วอยเอเจอร์ 2 เผยระบบสุริยะไม่กลม

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย สังขารไม่เที่ยง, 16 ธันวาคม 2007.

  1. สังขารไม่เที่ยง

    สังขารไม่เที่ยง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    5,943
    ค่าพลัง:
    +24,697
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>วอยเอเจอร์ 2 เผยระบบสุริยะไม่กลม</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>15 ธันวาคม 2550 13:37 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>ภาพแสดง "เทอร์มินัลชอค" ซึ่งวอยเอจเจอร์ 1 ได้ผ่านกำแพงดังกล่าวออกไปแล้วและตามไปด้วยวอยเอจเจอร์ 2 คาดว่าต้องใช้เวลาอีกราวทศวรรษกว่าที่ยานไร้มนุษย์ทั้งสองจะผ่านพ้นระบบสุริยะออกไป</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงขอบระบบสุริยะในหน่วยดาราศาสตร์ (AU) ซึ่งคิดจากระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงโลกนับเป็น 1 หน่วยดาราศาสตร์มีค่าประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร โดยระยะทางที่วอยเอจเจอร์เดินทางออกไปนั้นมีค่าประมาณ 100 เท่าของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์หรือประมาณ 100 หน่วยดาราศาสตร์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>จานรับสัญญาณดีพสเปซเน็ตเวิร์ก</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>นาซา/เอพี - วอยเอเจอร์ 2 ใกล้พ้นขอบสุริยะ เผยการสำรวจครั้งใหม่บ่งชี้ระบบสุริยะไม่กลมสม่ำเสมอ ซึ่งดูเหมือนถูกรบกวนจากสนามแม่เหล็กระหว่างดวงดาว

    การค้นพบครั้งนี้ตามมาหลังจาก "วอยเอเจอร์ 2" (Voyager 2) ยานสำรวจอวกาศไร้มนุษย์อายุ 30 ปีขององค์การบริหารการบินอวกาศสหรัฐฯ (นาซา) ได้ท่องไปในอวกาศและเข้าสู่ขอบของระบบสุริยะเมื่อฤดูร้อนที่ผ่านมาตามหลังยานคู่แฝด "วอยเอเจอร์ 1" (Voyager 1) ซึ่งผ่านบริเวณดังกล่าวไปเมื่อปี 2547

    เอดวาร์ด สโตน (Edward Stone) นักวิทยาศาสตร์ประจำปฏิบัติการวอยเอเจอร์จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนียหรือคาลเทค (California Institute of Technology: Caltech) กล่าวว่านักวิทยาศาสตร์สงสัยกันมานานว่าระบบสุริยะจะโค้งงอและไม่มีหลักฐานแน่ชัดจนกระทั่งได้หลักฐานล่าสุดจากวอยเอจเจอร์ 2 นี้

    วอยเอจเจอร์ 2 ได้ผ่านกำแพงของระบบสุริยะที่เรียกว่า "เทอร์มินัลชอค" (termination shock) ซึ่งห่างจากจุดที่วอยเอเจอร์ 1 ผ่านประมาณ 1.5 พันล้านกิโลเมตร ซึ่งในบริเวณดังกล่าวนั้นอนุภาคที่มีประจุจากดวงอาทิตย์จะลดความเร็วอย่างปัจจุบันทันด่วนเท่าที่อนุภาคเหล่านั้นชนเข้ากับอนุภาคอื่นและสนามแม่เหล็กในก๊าซระหว่างดวงดาว นักวิทยาศาสตร์ยังเชื่อว่าความไม่สม่ำเสมอนี้เกิดจากสนามแม่เหล็กที่ทำมุมกับระนาบของกาแลกซีทางช้างเผือก (Milky Way)

    "สนามแม่เหล็กนี้กำลังรบกวนพื้นผิวทรงกลมอื่นๆ" สโตนกล่าวและแม้ว่าวอยเอเจอร์จะเป็นยานลำที่ 2 ซึ่งผ่านเทอร์มินัลชอค แต่กระนั้นนักวิทยาศาสตร์ก็ยังคงตื่นเต้นกับเหตุการ์ณสำคัญนี้ วอยเอเจอร์ 2 มีอุปกร์ณทำงานที่ต่างจากยานคู่แฝดซึ่งสามารถวัดความเร็วและอุณหภูมิของลมสุริยะได้

    ยานวอยเอเจอร์ใช้พลังงานนิวเคลียร์ในการขับเคลื่อน โดยวอยเอเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปก่อนเมื่อวันที่ 20 ส.ค.2520 จากนั้นวอยเอเจอร์ 1 ถูกส่งตามขึ้นไปเมื่อวันที่ 5 ก.ย.2520 โดยยานลำหลังนั้นทำสถิติเป็นวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นซึ่งเดินทางได้ไกลที่สุดด้วยความเร็วในการเดินทาง 16 กิโลเมตรต่อวินาที ส่วนยานอีกลำก็มีความเร็วใกล้เคียงกัน

