อุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าปกติประมาณ 1 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิเฉลี่ย 24 องศา
    ทั้งนี้ เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนวันที่มีอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำกว่า 16 องศา ตั้งแต่ พ.ศ.2494 จนถึงปัจจุบัน มีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะที่ จ.เชียงราย และ จ.นครสวรรค์ ซึ่งพบว่าจากการเก็บสถิติของสถานีตรวจอากาศเชียงราย จากเดิมเมื่อปี 2494 วันที่ต่ำกว่า 16 องศา จำนวน 90 วัน แต่ในปี 2549 จำนวนวันที่เย็นเหลือเพียง 70 วัน
    นางจงกลนี กล่าวอีกว่า ในทางกลับกัน ในช่วงฤดูร้อนปีนี้ก็พบว่า อุณหภูมิทั่วไปสูงกว่าค่าเฉลี่ย บางพื้นที่มีอากาศร้อนจัด ทำลายสถิติเดิมที่เคยบันทึกไว้ โดยที่ อ.เมือง จ.ตาก เมื่อช่วงเดือนเมษายนนี้ อุณหภูมิทะลุไป 44 องศา และมีวันที่ร้อนถึง 25 วัน ทำลายสถิติวันร้อนสุดในรอบ 54 ปี ที่กรมอุตุนิยมวิทยาเคยเก็บข้อมูลไว้ว่าเมื่อปี 2526 ที่ร้อนสุด 43.7 องศา และมีวันร้อนสุดรวม 16 วัน ส่วนรองลงมา คือ ที่สถานีตรวจวัด อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ เดือนเมษายนปีนี้ อุณหภูมิ 42.1 องศา มีวันร้อน 24 วัน จากเดิมสถิติ 41.7 องศา และมีวันร้อน 14 วัน เมื่อปี 2535 สำหรับในเดือนมีนาคม ของปีนี้ ในหลายพื้นที่ก็มีอากาศร้อยเกิน 40 องศา เช่น ที่ อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ อุณหภูมิ 41.1 องศา จำนวนวันร้อน 31 วัน จากสถิติเดิมปี 2541 ร้อนสุดที่ 40.6 องศา และจำนวนวันร้อน 17 วัน
    “ภาพรวมแนวโน้มอุณหภูมิในไทยสูงขึ้นประมาณ 1 องศา ซึ่งส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ย อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยด้วย สำหรับปริมาณฝนขณะนี้ยังไม่สามารถบอกได้ชัดเจน แต่หากพิจารณาในช่วง 5-10 ปี ปริมาณฝนเพิ่มขึ้น ส่วนพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนที่เข้าไทยในช่วงปีนี้มี 3 ลูกแล้ว ล่าสุดคือ พายุเลกิมา ที่ทำให้พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือได้รับผลกระทบเกิดน้ำท่วมหนัก แต่ก็ส่งผลให้บางพื้นที่ของภาคอีสานที่แห้งแล้งดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ถึงจะไม่สามารถฟันธงว่าพายุที่พัดผ่านมีความแรงมากขึ้นหรือไม่ แต่ที่น่าเป็นห่วง คือ ความเปราะบางของสภาพแวดล้อมมีผลโดยตรงที่จะทำให้เกิดความรุนแรงของผลกระทบ เช่น ความเสี่ยงจากดินถล่ม เป็นต้น” นางจงกลนี กล่าว ขณะที่ ดร.จิรพล สินธุนาวา อาจารย์คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มองว่า แนวทางในการรับมือผลกระทบที่จะตามมากับภาวะโลกร้อนสำหรับเมืองไทย สิ่งที่หนักใจเป็นเรื่องของสุขภาพของคนเมือง ถ้าไม่พร้อมและอยู่ในความประมาท ก็มีโอกาสที่จะเผชิญกับโรคได้ง่าย โดยเฉพาะเชื้อโรคที่มาจากอาหาร เช่น พวกที่นิยมอาหารประเภทยำทะเล ปลาหมึก หอย ลาบ แบบสุกๆ ดิบๆ ที่ปกติก็มีความเสี่ยงจะเจอกับเชื้อโรคเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ยิ่งมีปัจจัยจากอุณหภูมิที่ร้อนขึ้น การบริโภคอาหารดังกล่าวจะยิ่งเปิดช่องให้เชื้อโรคมากขึ้น ทั้งนี้ อยากให้หันมาตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้วยการดูแลสุขภาพ หมั่นออกกำลังกายมากขึ้นอย่าผัดผ่อน

