กรรมฐานวัดพลับ, วิธีฝึกกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ /พระราชประวัติสมเด็จพระสังฆราชญานสังวร (สุกไก่เถื่อน)

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย ญ.ผู้หญิง, 26 กุมภาพันธ์ 2009.

  1. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    กรรมฐานวัดพลับ, วิธีฝึกกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ /พระราชประวัติสมเด็จพระสังฆราชญานสังวร (ส

    พอดีได้มีโอกาสเข้าไปกราบท่านพระครูสังฆรักษ์วีระ ฐานวีโร คณะ ๕ ที่ี่วัดราชสิทธาราม ราชวรวิหาร (พลับ) เมื่อหลายวันก่อน ได้ไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์กรรมฐาน เห็นว่าการปฎิบัติกรรมฐานของที่นี่เป็นการปฎิบัติที่สืบต่อเนื่องกันมาตั้งแต่สมัยอดีตกาล จึงได้กราบเรียนขออนุญาตหลวงพ่อว่า จะขอนำบทความมาเผยแพร่ เพื่อเป็นธรรมทานให้กับกัลยาณมิตรทุกท่านที่กำลังหาสถานที่ฝึกกรรมฐานภายในกรุงเทพฯ จะได้หรือไมู่่ ซึ่งทางหลวงพ่อท่านได้กล่าวอนุญาต ฉะนั้น หญิงขออนุูญาตคัดบทคำนำของหนังสือ "คู่มือสมถะ-วิปัสนสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ" มาให้ทุกท่านที่สนใจได้อ่านและรับทราบโดยทั่วกันค่ะ

    <table align="center" border="0" cellpadding="5" cellspacing="5" width="540"><tbody><tr align="center"><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td></tr><tr align="center"><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td></tr><tr align="center"><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td></tr><tr align="center"><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td></tr><tr align="center"><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td><td>[​IMG]</td></tr></tbody></table>

    คำนำ

    พระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับ ข้าพเจ้าได้รวบรวม และเรียบเรียงมาจาก พระคัมภีร์กรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ฝ่ายเถรวาท ซึ่งถือตามคติที่พระอรหันต์พุทธสาวก ที่ได้วางหลักพระธรรมวินัย และธรรมปฎิบัติเป็นแบบแผนไ้ว้เมื่อครั้งตติยสังคายนา และนับถือแพร่หลายในประเทศไทย พม่า ลังกา ลาว และกัมพูชา เป็นของเก่า สืบทอดต่อมาโดยสมเด็จพระสังฆราชญานสังวร (สุก ไก่เถื่อน) วัดราชสิทธาราม แต่ได้มาอธิบาย พระกรรมฐานของเก่าขึ้นใหม่ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย และเพิ่มศรัทธา ให้มีผู้เข้ามาปฎิบัติธรรม ของเก่าดั้งเดิมกันมากขึ้น เป็นการจรรโลงการปฎิบัติธรรมของเก่ามิให้คลาย เสื่อมสลาย สูญสิ้นไป

    สมดังปณิธาน ของสมเด็จสังฆราช ไก่เถื่อน และพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่ได้ทรงกระทำสังคายนาพระกรรมฐานมัชฌิมา ภาคปฎิบัติเอาไว้ ตั้งแต่ปีพระพุทธศักราช ๒๓๖๔

    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับนี้ เป็นของเก่าเล่าเรียนปฎิบัติ สืบต่อกันมาช้านาน แต่ครั้งพุทธกาล โดยพระราหูเถรเจ้า ทรงเป็นต้นสาย สืบต่อมา ถึงครั้งตติยสังคายนา นำเข้ามาสู่ลังกา และนำเข้ามาสู่สุวรรณภูมิ โดยพระโสฌเถรเจ้า พระอุตระเถรเจ้า พระองค์ท่านได้นำพระพุทธศาสนาเข้ามาเผยแพร่ในดินแดนสุวรรณภูมิ พร้อมพระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมาแบบลำดับผ่านสมัยเรื่อยมาจนถึงยุคศรีทวารวดี

    ต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๖๐๑-๖๕๓ พระอุปติสสะเถรเจ้า แห่งลังกาทวีป ได้นำเอาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ซึ่งเป็นพระกรรมฐาน ภาคปฎิบัติ อันทรงจำสืบกันมา นำมาแต่งจารึกลงเป็นอักษร เรียงลำดับ เรียงหมวดหมู่กรรมฐานไว้เป็นภาคปริยัติ เรียกว่า คัมภีร์วิมุตติมรรค เพื่อให้ผู้ปฎิบัติกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับมาแล้ว ได้ศึกษาหาความรู้ภาคปริยัติต่อไป

    ต่อมาประมาณปีพระพุทธศักราช ๙๕๖ พระพุทธโฆสะ ได้นำคัมภีร์วิมุตติมรรคมาแต่งเป็น พระคัมภีร์วิสุทธิมรรค เพื่อแสดงปัญญาให้ได้มาซึ่งคัมภีร์อรรถคาถา ศรีทวารวดี ยุคสุโขทัย ยุคอยุธยา และยุครัตนโกสินทร์

    ในยุครัตนโกสินทร์นี้เอง พระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ได้เรื่มเสื่อมถอยลงเรื่อยๆ ประมาณปีพระพุทธศักราช ๒๓๖๔ พระสงฆ์ สามเณร ปะขาว ชี เริ่มประพฤติปฎิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา ออกนอกลู่ นอกทาง การปฎิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แต่ก่อนมา ไม่ปฎิบัติเป็นขั้น เป็นตอน ทำให้พระพุทธศาสนาภาคปฎิบัติเสื่อมถอยลง

    ต่อมาล้นเกล้ารัชกาลที่ ๒ จึงได้ให้ชุมนุมพระสงฆ์ วิปัสนา-พระกรรมฐานมัชฌิมา มาร่วมกัน ทำสังคายนาพระกรรมฐานมัชฌิมาไว้ และทรงแต่งตั้งพระภิกษุไปเป็นพระอาจารย์บอกพระสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ และสมถะพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ จึงมีมาจนทุกวันนี้ ซึ่งบางสมัยก็เจริญ บางสมัยก็เสื่อม โดยความรู้ไม่ทั่วถึง จึงต้องมีการฟื้นฟู ผดุงรักษา พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ

    ฉะนั้น โบราณจารย์ พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ แต่ปางก่อนทั้งหลาย จึงได้กล่าวเป็นคติพยากรณ์ถึงการรักษาแบบแผน การปฎิบัติพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ไว้เป็นสามคาบว่า

    สัชชี รักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา

    ลัชชี รักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา

    ลัชชี รักขิสสติ ภิกษุลัชชีจักรักษา

    ดังเช่น..... หลวงปู่สมเด็จพระสังฆราชญานสังวรมหารเถระเจ้า (สุก ไก่เถื่อน) ดังนี้ เป็นต้น

    พระครูสังฆรักษ์วีระ ฐานวีโร
    คณะ ๕ วัดราชสิทธาราม

    โทรศัพท์-โทรสาร ๐-๒๔๖๕-๒๕๕๒ , ๐๘๙-๓๑๖-๒๕๕๒



    หมายเหตุโดยผู้พิมพ์ : เนื้อหาบทความจะยาวมาก ผู้พิมพ์พยายามจัดหมวดหมู่ให้อ่านได้ง่าย ขอให้กัลยาณมิตรที่สนใจอ่านทำความเข้าใจไปเรื่อยๆ ตรงไหนที่ไม่เข้าใจขอให้โทรกราบเรียนถามหลวงพ่อท่านโดยตรง หรือ ถ้ามีเวลาและอยากจะเริ่มการฝึกกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ อย่างจริงจัง ขอแนะนำให้เข้าไปที่พิพิธภัณฑ์กรรมฐาน คณะ ๕ วัดราชสิทธาราม (พลับ) ถ.อิสรภาพ ๒๓ วัดอรุณ บางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร จะมีครูบาอาจารย์ทางกรรมฐานเป็นผู้ฝีกสอน ชี้แนะให้ค่ะ

    อานิสงส์จากการพิมพ์เผยแผ่่เป็นธรรมทานในครั้งนี้ ข้าพเจ้าขออนุโมทนาบุญให้กับกัลยาณมิิตร ญาติธรรม สหธรรมมิกทุกท่าน ทุกชาติภพที่มีส่วนร่วมในการช่วยกันดำรงเผยแพร่พระพุทธศาสนา ขอให้ทุกท่านเจริญด้วยสติปัญญาและพาตนของตนถึงที่สุดแห่งทุกข์ คือพระนิพพานเทอญ สาธุ


    ขอบคุณที่มา : หนังสือ คู่มือสมถะ-วิปัสสนากรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    สมเด็จพระสังฆราชญานสังวรมหาเถรเจ้า (สุก ไก่เถื่อน)
    วัดราชสิทธาราม ราขวรวิหาร (พลับ) บางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ

    อ่านรายละเอียด ,ร่วมชมภาพภายในพิพิธภัณฑ์กรรมฐาน พร้อมทั้งเส้นทางไปวัดเพิ่มเิติมได้ืที่
    http://somdechsuk.com/








     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มีนาคม 2009
  2. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ประวัติของสมเด็จพระสังฆราชไ่ก่เถื่อน

    <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" height="396" width="508"><tbody><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    [​IMG]

    มเด็จพระสังฆราช ไก่เถื่อน ทรงมีพระนามเดิมว่า "สุก" ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๐ ค่ำ เดือน ๒ ปีฉลู จุลศักราช ๑๐๙๕ นับวันเดือนปีตามคัมภีร์จันทรคติประสูติ เวลาไก่ขัน (ช่วงไก่กำลังอ้าปาก)

    การนับเวลาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตรงกับวันศุกร์ที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๒๗๖ นับวันเดือนตามคัมภีร์สุุริยะยาตร์ ภายนอกกำแพง นอกคูเมือง ด้านเหนือของกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ณ.ตำบลบ้านข่อย
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr><tr align="left"><td class="line-bottomgray1px-dotted_module" height="22">
    </td></tr></tbody></table>
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    วิชากรรมฐานและคำสอนของหลวงปู่

    ทุกอย่างขอบารมีพระพุทธเจ้า
    วิชากรรมฐานและคำสอนของหลวงปู่


    ๑. วิชาบังคับธาตุขันธ์
    ให้บังคับจากรูปกายทิพย์ ให้เปลี่ยนอริยาบทต่างๆ เช่น ยืนเป็นนั่ง เป็นนอน เป็นเดิน ทำให้กายทิพย์เป็นเด็ก เป็นหนุ่ม เป็นแก่
    ประโยชน์ ยกสมาธิจิตให้สูงขึ้น จิตมีอานุภาพมากขึ้น<o></o>

    ๒. วิชาแยกธาตุขันธ์
    แยกธาตุน้ำก่อนแยกธาตุดินแยกธาตุไฟแยกธาตุลมไม่มีกายมีแต่ธาตุเท่านั้น<o></o>>
    ีีประโยชน์ ใช้ทางมรรค ผล จิตขาดจากการยึดมั่นถือมั่น ในรูปกาย

    <o></o>๓. วิชาคุมจิตคุมธาตุ
    ใช้สมาธิขั้นเอกัคตาจิต คุมจิตตัวเอง คุมธาตุทั้ง ๔ ของตัวเอง
    ประโยชน์ ทำให้มีสติมีสมาธิเข็มแข็ง

