พระมหาธรรมราชา และ พระนางวิสุทธิกษัตรีย์
ขอเชิญท่านที่มีความจงรักภักดีและเทิดทูนในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย จงรักภักดี, 28 เมษายน 2009.
หน้า 97 ของ 234
-
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
พระพี่นางสุพรรณกัลยา
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
สมเด็จพระเอกาทศรฐ
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
พระนางมณีจันทร์
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
เจ้าเสือข่านฟ้ามหาราช และ เจ้าคำข่ายน้อย
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
Chiangrai Classical Music
บรรเลงดนตรีพื้นเมืองด้วย ซึง สะล้อ และซอ
[MUSIC]http://www.naronk.org/smf/song/u/60.asx[/MUSIC]
________________________________________^ ^ กดเพื่อเปลี่ยนเพลง เดินหน้า ถอยหลัง
1 ล่องแม่ปิง Rong Mae Ping -The river shore - เดี่ยวซึง
2 น้อยใจยา Noi Jai Ya - Suffering injustice - เดี่ยวซึง
3 สาวไหม Sao Mai - Dance with pulling on the silk - เดี่ยวซึง
4 ฟ้อนที PonTee - Dancing with the Umbrella - เดี่ยวซึง
5 ซออื่อ Zaw Ue - เดี่ยวซึง
6 ซอพม่า Zaw Hpa Ma - Song of Myanmer stye - เดี่ยวซึง
7 ฟ้อนที Pon Tee - Dancing eith the Umbrella - เดี่ยวสะล้อ
8 ค้างคาวกินกล้วย Kang Kaw Kin Gluay - Bat eatting the banana - เดี่ยวซึง
9 ซออื่อ Zaw Ue - เดี่ยวปี่จุ่ม
10 ฟ้อนที Pon Tee - Danceing with the Umbrella - เดี่ยวปี่จุ่ม
11 ค้างคาวกินกล้วย Kang Kaw Kin Gluay - Bat eatting the banana - เดี่ยวสะล้อ
มีทั้งหมด 11 เพลง -
พระพุทธชินราช และ พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระชนม์ 29 พรรษาประกาศอิสรภาพ
พระมหาฤทธิชัย ท่านว่า ใครๆก็ปั้นพระบรมรูปสมเด็จฯขณะหลั่งทักษิโณทกให้มีพระชนม์สูงทั้งนั้น ซึ่งที่จริงขณะนั้นพระองค์ทรงมีพระชนม์เพียง 29 พรรษาเท่านั้น จึงไม่ควรปั้นรูปท่านให้ชราจนเกินไป (เป็นความเห็นของพระมหาฯ ไม่ใช่ของทางสายธาตุ ^^ มีอะไรเคลียร์กับท่านเองนะคะ เบอร์โทรมีอยู่ในโปสเตอร์ข้างบน)ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
เจ้าเสือข่านฟ้า
เจ้าเสือข่านฟ้า
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
<TABLE class="noprint metadata plainlinks ambox ambox-style"><TBODY><TR><TD class=mbox-image></TD><TD class=mbox-text></TD></TR></TBODY></TABLE>
<TABLE class="infobox vcard" style="FONT-SIZE: 95%; WIDTH: 24em; TEXT-ALIGN: left" align=center><TBODY><TR><TH class=title style="FONT-SIZE: 120%; COLOR: white; BACKGROUND-COLOR: chocolate; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>เจ้าเสือข่านฟ้า</TH></TR><TR><TH style="BACKGROUND-COLOR: gainsboro; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>อาณาจักรเมืองมาวหลวง</TH></TR><TR><TD style="TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>
</TD></TR><TR><TH>ครองราชย์</TH><TD>พ.ศ. 1854 ถึง พ.ศ. 1907</TD></TR><TR><TH>ประสูติ</TH><TD>พ.ศ. 1833</TD></TR><TR><TH>สวรรคต</TH><TD>พ.ศ. 1907</TD></TR><TR><TH>งานสำคัญ</TH><TD>ผู้รวบรวมรัฐไทใหญ่ให้เป็นหนี่งเดียว</TD></TR></TBODY></TABLE>