    --> กรมอุตุฯ ชี้ภัยโลกร้อน ทำวันร้อนตับแลบเกิน 44 องศา เผยวันร้อนจัดพุ่งถึง 25 วัน ทำลายสถิติในรอบ 56 ปี ส่วนวันเย็นสุดต่ำกว่า 16 องศาลดลงเรื่อยๆ หนักสุดที่เชียงราย-นครสวรรค์ ขณะที่นักวิชาการจาก ม.มหิดล เตือนคนเมืองเสี่ยงสุด แนะให้ระวังอาหารการกิน-หมั่นออกกำลังกายเป็นเกราะคุ้มกัน
    ในโอกาสครบรอบ 20 ปี หนังสือพิมพ์ “กรุงเทพธุรกิจ” เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม ที่ผ่านมา ได้มีการจัดเสวนา เรื่อง "Life Shock Climate Change" โดยมีนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมหลายคน เนื้อหามุ่งเน้นไปถึงปัญหาที่เกิดจากภาวะโลกร้อน
    นางจงกลนี อยู่สบาย ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวว่า จากการติดตามภาวะโลกร้อนในส่วนของเมืองไทย พบว่า ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา มีสัญญาณที่บ่งบอกถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ พบว่า อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2549 ซึ่งอยู่ในช่วงต้นฤดูหนาวสูงกว่าปกติ 1.7 องศาเซลเซียส สูงสุดเป็นอันดับ 1 ในรอบ 56 ปีของประเทศ ขณะที่เดือนธันวาคม 2549 อุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่าปกติประมาณ 1 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิเฉลี่ย 24 องศา
    ทั้งนี้ เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจำนวนวันที่มีอากาศเย็น อุณหภูมิต่ำกว่า 16 องศา ตั้งแต่ พ.ศ.2494 จนถึงปัจจุบัน มีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะที่ จ.เชียงราย และ จ.นครสวรรค์ ซึ่งพบว่าจากการเก็บสถิติของสถานีตรวจอากาศเชียงราย จากเดิมเมื่อปี 2494 วันที่ต่ำกว่า 16 องศา จำนวน 90 วัน แต่ในปี 2549 จำนวนวันที่เย็นเหลือเพียง 70 วัน
    นางจงกลนี กล่าวอีกว่า ในทางกลับกัน ในช่วงฤดูร้อนปีนี้ก็พบว่า อุณหภูมิทั่วไปสูงกว่าค่าเฉลี่ย บางพื้นที่มีอากาศร้อนจัด ทำลายสถิติเดิมที่เคยบันทึกไว้ โดยที่ อ.เมือง จ.ตาก เมื่อช่วงเดือนเมษายนนี้ อุณหภูมิทะลุไป 44 องศา และมีวันที่ร้อนถึง 25 วัน ทำลายสถิติวันร้อนสุดในรอบ 54 ปี ที่กรมอุตุนิยมวิทยาเคยเก็บข้อมูลไว้ว่าเมื่อปี 2526 ที่ร้อนสุด 43.7 องศา และมีวันร้อนสุดรวม 16 วัน ส่วนรองลงมา คือ ที่สถานีตรวจวัด อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ เดือนเมษายนปีนี้ อุณหภูมิ 42.1 องศา มีวันร้อน 24 วัน จากเดิมสถิติ 41.7 องศา และมีวันร้อน 14 วัน เมื่อปี 2535 สำหรับในเดือนมีนาคม ของปีนี้ ในหลายพื้นที่ก็มีอากาศร้อยเกิน 40 องศา เช่น ที่ อ.ท่าตูม จ.สุรินทร์ อุณหภูมิ 41.1 องศา จำนวนวันร้อน 31 วัน จากสถิติเดิมปี 2541 ร้อนสุดที่ 40.6 องศา และจำนวนวันร้อน 17 วัน
    “ภาพรวมแนวโน้มอุณหภูมิในไทยสูงขึ้นประมาณ 1 องศา ซึ่งส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ย อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยด้วย สำหรับปริมาณฝนขณะนี้ยังไม่สามารถบอกได้ชัดเจน แต่หากพิจารณาในช่วง 5-10 ปี ปริมาณฝนเพิ่มขึ้น ส่วนพายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนที่เข้าไทยในช่วงปีนี้มี 3 ลูกแล้ว ล่าสุดคือ พายุเลกิมา ที่ทำให้พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือได้รับผลกระทบเกิดน้ำท่วมหนัก แต่ก็ส่งผลให้บางพื้นที่ของภาคอีสานที่แห้งแล้งดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ถึงจะไม่สามารถฟันธงว่าพายุที่พัดผ่านมีความแรงมากขึ้นหรือไม่ แต่ที่น่าเป็นห่วง คือ ความเปราะบางของสภาพแวดล้อมมีผลโดยตรงที่จะทำให้เกิดความรุนแรงของผลกระทบ เช่น ความเสี่ยงจากดินถล่ม เป็นต้น” นางจงกลนี กล่าว
    ขณะที่ ดร.จิรพล สินธุนาวา อาจารย์คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล มองว่า แนวทางในการรับมือผลกระทบที่จะตามมากับภาวะโลกร้อนสำหรับเมืองไทย สิ่งที่หนักใจเป็นเรื่องของสุขภาพของคนเมือง ถ้าไม่พร้อมและอยู่ในความประมาท ก็มีโอกาสที่จะเผชิญกับโรคได้ง่าย โดยเฉพาะเชื้อโรคที่มาจากอาหาร เช่น พวกที่นิยมอาหารประเภทยำทะเล ปลาหมึก หอย ลาบ แบบสุกๆ ดิบๆ ที่ปกติก็มีความเสี่ยงจะเจอกับเชื้อโรคเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ยิ่งมีปัจจัยจากอุณหภูมิที่ร้อนขึ้น การบริโภคอาหารดังกล่าวจะยิ่งเปิดช่องให้เชื้อโรคมากขึ้น ทั้งนี้ อยากให้หันมาตั้งรับกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นด้วยการดูแลสุขภาพ หมั่นออกกำลังกายมากขึ้นอย่าผัดผ่อน

    http://www.komchadluek.net/2007/10/09/a001_160556.php?news_id=160556</td></tr></tbody></table>
     
  11. Toutou

    Toutou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2005
    โพสต์:
    1,455
    ค่าพลัง:
    +8,107
    'มาม่า' ขึ้นราคาครั้งแรกรอบ 10 ปี ซองละ 5 บาทเป็น 6 บาทรับปีใหม่

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>'มาม่า'ประกาศขึ้นราคาจากซองละ 5 บาท เป็น 6 บาท

    มีผลมกราคมปีหน้า เผยเป็นการปรับราคาครั้งแรกในรอบ 10 ปี นับตั้งแต่วิกฤตฟองสบู่แตก ปี'40 เตรียมส่งเรื่องให้ คน.อนุมัติ ชี้เหตุโลกร้อน แถมไบโอดีเซล ดันราคาน้ำมันปาล์ม-ข้าวสาลีเพิ่มกว่า 50-60% เชื่อเจ้าอื่นปรับตา

    นายพิพัฒ พะเนียงเวทย์ กรรมการผู้อำนวยการ บริษัทไทยเพรซิเดนท์ ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปตรา 'มาม่า' เปิดเผยว่า

    บริษัทได้ตัดสินใจปรับเพิ่มราคาขายปลีกซองละ 1 บาท จากราคาขายปลีกเดิม 5 บาท เป็น 6 บาท หรือปรับขึ้นประมาณ 20% โดยจะนำเรื่องดังกล่าวแจ้งให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบในวันที่ 15 ตุลาคม จากนั้นจะยื่นเรื่องขอปรับราคาไปยังกรมการค้าภายใน (คน.) กระทรวงพาณิชย์ ส่วนราคาขายปลีกใหม่จะมีผลในต้นเดือนมกราคม พ.ศ.2551 เพราะต้องใช้เวลาในการแจ้งราคาใหม่ให้กับคู่ค้าทั้งร้านยี่ปั๊ว ซาปั๊ว ทราบล่วงหน้า 1 เดือน ในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม

    นายพิพัฒกล่าวว่า การปรับเพิ่มราคาขายปลีกครั้งนี้ถือเป็นการปรับเพิ่มในรอบ 10 ปีหลังจากปรับราคาสินค้าครั้งล่าสุดจากซองละ 4.50 บาท เป็น 5 บาท เมื่อปี พ.ศ.2540 ช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ซึ่งช่วงนั้นต้นทุนการดำเนินงานปรับเพิ่มขึ้นจากการลอยตัวค่าเงินบาท

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>นายพิพัฒกล่าวว่า สาเหตุของการปรับราคาเป็นผลมาจากราคาวัตถุดิบหลักในการผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป 2 รายการ คือ