    <o></o>
    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาธาตุปีติ ยุคล สุข
    ๑. ธาตุปีติ ยุคล สุข รวมกัน เรียกว่าธาตุธรรมกาย
    ใช้ทำเป็นพื้นฐานแห่งอภิญญา จิตแก่กล้าใช้ตติยฌาน(สุข)ได้เลย
    ถ้ายังไม่แก่กล้าใช้ถึงจตุถะอรูปฌาน ถอยมา ตติยฌาน(สุข)

    <o></o>
    ๒. ธาตุปีติอย่างเดียว เรียกว่า ธาตุปีติวิมุติธรรม
    ทำให้กิเลสทั้งปวงหลุด พิจารณาโดยวิธี บริกัมว่า นิพพาน

    ๓.ธาตุธาตุยุคลหก เรียกว่า ธาตุกายอมตะ
    ประโยชน์
    ใช้ทำจิตให้สงบจากกิเลส พิจารณาว่า สงบ

    <o></o>
    ๔. ธาตุสุขสมาธิเรียกว่าธาตุ สุขนิโรธธัม
    ประโยชน์ ทางสุขอยู่ในความว่าง เอาพระนิพพานเป็นอารมณ์

    ธาตุปีติทั้งห้า (ธาตุเทวดา) ใช้ได้ทุกอย่างแล้วแต่จิต
    ธาตุยุคล(ธาตุพรหม) ใช้ทางเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

    ธาตุสุข(ธาตุพระพุทธเจ้า) ธาตุกายสุข จิตสุข มีธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ

    ทำจิตเป็นสุข สยบกิเลส ธาตุ อุปจารพุทธานุสติ ใช้สยบมารทั้งภายนอก ภายใน

    ใช้สยบภายในภายนอก

    <o></o>
    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาทำฤทธิ์<o></o>
    อธิฐานตั้งธาตุ ห้าดวง ดิน น้ำ ไฟ ลม วิญญาณธาตุ ให้ทำลายธาตุ น้ำ ทำลายธาตุ ไฟ ทำลายธาตุดิน ทำลายธาตุลม เหลือวิญญาณธาตุ ก่อนทำให้อธิฐานเอาฤทธิ์ก่อน<o></o>


    <o>
    </o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กุมภาพันธ์ 2009
  4. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ธาตุภูสิโต

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ธาตุภูสิโต
    (ธาตุยิ่งใหญ่)<o></o>
    ๑. ชุมนุมธาตุว่า เอหิปถวีพรหมา เอหิเตโชอินทรา เอหิวาโยนรายนะ เอหิอาโบอิสสรัง ว่าสามหน ธาตุทั้งสี่มาตั้งที่หทัยประเทศ<o></o>
    ๒. เรียกภูตเข้าตัวธาตุ ว่าสามหน จตุรภูตา เอหิสมาคมะ ธาตุทั้งสี่ ปรากฏที่สะดือ<o></o>
    ๓. เรียกภูตเข้าตัวธาตุ เตโช วาโย อาโบ ปถวี กสินะ นะโมพุทธายุ ภินทะติ นะพุทธัง นะปัจจักขามิ นะสิริ พันธนัง ธาเรมิ ให้ว่าสามหน เป่าเข้าตัวภูตมิออก ธาตุทั้ง ๔ ที่สะดือ มารวมที่หทัย
    <o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>องค์ธรรมเก้า แห่งของ จุดอานาปาน<o></o>
    ๑. ที่สะดือ ตั้งมั่น คือองค์ธรรมพระนาคี ที่ชุมนุมธาตุ<o></o>
    ๒. จะงอยปาก รู้กำเนิดชีวิต คือองค์ธรรมของ พระธรรมวิมุติ<o></o>
    ๓. ขื่อจมูก การดำเนินของชีวิต คือองค์ธรรมของพระธรรมกลาง<o></o>
    ๔. ปลายจมูก ตั้งอยู่ของชีวิต คือองค์ธรรมของ น้ำ<o></o>
    ๕. ระหว่างตา ความรอบรู้ คือองค์ธรรมของ ไฟ<o></o>
    ๖. ระหว่างคิ้ว ความเป็นไปเบื้องหน้า คือองค์ธรรมของ สังฆราชา สงฆ์ผู้ใหญ่<o>></o>
    ๗. กลางกระหม่อม รู้แจ้ง คือองค์ธรรมของ ครูบาอาจารย์ และพระพุทธเจ้า<o></o>
    ๘. ลิ้นไก่ รู้ปัจจุบัน ธรรมชาติ คือองค์ธรรมของ แผ่บารมี<o></o>
    ๙. กลางหทัย สูญรวมความรู้ต่างๆ คือองค์ธรรมของ พระพุทโธ<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาสลายจิต<o></o>
    สยบจิต ด้วยเมตตา –อุเบกขา ประโยชน์คือ<o></o>
    สกดจิต ใช้เอกัคคตาจิต ประโยชน์คือ<o></o>
    ปลดปล่อยจิต นั่งดูจิต ดูกิเลส ผ่านไปเฉย ประโยชนคือ<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาโลกุดร สยบมาร<o></o>
    ๑. ตั้งที่กลางสะดือ ภาวนาว่า สติสัมโพชฌงค์<o></o>
    ๒. ตั้งที่เหนือสะดือ ๒ นิ้ว ภาวนาว่า ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์<o></o>
    ๓. ตั้งที่หทัย ภาวนาว่า วิริยะสัมโพชฌงค์<o></o>
    ๔. ตั้งที่คอกลวง ภาวนาว่า ปีติสัมโพชฌงค์<o></o>
    ๕. ทั้งที่โคตรภูท้ายทอย ภาวนาว่า ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์<o></o>
    ๖. ตั้งที่กลางกระหม่อม ภาวนาว่า สมาธิสัมโพชฌงค์<o></o>
    ๗. ตั้งที่ระหว่างคิ้ว ภาวนาว่า อุเบกขาสัมโพชฌงค์<o></o>
    แล้วเปลี่ยนมา ภาวนาว่า โลกุตตะรัง จิตตัง ฌานัง<o></o>

    ผลประโยชน์ของวิชาโลกุดร สยบมาร<o></o>
    . แผ่ให้ผู้ที่ลำบาก
    ๒. แผ่บารมีให้มาร
    ๓. ทำจิตให้หลุดพ้น
    ๔. บูชาคุณครูบาอาจารย์
    ๕. เมตตา
    ๖. ปราบมาร
    ๗. มีความเพียร
    ๘. ปราบคนทุศีล
    ๙. รักษาโรคกาย โรคจิต ตนเอง และผู้อื่น


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาสำรวมอินทรีย์<o></o>
    ๑. ที่สะดือตั้ง ศีลวิสุทธิ<o></o>
    ๒. ที่เหนือนาภีตั้ง จิตวิสุทธิ<o></o>
    ๓. ที่หทัยตั้ง ทิฏฐิวิสุทธิ<o></o>
    ๔. ที่คอกลวงตั้ง กังขาวิตรวิสุทธิ<o></o>
    ๕. ที่โคตรภูท้ายทอยตั้ง มัคคามัคคญาณวิสุทธิ<o></o>
    ๖. ที่กลางกระหม่อมตั้ง ปฏิปทาญาณทัสนวิสุทธิ<o></o>
    ๗. ที่หว่างคิ้วตั้ง ญาณทัสนวิสุทธิ แล้วว่า โลกุตรัง จิตตัง ฌานัง<o></o>
    ประโยชน์ คล้ายกับ วิชาโลกุตรสยบมาร สำรวมตนเอง ตรวจศีลบริสุทธิ<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาสำหรับผู้มีจิตทิพย์ สำรวจโลกภายนอก<o></o>
    ๑. สะดือตั้ง อุทยัพพยญาณ เกิด ดับ<o></o>
    ๒. เหนือสะดือ ภังคญาณ ดับอย่างเดียว<o></o>
    ๓. หทัย ภยตูปัฏฐานญาณ คือความกลัวทั้งปวง<o></o>
    ๔. คอกลวง อาทีนวญาณ เป็นโทษทั้งปวง<o></o>
    ๕. ท้ายทอย นิพพิทาญาณ เกิดความเบื่อหน่าย<o></o>
    ๖. กลางกระหม่อม มุญจิตุกามยตาญาณ เหมือนอยู่ในแหในชะลอม<o></o>
    ๗. ระหว่างคิ้ว ปฏิสังขารุเปกขาญาณ อยากพ้นทุกข์แล<o></o>
    ๘. ระหว่างตา สังขารุเปกขาญาณ วางเฉยสละเสียให้สิ้น<o></o>
    ๙. ปลายจมูก สัจจานุโลมมิกญาณ หาทางไปนิพพาน<o></o>


    เข้าจักรสุกิตติมา<o></o>
    . สะดือ ตั้งสุกิตติมา
    ใช้ประโยชน์ เจริญแล้วเป็นสมาธิสงบ เกิดปัญญา เรียน

    ๒. เหนือสะดือ ตั้งสุภาจาโร อะไรก็ได้ จำแม่นเกิดปัญญา<o></o>
    ๓. หัวใจ ตั้งสุสีลวา<o></o>
    ๔. คอกลวง ตั้งสุปากโต<o></o>
    ๕. ท้ายทอย ไม่มี<o></o>
    . กลางกระหม่อม ตั้งยสัสสิมา<o></o>
    . ระหว่างคิ้ว ตั้งวสิทธิโร<o></o>
    . ระหว่าตา ตั้งเกสโรวา<o></o>
    . ปลายนาสิก ตั้งอสัมภิโต<o></o>
    เรียนปฏิจสมุปบาท เพื่อสลายความหลง มีชีวิต ก็มีวิญญาณ มีวิญญาณ ก็มีความยึดมั่น


    <o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กุมภาพันธ์ 2009
  5. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ทางไปนิพพาน พิจารณาสังเวศสาม

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ทางไปนิพพาน พิจารณาสังเวศสาม
    . ปลงต่อความตาย
    ๒. หน่ายนามรูปแล้ว เอาชีวิตแลกเอาพระนิพพาน
    ๓. พิจารณาให้เห็นสังขารธรรม รูปธรรม นามธรรม วิบัติไปต่างๆ
    ปลงตามปัญญาพระไตรลักษณะ
    <o></o>

    นั่งจุกหู ใช้ปิดหู ปิดตา ไม่รับกิเลสภายนอก เหมาะสำหรับคนฟุ้งซ่าน
    ทำเอาหูไปนา เอาตาไปไร่ ท่านให้ตั้งสมาธิที่หทัย ให้ตึงก่อน
    แล้วยกสมาธิมาปิดหูขวาก่อน สมาธิตึงดีแล้ว ยกมาที่หทัยตึงดีแล้ว
    ยกสมาธิไปปิดหูซ้าย ตึงดีแล้ว ยกมาที่หทัย ทำปิดตาก็เหมือนกัน
    <o></o>

    การเอาชนะกิเลส
    ให้ตรวจกิเลส ตัวไหนเกิดให้จดจำเอาไว้
    แล้วเอาชนะกิเลสตัวนั้น
    <o></o>

    กิเลสตัวไหนเกิด
    ให้แผ่เมตตาให้กิเลส ให้อภัยกิเลส กิเลสจะไม่มาอีก
    คือมีสตินั้นเอง ให้เจริญความดีงามเหนือกิเลส ให้ยิ่งๆ ขึ้นๆ ไป


    <o></o>


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กุมภาพันธ์ 2009
  6. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ธาตุอัปมัญญา ๔

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ธาตุอัปมัญญา ๔<o></o>

    เมตตา ธาตุน้ำ สีขาว ดับโทสะตัวเอง และดับโทสะผู้อื่นด้วย<o></o>

    กรุณาธาตุไฟ สีชมพู ผู้อื่นเดือดร้อน สีแดง ได้รับการช่วยเหลือแล้ว เป็นสีชมพู ดับความมืดในใจ
    <o></o>
    มุทิตา ธาตุลม สีฟ้า เหลืองนวล ประกายรุ้ง อากาศธาตุ ยินดีผู้อื่น เรามีความชุ่มชื่น<o></o>