    ทั้งนี้ต้องใช้เวลาราวทศวรรษกว่าที่ยานทั้งสองจะผ่านชั้น "เฮลิโอพอส" (heliopause) ซึ่งเป็นด่านสุดท้ายของขอบเขตระบบสุริยะที่เรียกว่า "เอลิโอสเฟียร์" (heliopause) อันจะเป็นการเริ่มต้นการเดินทางระหว่างดวงดาวในห้วงอวกาศและสิ้นสุดการเดินทางในระบบสุริยะของเรา ปัจจุบันยานทั้งสองยังคงส่งสัญญาณกลับมายังโลกซึ่งรับสัญญาณโดยจานดีพสเปซเน็ตเวิร์ก (Deep Space Network) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 70 เมตรของนาซาในโกล์ดสโตน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐฯ


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9500000146882


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. Leonidas 1

    Leonidas 1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กันยายน 2007
    โพสต์:
    157
    ค่าพลัง:
    +188
    จิงเดะ
     
  3. undeath13

    undeath13 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    1,480
    ค่าพลัง:
    +1,830
    ไม่กลมแล้วเปนรูปร่างอะไรอ่า- -
     
  4. kazuma

    kazuma Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    31
    ค่าพลัง:
    +34
    คิดว่าน่าจะเป็นวงรีนะ
     
  5. Kunsu

    Kunsu สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    4
    ค่าพลัง:
    +0
    จริงคับ
     
  6. Sonaz

    Sonaz เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    762
    ค่าพลัง:
    +348
    ในที่สุดก็ไปขอบ ระบบสุริยะ ได้แล้ว ^^
     
  7. Dont"

    Dont" สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    434
    ค่าพลัง:
    +17
    16 กม/วินาที อื้อหือ เร็วนะนี่
     
  8. champion

    champion สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2007
    โพสต์:
    22
    ค่าพลัง:
    +7
    [VDO][ame="http://www.youtube.com/watch?v=YYyUW1HC0HI"]Voyager 2's passage through the termination shock - YouTube[/ame][/VDO]


    แบบนี้มั้ง
     
  9. AFIKLIFI๋

    AFIKLIFI๋ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    869
    ค่าพลัง:
    +78
    อะไรนะ แค่ขอบระบบสุริยะเองเหรอ แล้วนอกระบบสุริยะอีกจะไปได้แค่ไหน
    นี่หากจะให้ออกไปนอกแกแล็กซี่คงนานจนแบบว่ามีลูกจนลูกของลูกตายก็ยังไม่
    พ้นอยู่ดี แล้วนี่จะขอบเอกภพอีก
     
  10. ปกรณ์

    ปกรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    404
    ค่าพลัง:
    +3,761
    16 กม. ต่อ วินาที
    คิดเป็น กม.ต่อนาที เท่ากับ 960 กม. ต่อ นาที
    คิดเป็น กม.ต่อชม. เท่ากับ 57,600 กม. ต่อ ชั่วโมง

    โอ้ว...มายก็อด.....ไม่ใช่เร็วธรรมดานะครับ....เร็วชนิดที่เรียกว่า...ผ่านหน้าเราไปเนี่ยยังไม่รู้เลยว่ามีอะไรผ่านไปหรือเปล่า.....ฟิ้ววววว
     
  11. Pouring

    Pouring สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    18
    ค่าพลัง:
    +0
    คำถาม
    ยานสำรวจอวกาศ จะต้องใช้เวลานานเท่าไหร่ ที่จะไปถึงดาวเคราะห์ นอกระบบสุริยะ ที่ใกล้ที่สุด โดยใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุดสำหรับวันนี้
    ---------------------------------------------
    คำตอบ
    ประมาณ 10,000ปี ดาวเคราะห์นอกระบบ ประมาณ10ปีแสงครึ่ง อาจจะมีดวงที่ใกล้กว่านี้
    แต่ก็เป็นคำตอบที่ไม่แน่นอนนัก อาจจะ50ปี หรือ 200,000 ปี อาจเป็นไปได้ทั้งหมด
    จาก HISTORY ตอน GOLD_HIST - THE UNIVERSE
     
  12. ปกรณ์

    ปกรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    404
    ค่าพลัง:
    +3,761
    ทีแรกผมนึกว่าความเร็วขนาดนั้นมันสุดยอดแล้วนะครับ...พอทราบข้อมูลเรื่องระยะทาง....ความเร็วขนาดนั้น..เด็กๆไปเลยนะครับ...สำหรับอวกาศที่กว้างใหญ่ไพศาล
     
  13. ถิ่นธรรม

    ถิ่นธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    1,828
    ค่าพลัง:
    +5,414
    ระบบสุริยะของเรามีลักษณะเป็นแผ่นจานวงรีเหมือนกาแ็ล็กซี เรามีวงดาวเคราะห์น้อยแถวดาวอังคารกับดาวพฤหัส และอีกวงเลยดาวพลูโตออกไปตรงกลุ่มเมฆออคร์เป็นที่ผลิตดาวหาง
     
  14. devildon32

    devildon32 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    77
    ค่าพลัง:
    +42
    เก่ามากครับ ใครๆ ก็รู้ว่าเป็นวงรี กาแล็กซี่เราก็เป็นวงรีเหมือนจาน วอยยาเจอร์ ผ่านดาวเสาร์เมื่อ2 ปีที่แล้วตอนนี้เข้าสู่ วีนัส จะไปสู่ ไคเปอร์ เบล วงแหวนอุกาบาต
     

แชร์หน้านี้

Loading...