    น้ำมันปาล์มและแป้งสาลีเพิ่มขึ้น 50-60% จากปัญหาโลกร้อนทำให้ผลผลิตในตลาดโลกลดลง และปัญหาโลกร้อนยังทำให้ความต้องการพลังงานทดแทนประเภทไบโอดีเซลเพิ่มขึ้น จนผลต่อราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลก ทำให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น 20% หรือเพิ่มจากเดิมอยู่ที่ 60% ของราคาขายเป็น 80% ของราคาขาย ซึ่งการที่มาม่าในฐานะผู้นำตลาดด้วยส่วนแบ่งมากกว่า 50% ของตลาดรวมบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปปรับราคาจะทำให้ผู้ประกอบการรายอื่นต้องปรับราคาด้วย หลังจากยำยำได้ยื่นเรื่องของปรับราคากับ คน.ไปตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา
    'สาเหตุหลักที่ต้องปรับราคาอีกครั้งในรอบ 10 ปี เป็นผลจากราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ไม่เกี่ยวกับภาวะถดถอย เพราะยิ่งเศรษฐกิจไม่ดี ทำให้สินค้าขายได้ดีมากขึ้น เห็นได้จากในช่วง 9 เดือนที่ผ่านมา ตลาดโตได้ถึง 12% ถือว่าโตสูงสุดในรอบ 10 ปี นับตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน แต่ราคาวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้นทำให้เราอยู่ไม่ได้ แม้ว่าตลาดจะโตแต่เชื่อว่ากำไรจะลดลง'

    นายพิพัฒกล่าวว่า ยังต้องติดตามสถานการณ์ราคาวัตถุดิบน้ำมันปาล์ม และ แป้งสาลีว่าจะมีการปรับเพิ่มหรือไม่

    หากแป้งสาลีซึ่งปัจจุบันราคาได้ปรับเพิ่มมาเป็น 500 เหรียญต่อตัน จากเดิมราคาอยู่ที่กว่า 200 เหรียญต่อตัน มีการปรับเพิ่มขึ้นมาเป็น 1,000 เหรียญต่อตัน คงต้องมาพิจารณาเรื่องราคาอีกครั้ง แต่เชื่อว่ามีโอกาสน้อยที่ราคาวัตถุดิบจะปรับเพิ่มขึ้นมาในระดับนั้น นายพิพัฒกล่าวอีกว่า ราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปในช่วงสิ้นปี 2551 ปรับเพิ่มขึ้นในช่วงมูลค่าได้มากกว่า 10%

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD><CENTER>ขอขอบคุณเนื้อหาข่าว คุณภาพดี โดย: หนังสือพิมพ์มติชน
    [​IMG]</CENTER></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  12. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE borderColor=#728dac cellPadding=0 width=725 align=center bgColor=#e2e2e2 border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ecfae0>9 พ.ย.ลดใช้ภาชนะโฟมลดโลกร้อน </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#728dac cellPadding=0 width=725 align=center border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#cccccc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=center bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle>ภาพประกอบจากอินเตอร์เน็ต</TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>เมื่อเวลา 11.30 น. วันที่ 9 ต.ค. ที่ลานกิจกรรม หน้าห้างมาบุญครอง
    นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.)

    เปิดกิจกรรมรณรงค์
     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,551
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,876
    ชี้ 'โลกร้อน' ส่งผลคนเป็นโรคต้อกระจก

    [12 ต.ค. 50 - 04:25]


    นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กล่าวว่า หลังจากที่ได้มีการดำเนินโครงการผ่าตัดตาต้อกระจก 80,000 ราย เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา โดยเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 2549-31 ธ.ค. 2550 นั้น จนถึงขณะนี้มีผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการ 50,919 ราย มี 73 รพ. เข้าร่วมโครงการ ทำให้ จำนวนผู้ป่วยที่รอคิวผ่าตัดลดน้อยลง และคิวผ่าตัดสั้นลงเพราะมีการกระจายและเกลี่ยคิวไปทั่วประเทศ ทำให้ผู้ป่วยตาต้อกระจกเข้าถึงบริการที่ดีขึ้น ซึ่งแต่ละปีประเทศไทยมีผู้สูงอายุกว่า 60,000 ราย ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคตาต้อกระจก ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการเปลี่ยนเลนส์ตา โดยขณะนี้มีผู้ป่วยสะสมกว่า 100,000 คน
    เลขาธิการ สปสช. กล่าวว่า ปัญหาโลกร้อน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนมีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคต้อกระจกมากขึ้น นักวิทยาศาสตร์ระบุว่า โดยปกติความร้อนจากแสงแดดจะถูกชั้นบรรยากาศโอโซนดักไว้ ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตผ่านเข้ามาได้น้อย แต่เมื่อเกิดภาวะโลกร้อน แสงแดดที่ส่องลงมาหากสายตาได้รับแสงแดดมากเกินไป จะส่งผลให้เกิดโรคตาต้อกระจก บางรายอาจถึงขั้นตาบอดได้ ซึ่งขณะนี้พบว่ามีประชาชนเข้ารับการรักษาโรคตาต้อกระจกมากขึ้น เพราะภาวะโลกร้อนมีความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพของมนุษย์
    “ขณะนี้มีหลาย รพ.ทั่วประเทศสนใจเข้าร่วมโครงการ บาง รพ.ไม่มีจักษุแพทย์ แต่ก็ใช้วิธีให้จักษุแพทย์ของ รพ.จังหวัดยกทีมกันลงมาทำการผ่าตัดให้ คนไข้ที่ รพ.ชุมชน ซึ่งมีผู้ป่วยที่ยังเข้าไม่ถึงบริการและรอคิวนานมาก แต่เมื่อเข้าร่วมกับโครงการนี้ผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องรอคิว สามารถไปผ่าตัดที่ รพ.ใกล้เคียงและไม่จำเป็นต้องเป็น รพ.ตามสิทธิก็ได้” เลขาธิการ สปสช.กล่าวและว่า ผู้ป่วยตาต้อกระจกสามารถลงทะเบียนได้ที่ รพ.ที่เข้าร่วมโครงการ และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สายด่วน สปสช. โทร.1330 โดยในปีนี้ สปสช.ได้ตั้งงบประมาณสำหรับโครงการนี้ไว้ 560 ล้านบาท.


    http://www.thairath.co.th/news.php?section=education&content=64289
     
  14. Toutou

    Toutou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2005
    โพสต์:
    1,455
    ค่าพลัง:
    +8,107
    The Nobel Peace Prize goes to the IPCC & Al Gore