    อุเบกขา ธาตุดิน สีขาว สีเขียว ประโยชน์ เป็นปัญญาสูงสุด ปัญญาลุ่มลึก มีความเฉยลึกซึ้ง ดินเขียวมีความรู้มากแต่ ไม่ยอมเผยแผ่ เช่น พระปัจเจกพระพุทธเจ้า ดินขาว เผยแผ่ความรู้ผู้อื่น<o></o>
    ธาตุรวมอัปมัญญา สีประกายพฤษ สีเงิน ใช้ได้ทุกอย่าง
    <o></o>

    . การศึกษามหาสติปัฏฐาน ควรศึกษาตั้งแต่ ๗ ขวบขึ้นไป<o></o>
    - หมวดกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    อานาปานปัพพะ
    ประโยชน์แก้จิตที่วุ่นวาย ฟุ้งซ่าน และวิตก
    <o></o>

    - หมวดอริยาบท ประโยชน์ ทำให้เจริญสมาธิมั่นคงขึ้น<o></o>
    สัมปชัญญะปัพพะ ประโยชน์ทำให้เจริญสมาธิมั่นคงขึ้น<o></o>

    - หมวดปฏิกูลปัพพะ ต้องมีสมาธิ มีฌานแล้ว ประโยชน์ตัดราคะ โทสะ<o></o>

    - หมวดธาตุปัพพะ ต้องมีสมาธิ มีฌานแล้ว ประโยชน์ตัดคลายทางโลกลง <o></o>
    หันมาเรียนทางธรรมมากขึ้น<o></o>

    - หมวดนวสีวถิกาปัพพะ(ป่าช้าเา) มีทวารทั้งเก้า มีองค์ฌาน ประโยชน์ยกจิตจากปุถุชนขึ้นสู่อริยเป็นโสดาบันบุคคล
    <o></o>
    ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ต้องใช้ฌาน ใช้สมาธิ ประโยชน์ แยกเวทนาออกจากกาย<o></o>


    ๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
    ต้องใช้สมาธิ และฌาน ประโยชน์ รู้จิตตัวเอง และผู้อื่น<o></o>


    ๔. ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ใช้สมาธิ และองค์ฌาน ประโยชน์ ฆ่ากิเลสโดยตรง ธรรมาเช่น นิวรณ์ธรรม ๕ ขันธ์ห้า อายตนหก โพชฌงค์เจ็ด หมวดสัจจะ เป็นต้น<o></o>


    หลวงปู่ ท่านสอนว่า
    ทำจิตให้เป็นสุขทุกเวลา นึกถึงความสุขต่างๆ เช่น การทำบุญกุศล การช่วยเหลือผู้อื่น การหลุดพ้น<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG]</label> สอนเดินน้ำ ข้ามห้อย ท่านให้นั่งริมฝั่งแม่น้ำ ให้มองเห็นดิน และเห็นน้ำ ให้เข้าฌาน ทำให้รอบกายเราสว่าง ทำที่นั่งแข็ง ให้นุ่ม ทำที่นั่งนุ่มให้แข้ง ทำอาโบธาตุ ให้เป็นปถวีธาตุ ทำปถวีธาตุ ให้เป็นอาโบธาตุ ทำธาตุน้ำ เป็นธาตุดิน ทำธาตุดินเป็นธาตุน้ำ<o></o>
    ก่อนทำให้นั่งริมฝั่งแม่น้ำ ให้มองเห็น น้ำ และดิน แล้วให้อธิฐานก่อน แล้วจึงเข้าฌานทำให้รอบกายของเราสว่างไสวอย่างมากมาย ทำที่นั่งแข็งให้นุ่ม ทำที่นั่งนุ่มให้แข็ง อธิฐานธาตุดิน ปถวีธาตุ ให้เป็นอาโปธาตุ ธาตุน้ำ อธิฐานอาโปธาตุ ให้เป็นปถวีธาตุ เวลาทำให้นั่งริมฝั่ง มองให้เห็นน้ำ สามารถเดินข้ามน้ำไปได้<o></o>

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] วิ</label>ิชาเหิน ขึ้นเขา ลงเขา ทำที่ไกล ให้เหมือนที่ใกล้ ให้เข้าสุขสัญญา ลหุสัญญา แล้วอธิฐาน ทำที่ไกล ให้เป็นที่ใกล้ <o></o>
    ทำได้แล้ว ให้ทำใจให้สงบ ไม่หลงติดในการเหิน ระงับความตื่นเต้น ดีใจ ให้ทำเป็นเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น<o></o>
    <label for="rb_iconid_2">
    [​IMG]</label> สอนการดำเนินชีวิต อะไรควรทำก่อนทำหลัง สำรวจจิตตัวเอง ลำดับจิตตัวเอง ลำดับการงานที่จะต้องทำ ลำดับวิชาอะไรที่ ควรเรียนก่อน เรียนหลัง ทำประโยชน์ให้แก่สังคมให้มาก<o></o>
    ให้ยอมรับสภาพความเป็นจริง ยอมรับสภาพการเปลี่ยนแปลง ของตัวเอง ที่บรรลุมรรคผล เจอครูบาอาจารย์มากมาย อย่าหลงตัว ประคองจิตตัวเอง ทำความเป็นอยู่ให้ปรกติ ทำให้มาก<o></o>
    การอยู่ในความว่าง(สูญญตา) ดีพักผ่อน แต่วิปัสสนาจะไม่ก้าวหน้า ให้ถอยกลับมา สุข แล้ว เจริญวิปัสสนาต่อ จึงจะก้าวหน้า<o></o>



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กุมภาพันธ์ 2009
  7. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    วิชาสลายจิต สลายกาย

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาสลายจิต สลายกาย
    ประโยชน์หยุดความวุ่นวายภายนอก (สลายจากกายทิพย์ หายตัว)<o></o>
    ท่านให้สลายธาตุน้ำก่อน สลายแล้วคอจะแห้ง ต่อมาให้สลายธาตุไฟ ธาตุไฟสลายแล้ว จะรู้สึกหนาว ต่อมาจึงสลายธาตุดิน สลายธาตุดินแล้ว กายจะเบา ต่อมาสลายวิญญาณธาตุ สลายแล้ว จะดับความยึดมั่น ไม่มีร่างกาย ว่างแคว้งคว้าง<o></o>
    ธาตุลม ท่านห้ามสลาย จิตจะอยู่ที่ถุงลม ถ้าสลายธาตุลมต้องมีจิตกล้าแข็ง และกลับมาได้ เพราะสังขารกายเนื้อยังค้างคาอยู่<o></o>

    ปู่สอน จิตกับอารมณ์อย่าแยกกัน จิตไม่ไปพร้อมกับอารมณ์ กิเลสแซก จิตไปพร้อม กับอารมณ์ กิเลสไม่แซก เรียกว่ามีสติ ประโยชน์ ใช้คุมตัวเอง ดูแลตัวเอง
    <o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาตัดขันธ์<o></o>
    ใช้เมื่อมีเวทนา และข่มทุกขเวทนาได้ ต้องมีจิตสมาธิกล้าแข็ง ลืมทุกสิ่ง ทุกอย่างได้ ไม่เอาร่างกายแล้ว ตัดจากกายเนื้อ คล้ายวิธีสลายจิต ให้ตัดธาตุน้ำก่อน ตัดธาตุไฟ ตัดธาตุดิน ตัดวิญญาณธาตุ ดับความยึดมั่น ไม่มีร่างกาย ตัดธาตุลมสุดท้ายก่อนตาย

    <o></o>

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาผ่อนคลายจิต
    เมื่อจิตกำลังสับสน วุ่นวาย ให้ถอยจิต หายใจลึกๆ พุ้งจิตไปที่พระพุทธเจ้า หรือพระพุทธรูป ดูนิ่ง เฉยๆ จะหายวุ่นวายใจเอง

    <o></o>

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาสยบทุกขเวทนา
    ยอมรับทุกขเวทนา ถึงถึงกรรมของตัวเอง เช่น เรามีกรรมเป็นของตัวเอง เรามีกรรมเป็นกำเนิด เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย และระลึกถึงพระธรรมของพระพุทธเจ้า

    <o></o>

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาโลกุตร ๒๐
    ประโยชน์ เป็นที่เกิดแห่งปัญญา เป็นที่สิ้นสุดแห่งสังสารวัฏ เป็นที่บรรลุธรรม ปลงอาบัติ อธิฐานได้ต่างๆ<o></o>
    กิเลสจรมา ให้ใช้จิตดูกิเลสเฉยๆ<o></o>

    ธาตุโลกุดร
    ดวงแก้วมนินดำ ธาตุดิน สีเขียว แก้วไพฑูรณ์ ธาตุน้ำ เหลือง แก้วมณีโชติ ธาตุไฟ สีขาว แก้วบุญนาก สีขาว ธาตุน้ำ แก้วธัมราช เหลือง อากาศธาตุ แก้วมโนหอรจินดา ชมพู จิตธาตุ1<o></o>

    สลายอายตนะหก<o></o>
    - ตา ธาตุน้ำ เห็นรูปดีก็ดี เห็นรูปทรามก็ตาม ให้ทำจิตเหมือนสายน้ำไหล<o></o>
    - หู ธาตุลม ฟังเสียงที่ดีก็ตาม เสียงที่ชั่วก็ตาม ให้ทำจิตเหมือนลม พัดผ่านไป<o></o>
    - จมูก ธาตุดิน ได้กลิ่น หอมก็ตาม ได้กลิ่นเหม็นก็ตาม ให้ทำจิตเหมือนดินสลายไป<o></o>
    - ลิ้น ธาตุน้ำ ได้ลิ้มรสดีก็ตาม ได้ลิ้มรสไม่ดีก็ตาม ให้ทำจิตเหมือนสายน้ำไหลไป<o></o>
    - กาย ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ สัมผัสดีก็ตาม สัมผัสชั่วก็ตาม ให้ทำจิตสลายธาตุทั้ง ๔<o></o>
    - มโน(ใจ) อากาศธาตุ รู้ธรรมดีก็ดี ธรรมชั่วก็ตาม ให้ทำจิตเหมือนอากาศสลายหายไป<o></o>

    ใช้น้ำสิโณทก
    <o></o>

    ให้เอาขันน้ำ ตั้งตรงหน้า เอานวหอระคุณ คือ อิติปิโสฯลฯ ภควาติ
    ตั้งที่ ๙ (ปลายจมูก) ก่อน
    แล้วมาที่ ๑ (สะดือ)
    มาที่ ๒ (เหนือสะดือ)
    มาที่ ๓ (หทัย)
    แล้วไปที่ ๕ (ท้ายทอย)
    มาที่ ๖ (กลางกระหม่อม)
    แล้วมาที่ ๗ (ระหว่างคิ้ว)
    ถึงที่ ๘ (ระหว่างตา) เอาตรงนั้น แล้วเพ่งลงที่น้ำสิโณทก
    ให้ทำ ๒-๓ ที่<o></o>
    ถ้าจะใช้ สิ่งใดก็ได้ทุกอัน ตามแต่อธิฐาน ใช้ทางเมตตามหานิยม
    ใช้ปัดรังควาน<o></o>



     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กุมภาพันธ์ 2009
  8. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    วิชาดูแลจิต ดูแลกาย

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ระวังจิต ระวังกาย<o></o>
    วิชาดูแลจิต ดูแลกาย ให้ทำจิตเป็นสมาธิ ถึงองค์ฌานก็ได้ แล้วปล่อยจิตออกไป กำหนดจิตไปที่หทัย ให้หายใจเบาๆ ให้ดูนิมิต เป็นวงกลมสีขาว จะสว่างขึ้น สว่างขึ้น ที่หทัย แล้วค่อยๆ เลื่อนวงกลมสีขาว ที่หทัยลงมาที่สะดือ เป็นจุดที่สอง ให้ค่อยๆ เคลื่อน วงกลมสีขาวที่หทัย มาช้าๆ ไม่ต้องรีบร้อน ให้มีสติรู้ได้ทั้งนิมิตดวงกลมสีขาว และลมหายใจ เมื่อนิมิตวงกลมสีขาวนั้น มาถึงที่สะดือแล้ว ให้ตั้งสมาธิอยู่ที่นาภี (สะดือ) ประมาณคำหมากหนึ่ง (สอง-สามนาที) พอจิตสงบนิ่ง เข้าที่ดีแล้ว ก็ให้ตั้งสัจจะอธิฐานในใจว่า…….
    <o></o>ข้าพเจ้า ขอเรียนพระกัมมัฏฐาน วิชาดูแลจิต ดูแลกาย ขอพระยามารทั้งหลาย อย่าได้มารบกวนข้าพเจ้าในตอนนี้เลย<o></o>

    อธิษฐานเสร็จ แล้วให้ปล่อยจิตให้ว่าง ทำใจให้สบาย ให้โปร่ง ให้โล่ง หายใจเข้า
    -ออก ลึกๆ ช้าๆ วิชานี้มีจิตเป็นใหญ่ มีจิตเป็นหัวหน้า มีจิตเป็นผู้นำ
    เมื่อจิตสงบแล้ว สติจะตามรู้ได้เท่าทันอารมณ์ วิชาจะอยู่ได้ เฉพาะผู้ที่ปรารถนาที่จะเรียนเท่านั้น หากผู้ไม่ปรารถนาจะเรียน วิชาก็จะไม่อยู่ด้วย วิชานี้ต้องมีจิต ตั้งมั่น แน่วแน่ตัวรู้ ตัวรับรู้ ต้องรู้ให้จริง ไม่มีอุปาทาน ดูแลลมหายใจ ว่าเย็น หรือร้อน ลมหายใจถี่ หรือห่าง เบา หรือแรง จิตต้องรู้ได้ละเอียด ประณีต ลึกซึ้ง <o></o>

    การดูลมหายใจ เข้า-ออกนี้มีพระสาวกของพระพุทธเจ้าเป็นจำนวนมาก ที่เรียนวิชาดูลมหายใจของตัวเอง รู้กิเลส รู้ธรรม และบรรลุธรรม ไปมากมายแล้ว<o></o>
    ดูจิต แบ่งออกเป็นสองฝ่าย จิตฝ่ายดี จิตฝ่ายชั่ว กรรมฝ่ายดำส่งผล จิตก็ตกอยู่ในอำนาจกรรมนั้น กรรมฝ่ายขาวส่งผล จิตก็ตกอยู่ในอำนาจกรรมนั้น ถ้าจิตฝ่ายชั่วเริ่มมีอำนาจ เกิดขึ้นทีละดวง ทีละดวง จิตก็จะบังคับให้กายลุกขึ้นทำความชั่วต่างๆ จิตจะบังคับให้กายแข็งกระด้าง วจีแข็งกระด้างขณะนั้นอาสวะทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น โลภะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ รุมอยู่ในตัวและจิตทั้งสิ้น กรรมฝ่ายชั่วเกิดขึ้นแล้วก็ไม่เที่ยงเหมือนกัน เขาจะค่อยดับไปทีละดวง ทีละดวง <o></o>
    กรรมฝ่ายดีก็จะค่อยเกิดขึ้น ทีละดวง ทีละดวง ก็จะรู้สึกตัวว่าทำอะไรลงไป ทุกอย่างเกิดขึ้นแล้ว เขาจะตั้งอยู่ แล้วจะค่อยเปลี่ยนแปลงไป เขาเป็นอย่างนี้เป็นธรรมดา ต้องมีสติอยู่ตลอดเวลา ถ้าจิตดี กายก็จะดีด้วย ลมหายใจก็จะเย็น สม่ำเสมอ จิตก็จะว่างจากอาสวะกิเลสมารบกวน จิตฝ่ายดี คิดทำดี ทำบุญทำทาน
    <o></o>

    ดูลมหายใจ เมื่อมีอารมณ์ภายนอกมากระทบ ก็จะเฉยๆ ไม่รู้สึกอะไร รู้สึกแปลกใจต่างหาก ลมหายใจเย็นสงบ จิตก็สงบด้วย จิตก็จะไม่หวั่นไหวไปตามอารมณ์ใดๆ ดูอะไร รู้เห็นอะไร จิตก็จะรู้จักรูปนาม เกิด-ดับ นั้นได้ จะไม่รู้สึกผูกพันเลย ไม่รู้สึกคล้อยตามด้วย <o></o>
    ถ้าจะเรียนวิชานี้ ต้องเอาจริง เอาจังกับจิต ต้องรู้ทันอารมณ์ กาย เวทนา จิต ธรรม วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา กิเลสตัวใดมาก็รู้ ทุกสิ่ง ทุกอย่างในโลกล้วนไม่แน่นอน อย่าไปติดอะไรแม้แต่ความสุข ทุกอย่างป็นสิ่งสมมุติขึ้นมา อย่าทำไปตามอารมณ์ ถ้าทำตามอารมณ์ จะโดนหลอกลวง ถ้ารู้ทัน รู้ความจริงแล้ว จะไม่สะเทือน
    <o></o>

    การระวังจิต ระวังกาย กายเป็นบ่าว ให้ระวังจิต จิตดีอย่างเดียว จิตสบายอย่างเดียว กายก็ดี กายก็สบาย<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาหนีมนต์<o></o>
    ให้ฝึกให้เห็นอักขระสามตัว ภาวนาว่า นะเยปะรัง ยุตเต ให้เห็นอักขระ อัง(ขอม) อยู่ระหว่างคิ้ว อักขระ อิง อยู่กลางกระหม่อม อักขระ อิ อยู่ท้ายทอย<o></o>
    เอา อัง มาติดกับ อิง อยู่หน่อยหนึ่ง จึงนำอักขระสองตัว(อัง อิง) ไปสู่ อิ แล้วจึงยกแต่ สูญเปล่า(สมาธิเปล่า ไม่เอาอักขระมา) คือสมาธิมาตั้งที่ ๗ (ระหว่างคิ้ว) อย่าเอาอักขระสามตัวมาเลย ถ้าสัตรูอยู่หน้าไว้หน้า ถ้าอยู่หลังเอาไว้หลัง อยู่ขวาไว้ขวา อยู่ซ้ายไว้ซ้าย <o></o>
    ประโยชน์ กันปีศาจ กันคุณไสย กันมารเข้าสิง
    <o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>อุเบกขา<o></o>
    อหัง กัมมัสโก โหมิ เรามีกรรมเป็นของตน สุขก็เป็นของตัว ทุกข์ก็เป็นของตัว (เวทนา ทั้งหมด)ให้อยู่กลางๆ เป็นอุเบกขา <o></o>

    อหัง กัมทายาโท โหมิ เรามีกรรมเป็นมรดก มรกดกรรมคือ กรรมดี กรรมชั่ว ให้ทำจิตเป็นอุเบกขา
    <o></o>

    อหัง กัมโยนิ โหมิ เรามีกรรมเป็นกำเนิด กรรมผูกมัดเรามาตั้งแต่ ปฏิสนธิ พร้อมเรา มีรูปสวยงาม จากกรรมดี รูปไม่สวย กรรมไม่ดี ให้ทำจิตเป็นอุเบกขา<o></o>

    อหัง กัมพันธู โหมิ เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ เผ่าพันธุ์ของกรรมคือ กิเลส กรรม วิปาก ให้ทำจิตอุเบกขา<o></o>


    อหัง กัมปฏิสรโณ โหมิ เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กาย อาศัยจิต รูปอาศัย ธาตุ และจิตด้วย ทำอุเบกขา
    <o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label> แก้ให้ขาดรสราคะ
    จะให้ขาดรส ราคะ ปฏิสนธิ อย่าให้กายชีวิตเนื่องกัน ยกชีวิตให้พ้นกาย คือยกจากที่ ๒ (สะดือ)ไปสู่ที่ ๓ (หทัย) ไม่ถึงที่ ๓ ก็ได้ พอพ้นที่ ๒
    <o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>เข้าธาตุทั้ง ๔
    แก้สารพัดโรคทั้งปวง ได้สิ้น โรคปุราณ ก็แก้ได้ แต่ช้าหน่อย ไม่ต้องภาวนา ให้อธิฐาน ให้แผ่ซ่าน เข้าไปทางสายเลือด ทุกอนุของกาย<o></o>

    อาราธนาว่า ข้าขอเข้าธาตุทั้ง ๔ อินทรีย์ทั้ง ๕ โพชฌงค์ทั้ง ๗ ขอให้ระงับจิต ระงับกายให้สบาย ข้าจะขอเข้าเป็นนิคคหะที่ ๑ ข้าจะขอเข้าเป็นปัคคาหะที่ ๑<o></o>
    อันนิคคหะ คือข่มลงไปในที่ ๑ (สะดือ) อันปักคาหะ คือ ยกจากที่ ๑(สะดือ) มาที่ ๒ (เหนือสะดือ) มาที่ ๓ (หทัย) ทำไปจนกว่าจะได้สุข<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label> แก้ปวดศรีษะ เส้นกำเริบ ธาตุวิปริต
    ให้ตั้งแต่ที่ ๙ (ปลายจมูก)มาที่ ๑ (สะดือ) แล้วอธิฐานว่า <o></o>

    ข้าขอเข้าธาตุทั้ง ๔ อินทรีทั้ง ๕ โพชฌงค์ทั้ง ๗ อธิฐานแล้วจึงมาที่ ๒ (เหนือสะดือสองนิ้ว) จึงชุมนุม ธาตุทั้ง ๔ อินทรีทั้ง ๕ โพชฌงค์ทั้ง ๗ ในที่ ๒(เหนือสะดือ) นั้น แล้วแบ่งสมาธิออกตามฐานเท้าทั้งสองข้าง แล้วยกแต่ที่ ๒(เหนือสะดือ) ไปถึงที่ ๓ (หทัย) ถึงหทัยแล้ว ขอจะขอสัมปยุตธาตุทั้ง ๔ โพชฌงค์ทั้ง ๗ ในที่ ๓ นั้นเล่า แล้วจึงแบ่งสมาธิออกไปตามเท้าทั้งสองข้าง แล้วยกสมาธิไปสู่ที่ ๔(คอกลวง) ให้เป็นสุขหน่อยหนึ่งแล้วจึงยกไป ๙(ปลายจมูก) ๘ ระหว่างตา ๗ ระหว่างคิ้ว ๖ (กลางกระหม่อม) ๕ (ท้ายทอย) มาที่ ๔(คอกลวง) แบ่งสมาธิออกไปมือสองข้าง<o></o>
    ถ้าโรคไม่หนัก อย่าเข้าธาตุ อย่าชุมนุมธาตุ อย่าแบ่งธาตุ<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label> องค์ธรรมจุด นวหอรคุณ ๙ จุด<o></o>
    ๑. สะดือ องค์ธรรมคือ พระนาคี<o></o>
    ๒. เหนือสะดือ องค์ธรรมคือ ธาตุดิน<o></o>
    ๓. หทัย องค์ธรรมคือ พระพุทโธ<o></o>
    ๔. สุดคอกลวง องค์ธรรมคือ พระธรรมมา<o></o>
    ๕. โคตรภูท้ายทอย องค์ธรรมคือ ธาตุลม<o></o>
    ๖. กลางกระหม่อม องค์ธรรมคือ พระพุทธเจ้า ครูบาอาจารย์<o></o>
    ๗. ระหว่างคิ้ว องค์ธรรมคือ สงฆ์ผู้เป็นใหญ่<o></o>
    ๘. ระหว่างตา องค์ธรรมคือ ธาตุไฟ<o></o>
    ๙. ปลายจมูก องค์ธรรม ธาตุน้ำ