    <!-- Start Main Content -->[​IMG] The Nobel Peace Prize 2007


    <!-- Start of motivation -->The Nobel Peace Prize goes to the Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) and Albert Arnold (Al) Gore Jr. "for their efforts to build up and disseminate greater knowledge about man-made climate change, and to lay the foundations for the measures that are needed to counteract such change"
    <!-- End of motivation -->
    <TABLE id=laureate_table summary="Table with laureteas and their related data"><!-- Start of laur img --><TBODY><TR><TD class=laureate_image>[​IMG]</TD><TD class=laureate_image>[​IMG]</TD></TR><!-- End of laur img --><!-- Start of photo copy --><TR><TD class=copy_right> </TD><TD class=copy_right>Photo: Scanpix/Tom Hevezi</TD></TR><!-- End of photo copy --><!-- Start of laur name --><TR><TH class=laureate_name scope=col>Intergovernmental Panel on Climate Change (IPCC) </TH><TH class=laureate_name scope=col>Albert Arnold (Al) Gore Jr.</TH></TR><!-- End of laur name --><!-- Start of portion --><TR><TD class=laureate_info>[​IMG] 1/2 of the prize</TD><TD class=laureate_info>[​IMG] 1/2 of the prize</TD></TR><!-- End of portion --><!-- Start of nationality --><TR><TD class=laureate_info>Geneva, Switzerland</TD><TD class=laureate_info>USA</TD></TR><!-- End of nationality --><!-- Start of laur commment --><TR><TD class=laureate_info>Founded in 1988</TD><TD class=laureate_info> </TD></TR><!-- End of laur commment --><!-- Start of laur birth --><TR><TD class=laureate_info> </TD><TD class=laureate_info>b. 1948</TD></TR><!-- End of laur birth --></TBODY></TABLE>

    Titles, data and places given above refer to the time of the award. <!-- End Main Content --><!-- Start Navigation Column --><!--eri-no-index-->
     
  15. Toutou

    Toutou เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2005
    โพสต์:
    1,455
    ค่าพลัง:
    +8,107
    นักวิทย์ไทยใน "ไอพีซีซี" ยินดีกับโนเบล แนะรัฐจริงใจแก้ปัญหาโลกร้อน

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>12 ตุลาคม 2550 20:06 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>รายงานจากหน่วยงานภูมิศาสตร์สำรวจของสหรัฐฯ เมื่อกลางเดือน ก.ย.ชี้ว่า หมีขาวกำลังจะสูญพันธุ์ในสิ้นศตวรรษนี้ อันเป็นผลพวงมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกและปัญหาภาวะโลกร้อน (Credit:Ansgar Walk)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>นายราเชนทรา ปาจาอุรี ประธานไอพีซีซี ขึ้นเวทีปาฐกถาเมื่อครั้งวาระประชุมไอพีซีซีครั้งที่ 29 และประชุมคณะทำงานกลุ่มที่ 3 ครั้งที่ 9 เพื่อพิจารณากลั่นกรองรายงานเกี่ยวกับสภาวะโลกร้อนฉบับที่ 3 ซึ่งมีทั้งหมด 4 ฉบับ เมื่อวันที่ 30 เม.ย.- 4 พ.ค. ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>อัล กอร์ นักสิ่งแวดล้อมผู้หันหลังให้เวทีการเมืองสหรัฐฯ ผงาดเข้ารับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพจากผลงานการรณรงค์ต่อต้านการเกิดภาวะโลกร้อนจนเกิดการตื่นตัวไปทั่วโลก </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>นักสิ่งแวดล้อมไทยเผยยินดีกับผู้ได้รางวัลโนเบลสันติภาพปีนี้ ชี้คณะทำงานด้านสภาพอากาศนานาชาติเข้ารับรางวัลแบบไร้ข้อกังขา แต่ติง
     
  16. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>เปิดโลกกว้าง-"ผ่าตัดโลก" แก้โลกร้อน</TD></TR><TR><TD vAlign=top>12 ตุลาคม 2550 22:59 น.</TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG] [​IMG] หลังจากเฝ้าดูรัฐบาลประเทศต่างๆเจรจาลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แบบไร้ผลสำเร็จจริงจังมานานนับสิบปี นักวิศวกร และนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่ง จึงเชื่อว่า ถึงเวลาแล้วที่จะต้องทำ "การผ่าตัดโลกครั้งใหญ่" เสียที เพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน
    คำว่า"ผ่าตัด" ณ ที่นี้ ย่อมไม่ได้หมายถึงการเอามีดเล่มใหญ่มาผ่า หรือเฉือนส่วนที่มีปัญหาออกไป หากแต่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหลักๆ บางประการของโลก

    "แต่ก่อน ผมก็ไม่ได้คิดอะไรเกี่ยวกับโครงการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของโลก แต่ตอนนี้ผมหนุนให้เราเริ่มทำโครงการเหล่านี้กันได้แล้ว เพราะเราก็เห็นๆ กันอยู่ว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยใส่โลกอยู่ทุกวันนี้ไม่ได้ลดลงเลย" นายไบรอัน ลอนเดอร์ อาจารย์ด้านวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ในอังกฤษ กล่าว
    ตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเจรจา และสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ มิได้ทำให้ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงร้อยละ 60-80 อย่างที่ตั้งเป้าหมายไว้กันแต่อย่างใด ซ้ำร้าย ระดับการปล่อยก๊าซยังคงสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
    นายลอนเดอร์จึงเชื่อว่า โครงการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของโลกครั้งใหญ่ อาทิ การสร้างฉากกันแดดคลุมโลก หรือการเทสารเหล็กลงสู่มหาสมุทร น่าจะถือว่าเป็น "คำตอบสุดท้าย" ของการแก้ปัญหาโลกร้อนแล้ว
    "เราควรจะศึกษาโครงการเหล่านี้อย่างจริงจัง ถ้ามีคนเสนอความคิดทำนองนี้มาสัก 100 ความคิด แล้วมีสัก 3 ความคิดที่ใช้ได้จริง การศึกษาของเราก็น่าจะให้ผลคุ้มค่าแล้ว" นายเคน คาลไดรา ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันคาร์เนกี วอชิงตัน กล่าวหนุน
    ผู้สนับสนุนแนวคิดการผ่าตัดโลกล้วนเมินเสียงค้านจากนักอนุรักษ์ธรรมชาติที่ว่า แนวคิดการเปลี่ยนแปลงโลกในลักษณะดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างใหญ่หลวง และการใช้เทคโนโลยีแบบสุดขั้วอย่างนี้ ก็ไม่น่าจะช่วยแก้ปัญหาได้ เพราะเทคโนโลยีนี่แหละเป็นตัวก่อปัญหามาตั้งแต่ต้น
    นายเจมส์เลิฟล็อค ชี้ว่า ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์บนโลกนี้เยอะ จนระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่หลวงไปแล้ว
    "แน่นอนครับ โครงการใหญ่ระดับนี้ต้องมีผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาแน่นอน แต่ความจริงก็คือ ถ้าเราไม่ทำอะไรเลย เดิมพันที่อาจจะต้องเสียไปก็มีค่าสูงมากๆ" นายเลิฟล็อค นักนิเวศชื่อดัง แสดงความคิดเห็น
    เมื่อช่วงต้นปีแม้แต่คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก็เริ่มพิจารณาโครงการสุดขั้วไปบ้างแล้ว อาทิ การส่งกระจกออกไปโคจรนอกโลก เพื่อกันแสงแดดบางส่วนไม่ให้เดินทางเข้าสู่โลก หรือการสร้างเมฆเพื่อคลุมโลกเอาไว้ไม่ให้ร้อน
    ณปัจจุบัน การสำรวจแนวคิดผ่าตัดโลกสารพัดวิธีล่าสุด พบว่าแนวคิดบางอย่างอาจจะมีโอกาสนำมาปฏิบัติได้จริง และสามารถช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนได้ ซึ่งจะหยิบยกมาเป็นตัวอย่างพอสังเขป ดังนี้