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>สัมปยุตธาตุ
    . สะดือ
    ๒. เหนือสะดือ
    ๓. หทัย
    ๔. อุนาโลม<o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>สัมปยุตปฤกษ์
    กลางหทัย เลื่อนมากลางอก

    - คว่ำจักร
    แผ่บารมีธรรมจักรลงล่าง จุดอุณาโลม จุคไหล่ขวา จุคไหล่ซ้าย จุดเหนือสะดือ ทำสมาธิดู สี่ทิศ ลงล่างแผ่บารมี สู่นรกภูมิ<o></o>

    - หงายจักร แผ่บารมีธรรมจักร ขึ้นเบื้องบน จุดสะดือ จุดเหนือสะดือ จุดหทัย จุดอุณาโลม สงเคราะห์ผู้อื่น แผ่ให้ผู้มีคุณ ครูบาอาจารย์ พบพระพุทธเจ้า พบสหายธรรม แผ่เมตตา<o></o>
    - จันทกลา ลมซ้าย ยับยั้งมาร เวลาลมซ้ายออก
    - สุริยกลา
    แผ่บารมีให้มาร ปราบมาร<o></o>

    - ชักคลองจักษุ ไม้หวั่นไหว ในกิเลสภายนอกที่มายั่ว ตามีธาตุน้ำมาก ตาเห็นรูปที่สวย รูปที่ชอบใจ ทำให้ระงับเหมือนสายน้ำไหลไป ตาเห็นรูปที่ชั่ว รูปที่ไม่ชอบใจ ทำให้ระงับเหมือนสายน้ำไหลไป

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กุมภาพันธ์ 2009
  9. วรุณบุตร

    วรุณบุตร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    926
    ค่าพลัง:
    +1,018
    โมทนาบุญกันคุณหญิงด้วยครับ ผู้หญิงคนนี้ไม่เคยว่างเว้นจากการทำบุญเลย
     
  10. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    วิชาดูแลจิต ดูแลกาย (ต่อ)

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาดูแลจิต ดูแลกาย<o></o>

    ให้ทำจิตให้ว่าง แล้ววางไว้ที่หทัย ดูที่หทัย แล้วเลื่อนลงมาที่ กลางสะดือ แล้วอธิฐานว่า ข้าพเจ้าจะขอเรียนพระกัมมัฏฐาน ดูแลจิต ดูแลกาย ขอมารทั้งหลาย อย่ามารบกวน ข้าพเจ้าในเวลานี้เลย แล้วนั่งดูความว่างที่สะดือเฉย ต่อมาให้พิจารณาธรรม แล้วประเทืองปัญญา
    <o></o>

    วิชาระวัง จิตระวัง กาย กายเป็นบ่าว ของจิต ถ้าจิตใจสบาย กายก็สบาย จิตเป็นสุข กายก็เป็นสุข ไม่นอนกระสับกระส่าย

    <o></o>

    เปรียบเทียบ <o></o>
    วิชาสลายจิต-สลายกาย ===> วิชาตัดขันธ์ ===> วิชาอิทธิฤทธิ์
    <o></o>

    หนีความวุ่นวายโลกภายนอก หนีทุกข์เวทนา จากกายเนื้อ ทำฤทธิ์ได้ต่างๆ<o></o>
    ให้ตัดจากกายทิพย์ ต้องมีสมาธิจิตกล้าแข็ง ลืมทุกสิ่งฯ มีมโนมฤทธิ์ เป็นต้น<o></o>

    สลายธาตุน้ำก่อน (คอแห้ง) ===> สลายธาตุน้ำ ===> สลายธาตุน้ำ<o></o>
    สลายธาตุไฟ (หนาว) ===> สลายธาตุไฟ ===> สลายธาตุไฟ<o></o>
    สลายธาตุดิน (หนักเบา) ===> สลายธาตุดิน ===>สลายธาตุดิน<o></o>
    สลายวิญญาณธาตุ ===> สลายวิญญาณธาต===>ห้ามสลายวิญญาณธาตุ<o></o>
    (ดับความยึดมั่น ลืมทุกสิ่งทุกอย่างได้ วิญญาณธาตุรู้แจ้งอิทธิ ไม่มีร่างกาย ไม่เอาร่างกาย ทางทวารทั้งหก) <o></o>
    ห้ามสลายธาตุลม (จิตอยู่ถุงลม) ===> สลายธาตุลมสุดท้าย ก่อนตาย ===> สลายธาตุลม-อาธาตุ
    (เพราะสังขารยังมีอยู่ ถ้าขันธ์ยังอยู่กลับมาได้<o></o>)


     
  11. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    วิชาธาตุดวงแก้ว ๔ ดวง

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>วิชาธาตุดวงแก้ว ๔ ดวง
    นะ แก้วมณีโชติ อาโบธาตุ น้ำ (หัว)<o></o>

    มะ แก้วไพฑูรณ์ เตโชธาตุ ไฟ (ใจ) <o></o>


    อะ แก้ววิเชียร วาโยธาตุ ลม (หลัง)<o></o>


    อุ แก้วปัทมราช ปถวีธาตุ ดิน (ปาก)<o></o>


    เสกต่อแตนใช้ใบมะขาม หรือใบไม้อะไรก็ได้ เป็นใบไม้ใต้เกราะกำบัง ใบบนต้นที่ถูกกำบัง เสกด้วย มะ ธาตุไฟ ตามด้วยธาตุลม คือ มะ อะ อุ นะ เป็นต่อแตนแล<o></o>



    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ทำน้ำมนต์ใช้ได้ทุกอย่าง
    ให้ทำตอนยามสาม ยามสี่ สงัดนักแล เสกแผ่ด้วยอำนาจแห่งเมตตา ใช้ได้ทุกอย่าง ทำลายทุกอย่าง ไม่ว่าเป็นความ สะเดาะเคราะห์ ผีเข้า เป็นไข้ เป็นต้น รดน้ำมนต์เย็นด้วยเมตตา อธิฐาน ขอให้น้ำที่เย็น เย็นเข้าถึงจิตใจผู้รับ เย็นขั้วหัวใจแล
    <o></o>
    เป่าให้เย็นทั่วสารพางค์กาย และลมออกทวารแล
    ต้องประกอบด้วยองค์ ๓ ประการ
    . จิตผู้เป่าต้องบริสุทธิ์
    ๒.จิตผู้รับต้องดี
    ๓.พระคาถาดี
    เวลาเป่าให้อธิฐานถ้าคนผู้นี้มีบุญ หรือมีกุศลส่งแล้ว ขอให้รับการเป่าคาถานี้ได้ หรือขอให้เกิดเวลาจิตเขารับได้ จะมีอาการขนพองสยองเกล้าฯ<o></o>



    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>การใช้อักขระ ๒๗ ตัว<o></o>
    . นะ ใช้เรียกฝน ใช้ทางเมตตา นอ นี้ใน ว่าหามิได้ รูปร่างบ่เป็น<o></o>
    . โม มหาละลวย นิยมชมชอบ คนนิยม โม ว่าอ่อน บ่ห่อนแข็งเข็ญ <o></o>
    . พุท พระปัตติมาร ตรัสได้ทุกตัว ทำได้ทุกอย่าง , ตรัสรู้เห็นประเสริฐนักหนา<o></o>
    . ท หนักให้เบา เบาจิต เบากาย<o></o>
    . ยะ ตัววิญญาณ การเคลื่อนที่ไปของธาตุ ใช้ลงคนที่ซึมเศร้า คนง่วงหงาวหาวนอน คุยแล้วไม่สนใจลงได้ คนสนใจจ้องเขม็งไม่ต้องลง<o></o>
    . ทา ตรีเพช ปลุกเสกให้มั่น ทอ ทา ทอ ทม สี่ตัวอุดม ทรงเป็นอัตตรา<o></o>
    . สิ เพ็ชน่าทั่ง ตังลง ตัวคุม อักขระ สิ ว่าแข็ง เรี่ยวแรงตัวกล้า ว่ามั่นคง<o></o>
    . ทอ หนูหมารสะดม เมตตามหานิยม เหนียว ลงเครื่องยนต์ ออ ว่าเห็นตรง บ่ได้มืดมัว<o></o>
    . อะ ตัวงาม ตัวดีมีสิ่งไม่ดี เขียนอักขระ อะ ลงไป เป็นสิ่งดีหมด<o></o>
    ๑๐. อา พระยาราชสีห์ ลงคุมครองผู้ใหญ่ ข้าราชการดี อา ว่าหนา ว่าเล่น มาไม่ถึงอยู่ข้างนอก<o></o>
    ๑๑. อิ – มิ พระยาราช อักขระ ตัวกัน ของไม่ดี กันของชั่วร้าย<o></o>
    ( ท.ทา ท.ทม ) ลงเรื่องเกี่ยวกับการเจรจา การทูต ทนาย ทางความ<o></o>
    ๑๒. อี อิ อี เรี่ยวแรงตัวกล้า <o></o>
    ๑๓. อึ อื คือไว้ภายในกายา คุ้มครอง ป้องกัน อันตรายภายในภายนอก ลงให้ทหาร<o></o>
    ๑๔. อื <o></o>
    ๑๕. อุ อู หาที่เสมอไม่ หาที่สุดมิได้ ถือไว้ให้แน่ จักได้กุศล ถ้าจักภาวนายิ่งกว่าฝูงคน ลงค้าขาย ใช้เรียกอะไร เรียกคนก็ได้ เพิ่มพูลขึ้น ต้องการอะไรมากๆ<o></o>
    ๑๖. อู<o></o>
    ๑๗. ฤ ตัวมา ตัวโอม ตัวเป่า อยู่ในใส้<o></o>
    ๑๘. ฤา ตัวไป ลงท้าย ว่าตรงมา<o></o>
    ๑๙. ฦ ใช้ได้ไม่เปล่า ใช้เมตตา ว่าได้<o></o>
    ๒๐. ฦา ไปทั้วจักรวาลย์ กันภัย ฦ ฦา ว่ารู้ ลือไปทั่วทั้ง ๘ ทิศสา<o></o>
    ๒๑. เอ แอ กุมภัณลับหอก ตัดรอนสิ่งไม่ดีให้ขาด<o></o>
    ๒๒. แอ ตัวงดแล<o></o>
    ๒๓. ไอ มีตะบะ<o></o>
    ๒๔. ใอ พระยาราชสีห์ ใอ ไอ กล่าวเรื่องราว กล่าวกลอน ว่ากลัว ว่าอย่า<o></o>
    ๒๕. โอ โหร อง บันลือ หัวทุกทีว่ามีอารมณ์ ควบคุมอารมณ์<o></o>
    ๒๖. เอา อำ ให้งดไว้ก่อนพิจารณาให่แน่<o></o>
    ๒๗. อัง อะ ปราบศัตรู ไม่มีคู่สูู้่ ๔ ทวีป ปราบศัตรูในล้ำโลกา <o></o>



    <o></o>
     
  12. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    พุทธานุสติ

    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>พุทธานุสสติ
    <o></o>
    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ปีติ ๕
    ทำธาตุ ยุคล ๖ ทำธาตุ สุขสมาธิธาตุ พุทธานุสติ ธรรมมานุสสติ สังหานุสสติ ภาวนาเป็นอนุโลมปฏิโลม ใช้นิ้วเรียกสติกลับ
    <o></o>

    ตั้งจุดอานาปาน เป็นอิทธิฤทธิ์
    <o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑.<!--[endif]--> สะดือ ตั้งเป็นตุณหิ แต่สมาธิเปล่า ๑ บาท ๕ นาที แต่ละจุด ตั้งสมาธิเปล่า ๕ นาที บริกรรม ๕ นาที ทุกๆที่<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๒.<!--[endif]--> เหนือสะดือ ๒ นิ้ว อิติปิโสภะคะวา<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๓.<!--[endif]--> หทัยประเทศ นะ โม พุท ธา ยะ เรียงแถวชั้นนอกนี้จะถอย บริกรรมออกมาได้บ้าง ไปไว้หน้าบ้าง<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๔.<!--[endif]--> สุดคอกลวง นะจังงัง โมจังงังพุทละลาย ธาคลาย ยะห่ามิตาย หายบัดเดี่ยวใจ แก้อับจน <o></o><!--[if !supportLists]-->๑๐<!--[endif]--> ท้ายทอยยะทาพุทโมนะ มหาละลวย<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๕. <!--[endif]-->โคตรภูมิท้ายทอย นะวาคะภะโสปิติอิ อิทาเรนะ โอนะทา นะปิดตา โม มิเห็น<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๖. <!--[endif]-->อัชดากาษบนกระหม่อม นะโมพุทธายะ นะจังงัง โมจังงัง พุท สิทธิกำบัง ลับอยู่ ยะหายไป (๖ มา ๗ หว่างคิ้ว เดชะหายลับศูนย์ อัง อะ อะ ศูน ศูน อิ แล้วว่า อิททาเรนะ โอนะทา นะปิดตา โมมิเห็น ปัญญาศูน ธาตุนิพพานังสัมปยุตตัง จะมาจับไปไว้ ๙ หนหลัง หนหน้าอย่าเปลี่ยนเลย<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๗.<!--[endif]--> อิสวาสุ เมตตา<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๘.<!--[endif]--> ทิพย์ศุนย์หว่างคิ้ว อีงอะอะ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๙.<!--[endif]--> มหาศูนย์หว่างจักษุ ธาตุนิพพานัง<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑๐. <!--[endif]-->จุลศูนน้อยปลายนาสิก<o></o>
    ๔-๓-๖-๗-๘ หายตัว<o></o>
    ๑-๒-๓ ดำเนินธาตุ<o></o>
    ๔ กันคุณไสย<o></o>
    ๕ กำบังภายนอก<o></o>
    ๖ เมตตา<o></o>
    ๑๐ งวยงง<o></o>


     
  13. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    อาการสามสิบสอง ใช้รักษาโรค ๓๒ ชนิด

    อาการสามสิบสอง ใช้รักษาโรค ๓๒ ชนิด

    <o></o>
    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ธาตุดิน ๒๐
    เกศา (ผม)
    โลมา (ขน)
    นะขา (เล็บ)
    ทันตา (ฟัน)
    ตะโจ (หนัง)
    มังสัง (เนื้อ)
    นะหารู (เอ็น)
    อัฏฐิ (กระดูก)
    อัฏฐิมิญชัง (เยื้อในกระดูก)
    วังกัง (ม้าม)
    หะทะยัง (หัวใจ)
    ยะกะนัง (ตับ)
    กิโลมะกัง (พังผืด)
    ปิหะกัง (ไต)
    ปัปผาสัง (ปอด)
    อันตัง (ใส้่ใหญ่)
    อันตุคุนัง (ใส้่น้อย)
    อุททะริยัง (อาหารใหม่)
    กะรีสัง (อาหารเก่า)
    มัตถะรุงคัง (สมองศรีษะ)


    <o></o>
    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>ธาตุน้ำ ๑๒
    ปิดตัง (น้ำดี)
    เสมหัง (เสลด)
    ปุพโพ (หนอง)
    โลหิตัง (เลือด)
    เสดท (เหงื่อ)
    เมโท (มันข้น)
    อัสสุ (น้ำตา)
    วะสา (มันเหลว)
    เขโฬ (น้ำลาย)
    สิงหานิกา (น้ำมูก)
    ละสิกา (ไขข้อ)
    มูตตัง (น้ำมูต)
    <o></o>


    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>กสิณ๑๐<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑.<!--[endif]--> ปฐวี หม้อใหม่ เดินน้ำ <o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๒.<!--[endif]--> อาโป น้ำใส ดำดิน<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๓.<!--[endif]--> เตโชเนื้อไป รักษาโรค<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๔.<!--[endif]--> วาโย ลมข้าวเปลือก บังหวน<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๕.<!--[endif]--> นีลัง เขียว<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๖.<!--[endif]--> ปิตัง เหลือง<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๗.<!--[endif]--> โลหิตัง แดงดอกชบา<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๘.<!--[endif]--> โอทาตะ ขาวน้ำเงิน<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๙.<!--[endif]--> อาโลก ขาวเหมือนเงาน้ำต้องแดด ทำให้สว่าง<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑๐.<!--[endif]--> อากาศ เปล่าไม่มีอันใด ผ่านฝากำแพง

    <o></o>
    <label for="rb_iconid_2">[​IMG] </label>อสุภกรรมฐาน ๑๐<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑.<!--[endif]--> อุทธุมาตะกะ ซากผีพอง ทำใหญ่ ทำมาก<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๒.<!--[endif]--> วินิลกะ ซากผีเขียว กำบัง<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๓.<!--[endif]--> วิปุพพกะ ซากผีน้ำหนองไหล กำบัง เป็นน้ำท่วม<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๔.<!--[endif]--> วิทฉิททกะ เขาสับฟัน เป็นท่อนๆ ผีขาดสองท่อน แบ่งตัว แยกร่าง<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๕.<!--[endif]--> วิกขายิตะกะ กา หมา แร้ง กัดกินซากผี เสกเป็นแร้ง เป็นหมา ไล่ข้าศึก<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๖.<!--[endif]--> วิกขิตตกะ แยกเป็นท่อน หัวขาด ตีนขาด แยกมากๆ<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๗.<!--[endif]--> หตวิกขิตตกะ ขาดกระจัดกระจาย เขาเชือดเลือดทั้งตัวผี<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๘.<!--[endif]--> โลหิตกะ เขาเชือดเลือดทั้งตัวผี<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๙.<!--[endif]--> ปุฬุวะกะ หนอนกินซากผี ตามทวารทั้ง ๙<o></o>
    <!--[if !supportLists]-->๑๐. <!--[endif]-->อัฏฐิกะ ปรากฏ แต่กระดูกขาว ปากประกาศิต<o></o>

    ๗-๘-๙-๑๐. เป็นอนุโลม ปฏิโลม เป็นวาจาสิทธิ์ ถอยหลัง เล็กใหญ่<o></o>
    หตวิกขิตตกะ โลหิตกะ ปุฬุวกะ ถึงอัฎฐิกะ เข้าปฐมฌาน แล้วตรึกไป คือพูดเสียงที่เกิดในใจ<o></o>
    ตรึก (นึกความเป็นไป แล้ววางเฉย) แล้วจึงพูดออกมาเป็นวาจา ให้เป็นธรรมชาติ เป็นมัชฌิมา จึงเป็นประกาศิตแล<o></o>

    ๑-๑๐. แก้ปัญหา แก้ความ ทำน้ำมนต์ ใช้เทียนขี้ผึ้งหน้าผี ด้ายมัดผี ล้างหมดทำนิมิตจึงถึงกระดูก<o></o>
    ให้เป็นกระดูกผุหมดกระจายหายไปตามลม<o></o>

    ๑๐-๑. ชนะหมด ล้างหมด แก้คุณใส ทุกชนิด แก้กระทำ
    <o></o>
    ๑-๑๐. , ๑๐-๑. แก้คุณไสย<o></o>
    ๑-๕ แก้อาธรรพ์ อาเพศ<o></o>
    ๕-๑. แก้ที่อาธรรพ์<o></o>
    ๑-๕. ,๕-๑ .เปิดกรุ<o></o>
    ๕-๑๐. แก้บ้า<o></o>
    ๑๐-๕ . กันพายุ กันลม เสกด้วย เห เห ปฏิเสวามิ กันไฟ เสกนกคุ้ม กันลม กันฟ้า เสกลูกสะกด<o></o>
    ๕-๑๐., ๑๐-๕. เมตตาเป่าเลื่อนยศ เลื่อนตำแหน่ง<o></o>



     
  14. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ลำดับพระมหาเถรเจ้าผู้สืบทอด พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ จากดินแดนชมภูทวีป ถึงดินแดนสุวร

    ลำดับพระมหาเถรเจ้าผู้สืบทอด

    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ


    จากดินแดนชมภูทวีป ถึงดินแดนสุวรรณภูมิ

    (ตั้งแต่ประมาณ พศ.๒๗๔ ถึง พ.ศ.๒๕๔๐)<o></o>



    ยุคพุทธกาล<o></o>
    . พระราหุลเถรเจ้า เป็นพระอาจารย์ใหญ่ประจำยุคพุทธกาล ชมภูทวีป<o></o>
    หลังพุทธกาล ครั้งปฐมสังคายนา

    <o></o>
    . พระโกลิกะเถรเจ้า ชมพูทวีป เป็นพระอาจารย์ใหญ่ประจำยุค<o></o>
    หลังพุทธกาล ครั้งทุติยสังคายนา

    <o></o>
    . พระมัลลิกะเถรเจ้า ชมพูทวีป เป็นพระอาจารย์ใหญ่ประจำยุคหลังพุทธกาล
    <o></o>

    พระมัลลิกะเถรเจ้า ทรงบอกพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ พระโมคคัลลีบุตรติสสเถรเจ้า และพระโสนันตเถรเจ้า

    <o></o>

    หลังพุทธกาล ครั้งตติยสังคายนา<o></o>
    . พระโมคคัลลีบุตรติสสเถรเจ้า บอกพระกรรมฐานให้กับ พระโสณเถรเจ้า พระอุตตรเถรเจ้า พระมหินท์เถรเจ้า ต่อมาพระเถรทั้งสามพระองค์เรียนพระกรรมฐานมัชฌิมา ต่อกับพระโสนันตเถรเจ้า เนื่องจากพระโมคคัลลีบุตรติสสเถรเจ้า เข้านิพพาน<o></o>

    . สายพระโสณเถรเจ้า
    -
    พระอุตตรเถรเจ้า,พระโสณเถรบอกพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ พระชาลตะเถรเจ้า พระกิตตระเถรเจ้า พระภูริยะเถรเจ้า <o></o>


    สายพระมหินทเถรเจ้า พระอัฎฎิยเถรเจ้า

    - พระมหินทเถรบอกพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ
    พระอุตติยะเถรเจ้า พระสัมพละเถรเจ้า พระภัททสาลเถรเจ้า


    ลังกาทวีป<o></o>
    . พระอุบาลีเถรเจ้า พระอาจารย์ใหญ่กรรมฐานมัชฌิมา ประจำเกาะลังกา<o></o>
    สายพระโสณเถร พระอุตตรเถร เดินทางมาแวะพักลังกาทวีป บอกพระกรรมฐานให้กับ พระจิตตกะเถรเจ้า ต่อมา คณะของพระมหินทเถรเจ้ามาเกาะลังกา พระจิตตกะเถรเจ้า ทรงศึกษากับ พระมหินทเถรเจ้าเพิ่มเติม พระจิตตกะเถรเจ้า บอกพระกรรมฐานมัชฌิมาให้กับ พระอุบาลีเถรเจ้า แห่งเกาะลังกา <o></o>