    1.การสูบน้ำลึกใต้มหาสมุทร
    นายคริสแร็พเลย์ หัวหน้าพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ของอังกฤษ และนายเจมส์ เลิฟล็อค นักนิเวศชื่อดัง เสนอให้ติดตั้งท่อแนวดิ่งลงสู่ใต้มหาสมุทร เพื่อสูบเอาน้ำลึกขึ้นมาอยู่บนพื้นผิว เนื่องจากน้ำมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิเย็น จะ "ให้ผล" ดีกว่าในแง่ที่มีสิ่งมีชีวิตมากกว่า
    เมื่อลอยขึ้นสู่พื้นผิวมหาสมุทรสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตาย และจมลงสู่ใต้พื้นมหาสมุทรพร้อมกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่จะจมหายไปนานนับล้านๆ ปี
    อย่างไรก็ตามนักชีววิทยาทางทะเล ชี้ว่า หากใช้แนวคิดนี้จริง สิ่งมีชีวิตในท้องทะเลจะได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วาฬ และโลมา
    โอกาสประสบความสำเร็จ 3/5 ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลอาจยับยั้งการดำเนินการตามแนวคิดนี้

    2.ต้นไม้สังเคราะห์
    นายเคลาส์แล็กเนอร์ อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เสนอแนวคิดการติดตั้งต้นไม้สังเคราะห์บนโลก เพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน เพราะเขาประเมินว่าต้นไม้สังเคราะห์แต่ละต้นของเขาจะสามารถดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 9 หมื่นตันต่อปี หรือเทียบเท่ากับปริมาณก๊าซที่ออกมาจากรถกว่า 1.5 หมื่นคัน
    เพราะศักยภาพในการดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้สังเคราะห์สูงกว่าต้นไม้จริงถึง1,000 เท่า ทีเดียว
    อย่างไรก็ตามต้นไม้สังเคราะห์ดังกล่าวทำหน้าที่ได้เพียงเป็นตัวกรองดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่านั้น แต่ยังต้องหาเทคโนโลยีมาทำการฝังกลบก๊าซเหล่านี้แยกต่างหาก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์บางคนเตือนว่า พลังงานที่ใช้ไปกับกระบวนการดังกล่าวอาจจะก่อปัญหามลพิษเพิ่มมากกว่าปัญหาที่แก้ไปได้เสียอีก
    โอกาสประสบความสำเร็จ ต้นไม้สังเคราะห์นี้ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของเทคโนโลยีดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แล้วนำไปฝังไว้ใต้ดิน ซึ่งน่าจะมีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศโลกเปลี่ยน แม้ว่าอาจจะอยู่ในรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่ต้นไม้สังเคราะห์ก็ตาม
    เรียบเรียงโดย อุริสราโกวิทย์ดำรงค์

    แหล่งข้อมูล เดอะการ์เดียน

    -->[​IMG]
    หลังจากเฝ้าดูรัฐบาลประเทศต่างๆเจรจาลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แบบไร้ผลสำเร็จจริงจังมานานนับสิบปี นักวิศวกร และนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่ง จึงเชื่อว่า ถึงเวลาแล้วที่จะต้องทำ "การผ่าตัดโลกครั้งใหญ่" เสียที เพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน
    คำว่า"ผ่าตัด" ณ ที่นี้ ย่อมไม่ได้หมายถึงการเอามีดเล่มใหญ่มาผ่า หรือเฉือนส่วนที่มีปัญหาออกไป หากแต่หมายถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหลักๆ บางประการของโลก
    "แต่ก่อน ผมก็ไม่ได้คิดอะไรเกี่ยวกับโครงการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของโลก แต่ตอนนี้ผมหนุนให้เราเริ่มทำโครงการเหล่านี้กันได้แล้ว เพราะเราก็เห็นๆ กันอยู่ว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยใส่โลกอยู่ทุกวันนี้ไม่ได้ลดลงเลย" นายไบรอัน ลอนเดอร์ อาจารย์ด้านวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ในอังกฤษ กล่าว [​IMG]
    ตลอดช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเจรจา และสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ มิได้ทำให้ระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงร้อยละ 60-80 อย่างที่ตั้งเป้าหมายไว้กันแต่อย่างใด ซ้ำร้าย ระดับการปล่อยก๊าซยังคงสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
    นายลอนเดอร์จึงเชื่อว่า โครงการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติของโลกครั้งใหญ่ อาทิ การสร้างฉากกันแดดคลุมโลก หรือการเทสารเหล็กลงสู่มหาสมุทร น่าจะถือว่าเป็น "คำตอบสุดท้าย" ของการแก้ปัญหาโลกร้อนแล้ว
    "เราควรจะศึกษาโครงการเหล่านี้อย่างจริงจัง ถ้ามีคนเสนอความคิดทำนองนี้มาสัก 100 ความคิด แล้วมีสัก 3 ความคิดที่ใช้ได้จริง การศึกษาของเราก็น่าจะให้ผลคุ้มค่าแล้ว" นายเคน คาลไดรา ผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันคาร์เนกี วอชิงตัน กล่าวหนุน [​IMG]
    ผู้สนับสนุนแนวคิดการผ่าตัดโลกล้วนเมินเสียงค้านจากนักอนุรักษ์ธรรมชาติที่ว่า แนวคิดการเปลี่ยนแปลงโลกในลักษณะดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างใหญ่หลวง และการใช้เทคโนโลยีแบบสุดขั้วอย่างนี้ ก็ไม่น่าจะช่วยแก้ปัญหาได้ เพราะเทคโนโลยีนี่แหละเป็นตัวก่อปัญหามาตั้งแต่ต้น
    นายเจมส์เลิฟล็อค ชี้ว่า ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์บนโลกนี้เยอะ จนระบบนิเวศเกิดการเปลี่ยนแปลงใหญ่หลวงไปแล้ว
    "แน่นอนครับ โครงการใหญ่ระดับนี้ต้องมีผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาแน่นอน แต่ความจริงก็คือ ถ้าเราไม่ทำอะไรเลย เดิมพันที่อาจจะต้องเสียไปก็มีค่าสูงมากๆ" นายเลิฟล็อค นักนิเวศชื่อดัง แสดงความคิดเห็น

    เมื่อช่วงต้นปีแม้แต่คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก็เริ่มพิจารณาโครงการสุดขั้วไปบ้างแล้ว อาทิ การส่งกระจกออกไปโคจรนอกโลก เพื่อกันแสงแดดบางส่วนไม่ให้เดินทางเข้าสู่โลก หรือการสร้างเมฆเพื่อคลุมโลกเอาไว้ไม่ให้ร้อนณปัจจุบัน การสำรวจแนวคิดผ่าตัดโลกสารพัดวิธีล่าสุด พบว่าแนวคิดบางอย่างอาจจะมีโอกาสนำมาปฏิบัติได้จริง และสามารถช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนได้ ซึ่งจะหยิบยกมาเป็นตัวอย่างพอสังเขป ดังนี้

    1.การสูบน้ำลึกใต้มหาสมุทร
    นายคริสแร็พเลย์ หัวหน้าพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ของอังกฤษ และนายเจมส์ เลิฟล็อค นักนิเวศชื่อดัง เสนอให้ติดตั้งท่อแนวดิ่งลงสู่ใต้มหาสมุทร เพื่อสูบเอาน้ำลึกขึ้นมาอยู่บนพื้นผิว เนื่องจากน้ำมหาสมุทรที่มีอุณหภูมิเย็น จะ "ให้ผล" ดีกว่าในแง่ที่มีสิ่งมีชีวิตมากกว่า
    เมื่อลอยขึ้นสู่พื้นผิวมหาสมุทรสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตาย และจมลงสู่ใต้พื้นมหาสมุทรพร้อมกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่จะจมหายไปนานนับล้านๆ ปี
    อย่างไรก็ตามนักชีววิทยาทางทะเล ชี้ว่า หากใช้แนวคิดนี้จริง สิ่งมีชีวิตในท้องทะเลจะได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วาฬ และโลมา
    โอกาสประสบความสำเร็จ 3/5 ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในทะเลอาจยับยั้งการดำเนินการตามแนวคิดนี้

    2.ต้นไม้สังเคราะห์
    นายเคลาส์แล็กเนอร์ อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย เสนอแนวคิดการติดตั้งต้นไม้สังเคราะห์บนโลก เพื่อแก้ปัญหาโลกร้อน เพราะเขาประเมินว่าต้นไม้สังเคราะห์แต่ละต้นของเขาจะสามารถดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ราว 9 หมื่นตันต่อปี หรือเทียบเท่ากับปริมาณก๊าซที่ออกมาจากรถกว่า 1.5 หมื่นคัน
    เพราะศักยภาพในการดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้สังเคราะห์สูงกว่าต้นไม้จริงถึง1,000 เท่า ทีเดียว
    อย่างไรก็ตามต้นไม้สังเคราะห์ดังกล่าวทำหน้าที่ได้เพียงเป็นตัวกรองดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่านั้น แต่ยังต้องหาเทคโนโลยีมาทำการฝังกลบก๊าซเหล่านี้แยกต่างหาก ซึ่งนักวิทยาศาสตร์บางคนเตือนว่า พลังงานที่ใช้ไปกับกระบวนการดังกล่าวอาจจะก่อปัญหามลพิษเพิ่มมากกว่าปัญหาที่แก้ไปได้เสียอีก

    โอกาสประสบความสำเร็จ ต้นไม้สังเคราะห์นี้ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของเทคโนโลยีดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แล้วนำไปฝังไว้ใต้ดิน ซึ่งน่าจะมีบทบาทสำคัญในการแก้ไขปัญหาสภาพภูมิอากาศโลกเปลี่ยน แม้ว่าอาจจะอยู่ในรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่ต้นไม้สังเคราะห์ก็ตาม
    เรียบเรียงโดย อุริสราโกวิทย์ดำรงค์
    แหล่งข้อมูล เดอะการ์เดียน <TABLE align=center><TBODY></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    http://www.komchadluek.net/2007/10/17/q010_161777.php?news_id=161777
     
  17. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>CO<SUP>2</SUP> เพิ่มเกินคาด 35% ซ้ำน้ำทะเลดูดซับได้น้อยลง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>23 ตุลาคม 2550 15:17 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>น้ำทะเลในมหาสมุทรก็ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้น้อยลง ก๊าซที่เหลือจึงลอยล่องอยู่ในชั้นบรรยากาศ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์พบว่าเพิ่มสูงขึ้น 35%</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>อุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานฟอสซิลต่างเติบโตจนธรรมชาติอาจไม่สามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ทัน</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ขณะเดียวกันการเดินทางที่เผาพลาญพลังงานฟอสซิลก็เร่งให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>บีบีซีนิวส์/เอเยนซี- ทีมนักวิจัยนานาชาติพบปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้นด้วยอัตราเร็วสูงกว่าที่คาดเป็น 35% ด้านนักวิจัยอังกฤษยังพบมหาสมุทรดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงครึ่งหนึ่ง

    จากการเติบโตของอุตสาหกรรมที่ใช้พลังงานฟอสซิลประจวบกับการลดลงของการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งบนพื้นดินและในมหาสมุทร นักวิจัยพบว่าปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co<SUP>2</SUP>) ในชั้นบรรยากาศที่วัดเมื่อปี 2549 สูงกว่าเมื่อปี 2533 ถึง 35% ซึ่งเป็นอัตราที่เพิ่มสูงเร็วกว่าที่คาด ทั้งนี้ได้มีการเผยแพร่รายงานดังกล่าวในวารสารสมาคมวิทยาศาสตร์สหรัฐ (Proceedings of the National Academy of Sciences)