    <o></o>
     
  15. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ศรีพระอริยะสงฆ์ผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ ยุคฟูนัน

    ศรีพระอริยะสงฆ์ผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ<o></o>
    ยุคสุวรรณภูมิ (ฟูนัน)<o></o>

    คณะพระโสณเถรเจ้า พระอุตตระเถรเจ้า

    <o></o>
    ยุคสุวรรณภูมิ<o></o>
    (สมัยฟูนัน เจ้าแห่งภูเขา กำลังรุ่งเรือง)<o></o>
    พระมหาเถรเจ้าทั้ง ห้าพระองค์ เป็นพระอาจารย์ใหญ่กรรมฐานมัชฌิมา ประจำยุคสุวรรณภูมิ<o></o>
    ๑. พระโสณเถรเจ้า
    ๒. พระอุตตระเถรเจ้า
    ๓. พระชาลตะเถรเจ้า
    ๔. พระกิตตระเถรเจ้า
    ๕. พระภูริยะเถรเจ้า

    พระญาณเถรเจ้า ๑ พระณิชาเถรเจ้า ๑ พระปถวีเถรเจ้า ๑ พระชาติเถรเจ้า ๑ พระติสสเถรเจ้า ๑ พระปาโสเถรเจ้า ๑ พระเตชิตะเถรเจ้า ๑ จากชมพูทวีป ๑๒ รูป

    มีพระสังฆเถร ติดตามจาริกมาจาก เกาะลังกา ๕ รูป คือ พระโสตถิยะเถรเจ้า ๑ พระชิตตะเถรเจ้า ๑ พระเสวกะเถรเจ้า ๑ พระชินโสเถรเจ้า ๑ พระปาละเถรเจ้า ๑ <o></o>
    มีพระสังฆเถร ติคตามจาริกมาจาก นครตามพรลิงค์(นครศรีธรรมราช) ๓ รูป พระโกลันยาเถรเจ้า ๑ พระปิตะเถรเจ้า ๑ พระเชตุเถรเจ้า ๑<o></o>
    คณะของพระโสณเถร พระอุตระเถร แยกย้ายไปเผยแผ่ตามเมืองต่างๆ<o></o>


    เมืองสุวรรณสังข์<o></o>
    (เมืองทวาราวดี-อู่ทอง มอญ)<o></o>
    (พระราชสามีรามมหาเถร)<o></o>
    . พระโสณเถรเจ้า<o></o>
    . พระชาลตะเถรเจ้า <o></o>
    . พระญาณเถรเจ้า<o></o>
    . พระราชสามีรามเถรเจ้า(เพชร) <o></o>
    . พระสิทธาจารย์ญาณเถรเจ้า(ด้วง) <o></o>
    . พระสิทธาจารย์ญาณเถรเจ้า(อิง)<o></o>


    เมืองศรีสุวรรณ<o></o>
    (นครปฐม-มอญ)<o></o>
    . พระอุตตระเถรเจ้า <o></o>
    . พระเสวกะเถระเจ้า <o></o>
    .พระสิทธิตะเถรเจ้า <o></o>
    .พระปาลมุตตะเถรเจ้า <o></o>


    เมืองสะเทิม
    (เมืองมอญ)
    (พระราชสปทังเถร) <o></o>
    .พระกิตตระเถรเจ้า<o></o>
    .พระปถวีเถรเจ้า <o></o>
    .พระปาโสเถรเจ้า<o></o>
    .พระเตชิตะเถรเจ้า <o></o>



    เมืองศรีเทพ
    (พระราชสามีรามฯ)<o></o>
    .พระภูริยะเถรเจ้า <o></o>
    .พระโสตถิยะเถรเจ้า <o></o>
    .พระชิตตะเถรเจ้า<o></o>
    .พระชินโสเถรเจ้า<o></o>
    .พระปาลเถรเจ้า


    <o></o>
    <o></o>
     
  16. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ยุคทวราวดี

    ศรีพระอริยะสงฆ์ผู้สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ<o></o>
    ยุคศรีทวาราวาดี พระราชสามีรามมหาเถรเจ้า(เพชร)<o></o>
    เป็นพระอาจารย์ใหญ่บรมครูประจำยุคทวาราวดี

    <o></o>
    . พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า (ใจ)
    สิทธิวิหาริก พระญาณสิทธาจารย์เถรเจ้า(ด้วง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (ไข)
    สิทธิวิหาริก พระญาณสิทธาจารย์เถรเจ้า(ด้วง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>

    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า(แสง)
    สิทธิวิการิก พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า(ไข)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>

    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (ชัย)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (โต)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (จริง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (พ่วง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    . พระญาณวิมุตติสุวรรณมหาเถรเจ้า (เกตุ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    . พระญาณรัตนสุวรรณมหาเถรเจ้า (สาน)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๑๐
    . พระญาณรัตนสุวรรณมหาเถรเจ้า (ตา)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๑๑
    . พระญาณรัตนสุวรรณมหาเถรเจ้า (ปาน)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๑๒
    . พระญาณรัตนสุวรรณมหาเถรเจ้า (ดำ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)

    <o></o>
    ๑๓. พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (ก่อ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๑๔
    . พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (เพียร)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    ๑๕. พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า ( แดง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)

    <o></o>
    ๑๖. พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า ( ธรรม)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    ๑๗. พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (แสง )
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)

    <o></o>
    ๑๘. พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (ฟ้า)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    ๑๙. พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (ขาว)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๐
    . พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (เดช)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๑
    . พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า ( ยา)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๒
    . พระญาณรัตนวงศ์มหาเถรเจ้า (ขาว)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๓
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( ตอง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์) <o></o>


    ๒๔. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( ชอบ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๕
    . พระญาณไตรวุฒิคุณมหาเถรเจ้า (ปอ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๖
    . พระญาณไตรวุฒิคุณมหาเถรเจ้า (แพร)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    ๒๗. พระญาณไตรวุฒิคุณมหาเถรเจ้า ( อัง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๒๘
    . พระญาณไตรวุฒิคุณมหาเถรเจ้า (ชิต)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    ๒๙. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (อาด)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)
    <o></o>

    ๓๐. พระญาณไตรลักษณ์มหาเถรเจ้า (แสม)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๑. พระญาณไตรลักษณ์มหาเถรเจ้า (เพชร)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๒
    . พระญาณไตรลักษณ์มหาเถรเจ้า ( โปง)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๓
    . พระญาณไตรลักษณ์มหาเถรเจ้า ( ผล)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๔
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( พิงคะ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๕
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( คุต)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๖
    . พระญาณประสิทธิ์มหาเถรเจ้า ( เองนำ)
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๗
    . พระญาณประสิทธิ์มหาเถรเจ้า ( เกด )
    (ไม่มีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์)<o></o>


    ๓๘
    . พระญาณประสิทธิ์มหาเถรเจ้า (จีบ)
    เริ่มมีตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์ ครั้งแรก พระพุทธโฆษาจารย์ (โชติ)
    <o></o>

    ๓๙. พระญาณประสิทธิ์มหาเถรเจ้า (กลิ่น)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (นิด)<o></o>


    ๔๐
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( แพร)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ปล่อง)<o></o>


    ๔๑
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( ชิด)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (วง)<o></o>


    ๔๒. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (ปาน)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ยา)<o></o>


    ๔๓
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( ชาด)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (แปลก)<o></o>


    ๔๔
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( ชัย)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (สอง)<o></o>


    ๔๕
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (กล่อม)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (เปลื้อง)<o></o>


    ๔๖
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( เวท)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (แสง)<o></o>


    ๔๗. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (สี)
    พระพุทธโฆษาจารยย์ (ยง)<o></o>


    ๔๘
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (สุก)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (เขต)
    <o></o>

    ๔๙. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (เดช)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ยก)<o></o>


    ๕๐
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า ( ฟัก)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ช่วง)<o></o>


    ๕๑
    . พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (ปลา)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (โอ)

    ๕๒. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (เกด)
    พระพุทธโฆษาจารย์ (สาม)
    <o></o>

    ๕๓. พระญาณไตรโลกมหาเถรเจ้า (เขต )
    พระพุทธโฆษาจารย์ (แช)


    ศรีพระอริยสงฆ์ เมืองละโว้
    <o></o>
    สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา จากอาณาจักรศรีทวาราวดี
    <o></o>
    พระราชสุวรรณมุนีมหาเถรเจ้า(ทอง) สัทธิวิหาริกของ พระญาณไตรวุฒิคุณมหาเถรเจ้า(ปอ) มีพระมหาเถรเจ้าสืบทอดมาถึง ๔๙ พระองค์


    <o></o>
    ศรีพระอริยสงฆ์ เมืองบ้านคูเมือง (สิงห์บุรี)<o></o>
    สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา จากเมืองศรีทวาราวดี สู่เมืองบ้านคูเมือง<o></o>
    . พ่อเจ้า (จัน) วัดดงตาล สัทธิวิหาริกของพระญาณไตรโลก วัดแสนท้าวโคตร เมืองศรีทวาราวดี<o></o>
    . พ่อเจ้า ( โย่ง) วัดดงตาล <o></o>
    . พ่อเจ้า ( ตาล) วัดดงตาล <o></o>
    . พ่อเจ้า ( แพร) วัดดงตาล บอกพระกรรมฐานให้กับ พระญาณสุวรรณ มหาเถรเจ้า(สิงห์) วัดมหาธาตุ เมืองสุโขทัย<o></o>
    . พ่อเจ้า(ขวัญ) วัดดงตาล ศึกษาพระกรรมฐาน แบบมัชฌิมากับ พ่อเจ้าแพร<o></o>
    . พ่อเจ้า (เต็ม) วัดดงตาล ศึกษาพระกรรมฐาน แบบมัชฌิมากับ พ่อเจ้าแพร<o></o>
    เมืองบ้านคูเมืองไม่มี ตำแหน่งพระพุทธโฆษาจารย์<o></o>


     
  17. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ยุคสุโขทัย

    ศรีพระอริยสงฆ์ผู้สืบทอด<o></o>
    พระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ เมืองสุโขทัย
    ก่อนสถาปนาเป็นอานาจักรศรีสุโขทัย

    <o></o>
    ๑. พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า ( สิงห์) เป็นพระอาจารย์ใหญ่กรรมฐานมัชฌิมา บรมครูประจำยุคกรุงสุโขทัย สมัยพระเจ้าประกันติราช สถิตวัดมหาธาตุ เป็นพระสังฆราชา พระองค์ท่านทรงศึกษาพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับสืบต่อมาจาก พ่อเจ้าแพร แห่งวัดดงตาล เมืองบ้านคูเมือง ชานเมืองละโว้ ใกล้เขตเมืองสุโขทัย
    <o></o>

    . พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า(สิงห์) สมัยพระเจ้าประกันติราช
    พระพุทธโฆษาจารย์ (โปร่ง)<o></o>


    . พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า ( เหม) สมัยพระเจ้าประกันติราช
    พระพุทธโฆษาจารย์(โปร่ง)<o></o>


    . พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า (ชิต) สมัยพระเจ้าปทุมวงศ์
    พระพุทธโฆษาจารย์ (เซง)<o></o>


    . พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า (เชื้อ) สมัยพระเจ้าปทุมวงศ์ (องค์เดิม)