    "ในการเพิ่มขึ้นของประชากรและความมั่งคั่งของโลก เราทราบแล้วว่าเป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศสูงขึ้นจากการชะลอตัวที่เกิดเกิดจากธรรมชาติซึ่งตรึงองค์ประกอบเคมีดังกล่าวในชั้นบรรยากาศไว้" โจเซฟ แคนาเดลล์ (Josep Canadell) ผู้อำนวยการโครงการคาร์บอนโลก (Global Carbon Project) จากองค์การวิจัยในเครือจักรภพอังกฤษด้านวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมซึ่งนำการศึกษาครั้งนี้กล่าว

    จากการศึกษาใหม่นี้คาร์บอนถูกปลดปล่อยออกจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลและการผลิตปูนซีเมนต์ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 7 พันล้านตันในปี 2543 เป็น 8.4 พันล้านตันในปี 2549 และอัตราการเพิ่มของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้สูงขึ้นจาก 1.3% ต่อปีในช่วงปี 2533-2542 เป็น 3.3% ต่อปีในช่วง 2543-2549

    "เมื่อ 50 ปีที่ผ่านมาในปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ทุกๆ ตันที่ถูกปล่อยออกมา ราวว 600 กิโลกรัมจะถูกกำจัดออกไปโดยธรรมชาติ แต่ในปี 2549 มีเพียง 550 กิโลกรัมเท่านั้นที่ถูกกำจัดออกไป ส่วนที่เหลือก็ตกลงมา สัดส่วนของคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหลืออยู่ในชั้นบรรยากาศหลังจากการดูดซับของพืชและมหาสมุทรที่สูงขึ้นกว่าเมื่อหลายสิบปีก่อนนั้นแสดงให้เห็นความสามารถของโลกในการดูดซับการปลดปล่อยที่เป็นฝีมือมนุษย์นั้นลดลง" แคนาเดลล์กล่าว

    ทั้งนี้การศึกษาดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลออสเตรเลีย สหภาพยุโรปและองค์กรระหว่างเป็นประเทศอื่นๆ โดยนักวิจัยผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่เป็นสมาชิกของ คณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของสหประชาชาติ หรือ ไอพีซีซี (UN's Intergovernmental Panel on Climate Change) ซึ่งเพิ่งได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี 2550 นี้ ร่วมกับ อัล กอร์ (Al Gore) อดีตรองประธานาธิบดีสหรัฐฯ ผู้สร้างกระแสความสนใจในภาวะโลกร้อนด้วยภาพยนตร์ An Invenient Truth

    ขณะเดียวกันก็มีรายงานจากฝั่งอังกฤษโดยยูท์ สชัสเตอร์ (Ute Schuster) ผู้นำการศึกษาร่วมกับ ศ.แอนดรูว์ วัตสัน (Prof. Andrew Watson) จากคณะวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย (University of East Anglia) พบว่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของมหาสมุทแอตแลนติกเหนือได้ลดลงครึ่งหนึ่งจากช่วงปี 2533 ถึงปี 2548 โดยพวกเขาได้รวบรวมข้อมูลจากเซนเซอร์ที่ติดในเรือบรรทุกกล้วยซึ่งเดินทางจากอินเดียตะวันตกไปยังอังกฤษทุกเดือน และได้ทำการวัดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในทะเลมากกว่า 90,000 ครั้ง ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวได้ตีพิมพ์ลงวารสารจีโอกราฟิกรีเสริช (Geophysical Research) ฉบับเดือน พ.ย.นี้

    "การเปลี่ยนแปลงในปริมาณมากนี้เป็นความน่าแปลกใจที่ชวนสยดสยอง เราคาดหวังว่าการดูดซับจะเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เพราะมหาสมุทรนั้นมีมวลมหาศาล" สชัสเตอร์กล่าว อย่างไรก็ดีเธอก็เตือนว่าไม่ควรด่วนสรุปกับผลการศึกษาใหม่นี้เร็วเกินไป ซึ่งเป็นไปได้ว่าผลจากการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อมโยงตามธรรมชาติหรืออาจจะขานรับกับภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร้วนี้ ขณะเดียวกันเราก็ทราบว่าการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นที่จะต้องติดตามการดูดซับก๊าซเรือนกระจกของมหาสมุทรต่อไป
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9500000125672</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  18. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>หยุด! สักนิดก่อนคิดดื่มน้ำสักแก้ว </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 ตุลาคม 2550 12:47 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>เวทีสนทนาระหว่างการประชุมเชิงปฏิบัติการ "ลดโลกร้อน...ด้วยวิถีพอเพียง" ที่มีครูอาจารย์จากโรงเรียนต่างๆ มาร่วมสัมมนาเพื่อนำองค์ความรู้และกระบวนการแก้ปัญหาโลกร้อนไปใช้ในโรงเรียนและชุมชน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ดร.จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ดร.ไชยยศ บุญญากิจ</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>จะดื่มน้ำมะพร้าวให้ชื่นใจก็อย่าลืมนึกถึงด้วยว่ากว่าจะได้มะพร้าวมาแต่ละลูกต้องใช้พลังงานไปแล้วเท่าไหร่ (ภาพจาก www.doa.go.th)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>กว่าจะมาเป็นขวดพลาสติกบรรจุน้ำดื่ม ต้องผ่านกระบวนการต่างๆ ที่ต้องใช้พลังงานมากมาย (ภาพจาก www.lesa.in.th)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>"เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" คำคมที่คุ้นหูใครหลายๆ คน ที่คอยเตือนใจว่า ให้หยุดคิดสักนิดก่อนตัดสินใจทำอะไรลงไป ยิ่งในสภาวะโลกร้อนที่กลายเป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราอยู่ขณะนี้ ทำให้เราต้องยิ่งคิดและตระหนักให้มากขึ้น เพราะแค่ดื่มน้ำ 1 แก้ว ก็ทำให้โลกร้อนขึ้นได้

    งานไหนๆ ก็มักพูดถึงกันแต่เรื่องโลกร้อน และดูเหมือนเป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องแก้ไขด้วยวิธีซับซ้อน โดยที่ไม่ทันนึกว่าที่แท้มันเป็นปัญหาใกล้ตัว ซึ่งวิธีแก้ก็อยู่รอบตัวเรานี่เอง แต่แค่พูดอย่างเดียวคงไม่พอแก้ไขปัญหาแน่ ต้องลงมือทำจริง ทำอย่างต่อเนื่อง และเริ่มตั้งแต่ตอนนี้ จากชีวิตประจำวันของเราเอง

    "ลดโลกร้อน...ด้วยวิถีพอเพียง" โครงการที่ร่วมกันระหว่างสถาบันสิ่งแวดล้อมไทยและบริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) ที่หวังแก้ปัญหาภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากฝีมือมนุษย์ ด้วยการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในสังคมให้เข้าใจธรรมชาติและอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ในแบบพอเพียง โดยมีโรงเรียนเป็นศูนย์กลางของชุมชน ซึ่งได้มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสำหรับตัวแทนครูอาจารย์จากโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการกว่า 30 โรงเรียน ระหว่างวันที่ 17-19 ต.ค. 2550 ณ โรงแรมรอยัล รีเวอร์ กรุงเทพฯ

    ดร.ไชยยศ บุญญากิจ รองประธานสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย กล่าวว่า การปฏิวัติอุตสาหกรรมในอดีตส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน ที่สำคัญคือจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การบริโภคก็เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยในทุกๆด้าน ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมตามมา ซึ่งโลก 1 ใบ นี้เป็นโจทย์ให้พวกเราคิดหาวิธีที่จะรักษาโลกที่สวยงามนี้ไว้ได้นานๆ

    "เราจะดื่มน้ำ 1 แก้ว อย่างไรให้มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด" ดร.ไชยยศ เริ่มด้วยการตั้งคำถาม

    ดร.ไชยยศ ยกตัวอย่าง น้ำจากขวดพลาสติก น้ำที่อยู่ในกระป๋อง หรือน้ำมะพร้าว ซึ่งแต่ละคนอาจมีความชอบไม่เหมือนกัน แต่หากเราพิจารณาตั้งแต่เริ่มต้นว่ามันมาได้อย่างไร ตั้งแต่กระบวนการประดิษฐ์ ขนส่ง การใช้งาน จนถึงการกำจัด ถ้าเราคิดอย่างครบวงจร เราก็จะมีทางเลือกที่ดีกว่า

    "กว่าจะมาเป็นขวดพลาสติกได้ต้องเอาน้ำมันดิบมาจากใต้ทะเลมาผ่านกระบวนการต่างๆ และขึ้นรูปเป็นขวด ส่วนกระป๋องก็ต้องผ่านขั้นตอนการผลิตในโรงงาน หรือแม้แต่น้ำมะพร้าวเองก็ต้องใช้เวลาและมีขั้นตอนในการปลูก ทุกอย่างมีที่มาที่ไป
     
  19. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>
     
  20. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    "กรุงเทพฯ"ติดโผ 21เมืองเสี่ยงหายนะ

    หมุนก่อนโลก

    รวิกานต์ แก้วประสิทธิ์



    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=1 width="20%" align=left border=0><TBODY><TR bgColor=#400040><TD>[​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>สถาบัน Worldwatch Institute เปิดเผยรายชื่อเมืองที่มีความเสี่ยงสูงต่อหายนะต่างๆ ที่เกิดจากโลกร้อน อย่างระดับน้ำทะเลสูง โดยเมืองใหญ่ 21 แห่ง อาทิ กรุงธากา ประเทศบังกลาเทศ, กรุงโตเกียว นครโฮซากา และเมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น, นครนิวยอร์ก และนครลอสแองเจลิส สหรัฐอเมริกา, กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย, กรุงไคโรและเมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์, นครเซี่ยงไฮ้และเมืองเทียนจิน ประเทศจีน, นครมุมไบและนครกัลกัตตา ประเทศอินเดีย รวมทั้งกรุงเทพมหานคร

    ประชากรมากกว่า 1 ใน 10 ของโลก หรือประมาณ 643 ล้านคน อยู่ในพื้นที่ต่ำและเสี่ยงที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน โดย 10 ประเทศที่อยู่ในอันตรายมากที่สุดเรียงลำดับคือ จีน อินเดีย บังกลาเทศ เวียดนาม อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น อียิปต์ สหรัฐ ไทยและฟิลิปปินส์

    ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กล่าวว่า "ถ้ากรุงเทพฯ หัวใจของประเทศจมอยู่ใต้น้ำ เศรษฐกิจ การท่องเที่ยวและทุกๆ อย่างจะหยุดการเคลื่อนไหว ไทยไม่มีเวลาเหลือพอที่จะย้ายเมืองหลวงไปอีก 15-20 ปีข้างหน้า สิ่งที่ทำได้คือป้องกันกรุงเทพฯ แม้ว่าการเริ่มต้นเกือบจะช้าไปแล้ว"

    ปัจจุบันพื้นที่ส่วนใหญ่ในกรุงเทพฯ สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 3 ฟุตถึง 5 ฟุต แต่ในบางพื้นที่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลในอ่าวไทย แต่ละปีน้ำทะเลในอ่าวไทยจะสูงขึ้นประมาณ 1 ใน 10 นิ้ว หรือเท่ากับระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นในพื้นที่ต่างๆ ของโลกโดยเฉลี่ย และการที่กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนดินอ่อน แทนที่จะเป็นพื้นหิน ทำให้ดินทรุดเร็วกว่าที่ควรจะเป็น คือประมาณ 4 นิ้วต่อไป ประชากรที่มาอยู่กันอย่างแออัดรวมทั้งโรงงานที่สูบน้ำบาดาลออกมาใช้ทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย ต่างช่วยเร่งให้ดินทรุดเร็ว

    ด้าน ดร.อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้เชี่ยวชาญด้านสมุทรศาสตร์และปัจจุบันทำงานอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เชื่อว่า ถ้ากรุงเทพฯ อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ผลกระทบจะไม่ร้ายแรงนักและยังมีทางแก้ไข เช่น สำรวจช่องระบายน้ำ สร้างเขื่อนและแก้มลิงในต่างจังหวัด แต่การป้องกันต้องเริ่มทำตั้งแต่เดี๋ยวนี้

    กรุงเทพฯ เคยได้ชื่อว่า "เวนิซตะวันออก" ตั้งขึ้นเมื่อ 225 ปีที่แล้ว บนชายฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา และเมื่อประมาณ 50 ปีที่แล้ว องค์การพัฒนาจากต่างประเทศแนะนำให้กรุงเทพฯ ถมคูคลองเพื่อทำถนนและป้องกันโรคมาลาเรีย ทำให้น้ำไม่สามารถระบายได้อย่างสะดวก จนกรุงเทพฯ เสียฉายา "เวนิซตะวันออก" ไป

    http://www.matichon.co.th/khaosod/v...ionid=TURNeU5nPT0=&day=TWpBd055MHhNQzB5T1E9PQ==
     

แชร์หน้านี้

Loading...