    . พระญาณสุวรรณมหาเถรเจ้า (สาย) สมัยพระเจ้าสุริยราชา
    พระพุทธโฆษาจารย์ (อ่อน)

    ๖. พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า
    ( ตา ) สมัยพระเจ้าจันทราชา
    พระพุทธโฆษาจารย์(โชติ)<o></o>


    . พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า ( คง) สมัยพระเจ้าจันทราชา (องค์เดิม)<o></o>

    . พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า (อยู่ ) สมัยพระเจ้าอรุณราชา
    พระพุทธโฆษาจารย์(ชัย)<o></o>


    . พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า( ชัย) สมัยพระเจ้าอรุณราชา (องค์เดิม)

    ๑๐. พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า ( อยู่ ) สมัยพระเจ้าชัยฟ้า
    พระพุทธโฆษาจารย์(แฝง)<o></o>


    ๑๑. พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า (เสือ) สมัยพระเจ้าชัยฟ้า (องค์เดิม)

    ๑๒. พระทักษิณาทิศาจารย์ (มั่น) สมัยพระเจ้าชัยฟ้า (องค์เดิม)

    ๑๓. พระญาณมุนีมหาเถรเจ้า(แสง) สมัยพ่อขุนนาวนำถม
    พระพุทธโฆษาจารย์(ปรือ)<o></o>


    ๑๔
    .พระครูญาณไตรโลก ( ดา)
    สมัยพ่อขุนบางกลางหาว (องค์เดิม)


    <o></o>
    ศรีพระอริยะสงฆ์สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา แบบลำดับ
    <o></o>
    ยุคสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย<o></o>
    . พระวันรัตมหาเถร ( อาด) สมัยขุนศรีอินทราทิตย์
    พระพุทธโฆษาจารย์ (เปล่ง)<o></o>

    <o></o>
    . พระวันรัตมหาเถร (ขาว ) สมัยพ่อขุนบานเมือง
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ก้อง)<o></o>


    . พระวันรัตมหาเถร (ชื่น) สมัยพ่อขุนบานเมือง (องค์เดิม)

    . พระวันรัตมหาเถร (เงิน) สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
    พระพุทธโฆษาจารย์
    (ขาม)<o></o>


    . พระวันรัตมหาเถร ( สิงห์) สมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช (องค์เดิม)

    . พระวันรัตมหาเถร ( มาก) สมัยปู่ไสยสงคราม
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ลือ)<o></o>


    . พระมหาวันรัตเถร (ขุน) สมัยพญาเลอไท
    พระพุทธโฆษาจารย์
    (เมฆ)<o></o>

    . พระวันรัตมหาเถร ( เรือง) สมัยพญาเลอไท (องค์เดิม)

    . พระวันรัตมหาเถร (แสง) สมัยพญางั่วนำถม
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ชื่น)<o></o>


    ๑๐. พระวันรัตมหาเถร (สี) สมัยพระมหาธรรมราชาที่๑ พญาลิไท
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ใจ)<o></o>


    ๑๑. พระวันรัตมหาเถร (ไม่ทราบ) สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๒
    พระพุทธโฆษาจารย์
    (ขุน)<o></o>

    ๑๒. พระวันรัตมหาเถร (นวน) สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๓ พญาไสยลือไท
    พระพุทธโฆษาจารย์ (สี)<o></o>

    ๑๒. พระวันรัตมหาเถร (สอน)สมัยพระมหาธรรมราชาที่ ๔ พญาบาลเมืองหรือบรมบาล
    พระพุทธโฆษาจารย์ (ฉาย)<o></o>



    <o></o>
     
  18. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ยุคอยุธยา

    ศรีอริยสงฆ์สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา
    ยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
    <o></o>
    (ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๙๓–๒๓๑๐ ปี รวม ๔๑๗ ปี )

    ๐พระพนรัตน(รอด) หรือหลวงปู่เฒ่า ทรงเป็นพระอาจารย์ใหญ่
    กรรมฐานมัชฌิมา บรมครูประจำยุคกรุงศรีอยุธยา

    <o></o>
    . พระพนรัตน (จวน) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย
    <o></o>

    . พระพนรัตน ( แดง) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    . พระพนรัตน (รอด)หลวงปู่เฒ่า วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    . พระพนรัตน (สี ) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    . พระพนรัตน (รอด องค์ที่๒) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    . พระพนรัตน (แสง) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    . พระพนรัตน ( คร้าม) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย

    ๘.พระพนรัตน (จุ่น) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย

    ๙. พระพนรัตน ( เอื๊ยน.) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย

    ๑๐. พระพนรัตน (มี) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๑. พระพนรัตน(เดช) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๒
    . พระพนรัตน ( สอน) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๓
    . พระพนรัตน ( พระมหาเถรคันฉ่อง) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๔. พระพนรัตน (อ้น) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๕
    . พระพนรัตน ( ขุน) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย

    <o></o>
    ๑๖. พระพนรัตน (มาก) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๗
    . พระพนรัตน (ใหญ่) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย

    <o></o>
    ๑๘. พระพนรัตน ( บุญ) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๑๙. สมเด็จพระญาณมุนี พระสังฆราช(สิงห์) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราช ฝ่ายขวา

    ๒๐. พระพนรัตน (แปร) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๒๑. พระพนรัตน
    (ดำ) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๒๒
    . พระพนรัตน (แก้ว) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๒๓
    . พระพนรัตน (ใย) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย<o></o>


    ๒๔
    . พระพนรัตน ( ผา) วัดป่าแก้ว
    ตำแหน่งพระสังฆราชาฝ่ายซ้าย
    <o></o>

    ๒๕. ท่านพระครูปลัดเขียน วัดป่าแก้ว
    ท่านเป็นถานานุกรมพระพนรัตน(แปร) <o></o>


    ๒๖
    . พระครูวินัยธรรมจ้อย วัดท่าเกวียน
    ท่านเป็นถานานุกรมพระพนรัตน(แปร)<o></o>


    ๒๗
    . ท่านขรัวตาทอง วัดท่าหอย
    พระอาจารย์หลวงปู่สุก ไก่เถื่อน
    <o></o>


    ๒๘
    . พระครูรักขิตญาณ(สี) วัดโรงช้าง
    พระอาจารย์หลวงปู่สุก ไก่เถื่อน
    <o></o>


    ๒๙
    . พระธรรมภาวนาเถร ( อิน) วัดราชาวาส
    พระอาจารย์หลวงปู่สุก ไก่เถื่อน
    <o></o>


    ๓๐. ท่านขรัวตาเจ้า วัดเกาะหงส์
    พระอาจารย์หลวงปู่สุก ไก่เถื่อน
    <o></o>


     
  19. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ยุคธนบุรี

    ศรีอริยสงฆ์สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา
    ยุคกรุงธนบุรี<o></o>
    (พ.ศ. ๒๓๑๐ - พ.ศ.๒๓๒๕ ระยะเวลานาน ๑๕ ปี)<o></o>
    พระปัญญาวิศาลเถร (ศรี) วัดสมอลาย ศิษย์พระธรรมภาวนาเถร (อิน) วัดราชาวาส อยุธยา เพื่อนสหธรรมิก หลวงปู่พระสังฆราช (สุก ไก่เถื่อน) วัดราชสิทธาราม<o></o>

    เปลี่ยนจากยุคกรุงศรีอยุธยามากรุงธนบุรี มาถึงยุคกรุงรัตนโกสินทร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๑๐ - พ.ศ.๒๓๒๕)<o></o>
     
  20. ญ.ผู้หญิง

    ญ.ผู้หญิง ทีมผูัดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    5,419
    ค่าพลัง:
    +26,932
    ยุครัตนโกสินทร์

    ศรีอริยสงฆ์สืบทอดพระกรรมฐานมัชฌิมา
    ยุคกรุงรัตนโกสินทร์<o></o>

    พระอาจารย์กรรมฐานมัชฌิมา
    บรมครูประจำยุครัตนโกสินทร์คือ หลวงปู่สุก

    ชาวบ้านเรียกขานพระนามท่านว่า
    หลวงปู่ไก่เถื่อน หรือสมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน

    <o></o>
    . พระพรหมมุนี(ชิต) ชาวเมืองเรียก ท่านเจ้าคุณหอไตร
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชสมัยรัชกาลที่ ๒ - ๓
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน<o></o>


    . พระครูวินัยธรรม (กัน) ชาวเมืองเรียก หลวงปู่กัน
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชสมัยรัชกาลที่ ๓
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน
    <o></o>

    . พระญาณสังวร (ด้วง) ชาวเมืองเรียก หลวงปู่ใหญ่
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๓ - รัชกาลที่ ๔
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน<o></o>


    . พระญาณโกศลเถร (รุ่ง) ชาวเมืองเรียก หลวงปู่รุ่ง
    สถิตวัดราชสิทธาราม
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน
    <o></o>

    . พระญาณสังวร (บุญ) ชาวเมืองเรียก หลวงปู่บุญ
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๔
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน
    และพระพรหมมุนี (ชิต)<o></o>


    . พระญาณโยคาภิรัติเถร (มี) ชาวเมืองเรียก หลวงปู่มี
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๔
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน พระพรหมมุนี (ชิต)
    พระญาณสังวร (ด้วง)<o></o>


    . พระสังวรานุวงศ์เถร (เมฆ) หลวงปู่เมฆ
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๔ – รัชกาลที่ ๕
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก สมเด็จพระสังฆราชไก่เถื่อน พระพรหมมุนี (ชิต)
    พระญาณสังวร(ด้วง)<o></o>


    . พระสังวรานุวงศเถร (เอี่ยม)
    สถิตวัดราชสิทธาราม ชาวบ้านมักเรียกท่านว่า หลวงพ่อใจดีบ้าง หลวงพ่อผิวเหลืองบ้าง รัชกาลที่ ๕ - รัชกาลที่ ๖
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก พระญาณสังวร (บุญ) พระสังวรานุวงศ์เถร (เมฆ)

    <o></o>
    ๙. พระสังวรานุวงศ์เถร (ชุ่ม) คนทั้งหลายเรียกท่านว่า เจ้าคุณสังวราฯ บ้าง หลวงปู่ชุ่มบ้าง
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๖ – รัชกาลที่ ๗
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก พระสังวรานุวงศ์เถร (เมฆ) พระสังวรานุวงศ์เถร (เอี่ยม)

    <o></o>
    ๑๐. พระครูสังวรสมาธิวัตร (แป๊ะ) ชาวบ้านเรียกว่า ท่านพระครูใหญ่
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๘ – รัชกาลที่ ๙
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก พระสังวรานุวงศ์เถร (เอี่ยม) พระสังวรานุวง์เถร (ชุ่ม)

    <o></o>
    ๑๑. พระครูญาณสิทธิ์ (เชื้อ) ชาวบ้านเรียกว่า หลวงตาญาณ
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๙
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก พระสังวรานุวงศ์เถร (เอี่ยม)
    พระสังวรานุวงศ์เถร (ชุ่ม) พระครูสังวรสมาธิวัตร (แป๊ะ)<o></o>


    ๑๒. พระครูปัญญาวุธคุณ (บรรจง) ชาวบ้านเรียกว่า หลวงตาอางค์
    สถิตวัดราชสิทธาราม รัชกาลที่ ๙
    ศึกษาพระกรรมฐานต่อจาก พระครูญาณสิทธิ (เชื้อ)<o></o>


    และยังมีผู้สืบต่ออีกโดยไม่ขาดสาย
    <o></o>



     

แชร์หน้านี้

Loading...