ภาษาไทใหญ่ :เจาเสอข่านฟ่าภาษาไทใต้คงเจาเสอข่านฟ่า เจ้าหลวงเสือข่านฟ้าทรงเป็นวีระบุรุษที่ยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์ไทใหญ่เพราะทรงรวบรวมรัฐไทใหญ่ต่างๆที่เป็นอิสระต่อกันให้มาเป็นอาณาจักรเดียวกันภายใต้ชื่ออาณาจักรเมืองมาวหลวง ในรัชสมัยนี้อาณาจักรเมืองมาวหลวงมีอำนาจเกรียงไกรและเจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์ไทใหญ่ เจ้าเสือข่านฟ้าเป็นพระราชโอรสในเจ้าหลวงขุนผางคำกับพระนางอ่อนโดยมีพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมกัน 3 พระองค์คือ
1.ขุนอ้ายงำเมือง
2.ขุนยี่ข่างคำ(เสือข่านฟ้า)
3.ขุนสามหลวงฟ้า
<SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>ขึ้นครองราชย์ และย้ายเมืองหลวง (พ.ศ. 1854 )
หลังจากที่พระราชบิดาสวรรคตแล้ว เสนาอำมาตย์ได้ยกขุนยี่ข่างคำเป็นเจ้าฟ้าปกครองเมืองมาว<SUP>1</SUP>ต่อมา โดยเริ่มขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 1854 เมื่อพระชนมายุได้ 21 ปี เมื่อขึ้นครองราชย์แล้วก็ มีพระนามว่าเสือข่านฟ้า และทรงสร้างเมืองใหม่ชื่อว่าเมืองแจ้ไฮ่ และในอีก 2 ปีต่อมาก็ทรงย้ายไปสร้างเวียงแจ้ล้านอีก เพราะเป็นพื้นที่ ชัยภูมิทางยุทธศาสตร์
ภารกิจการรวบรวมรัฐไทยใหญ่ให้เป็นหนึ่งเดียว
หลังจากที่ได้ทรงย้ายเมืองหลวงแล้ว พระองค์จึงดำริที่จะรวบรวมรัฐชนเผ่าไทใหญ่ ซึ่งตั้งเมืองอยู่กระ จัดกระจายกันไปในพื้นที่ต่าง ๆ โดยไม่ขึ้นตรงต่อกัน ให้มาเป็นรัฐเดียวกัน ดังนั้น พระองค์จึงทรงเริ่มออกศึก เพื่อรวบรวมรัฐไทใหญ่ ให้เป็นเอกภาพ การออกศึกเพื่อรวบรวมรัฐไทใหญ่ ดังกล่าว แบ่งออกเป็น 6 ครั้งใหญ่ ๆ คือ
ครั้งที่หนึ่ง รวบรวมอาณาจักรแสนหวี<SUP>2</SUP> เวียงแสนแจ้ (ปี พ.ศ. 1857)
พระองค์ได้ส่งสาสน์ไปยังเจ้าท้าวน้อยแข่ ผู้ครองอาณาจักรแสนหวี เวียงแสนแจ้ เพื่อปรึกษาหารือใน เรื่องการรวมรัฐ แต่เจ้าท้ายน้อยแข่มิทรงยอมรับ และไม่มาปรึกษาหารือเพื่อการดังกล่าวด้วย เป็นเหตุให้เจ้าหลวงเสือข่านฟ้าพร้อมด้วยเจ้าสามหลวงฟ้า พระอนุชา ยกทัพไปตีเวียงแสนแจ้ จนเป็นเวียงแสนแจ้ได้รับความเสียชาวเมืองจึงขอร้องให้เจ้าท้าวน้อยแข่ยอมมอบตัวให้แก่เจ้าหลวงเสือข่านฟ้า อาณาจักรแสนหวีเวียงแสน แจ้ได้รวมเข้าในเมืองมาวหลวงมาตั้งแต่นั้นมา
ครั้งที่สอง รวบรวมเวียงจุนโก เมืองมีด และเชียงดาว<SUP>3</SUP> (ปี พ.ศ. 1858)
เจ้าหลวงเสือข่านฟ้าได้ทรงส่งสาล์นไปยังเวียงจุนโก เมืองมีด และเชียงดาว เพื่อเชื้อเชิญเจ้าฟ้าผู้ปกครองเมือง มายังเวียงแจ้ล้าน ซึ่งผู้ปกครองเมืองดังกล่าวในสมัยนั้น คือ เจ้าไตขืน เจ้าไตไก่ เจ้าไตเต่า เจ้าไตแตง และขุนสามอ่อน ไม่ยอมปฏิบัติตาม และยังได้จับราชทูต 7 คนประหารชีวิต โดยรอดชีวิตมาได้ 3 คน และได้ส่งทหารไปเผาทำลายบ้านเมืองทางใต้ของเมืองมาว เมื่อเป็นดังนั้น ก็ก่อให้เกิดสงครามครั้งใหญ่ ท้ายสุด ชาวเมืองขอร้องให้เจ้าไตขืนยอมแพ้ ชาวเมือง ก็ยอมสวามิภักดิ์ แม่ทัพนายกองจึงจับเจ้าไตขืนมอบให้เจ้าหลวงเสือข่านฟ้า และในปีต่อมาก็ได้เข้า ยึดหัวเมือง ใหญ่ทางตอนใต้เมืองมาว อันได้แก่ ยองห้วย จ๋ามกา เมืองปาย และเมื่องอื่น ๆ บริเวณนั้น
ครั้งที่สาม รวบรวมหัวเมืองยูนนาน(ปี พ.ศ. 1860)
เจ้าหลวงเสือข่านฟ้าได้ยกทัพใหญ่ขึ้นเหนือไปยังยูนนาน เจ้าเมืองแสหอตู้แห่งยูนนานจึงได้ออกมาเจรจา เพื่อไม่ให้เกิดการสงคราม และได้มอบหัวเมืองทั้ง 4 ให้คือ เมืองแส<SUP>4</SUP> เมืองหย่งชาง เมืองหมูอาน เมืองปูขว้าน แล้วพระองค์ก็เดินทางกลับเมืองมาว
ครั้งที่สี่ รวบรวมหัวเมืองไทยวน (ปี พ.ศ. 1860)
หลังจากที่กลับจากยูนนาน เจ้าหลวงเสือข่านฟ้าก็ทรงยกทัพไปทางทิศตะวันออก เพื่อรวบรวมรัฐชน เผ่าไตในทิศตะวันออก และทรงยึดหัวเมืองไทยวน ซึ่งประกอบด้วย เมืองเชียงรุ่ง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงตุง ลำพูน และละกอน <SUP>5</SUP>
ครั้งที่ห้า ยกทัพไปทิศตะวันตกรวบรวมเมืองเวสาลี <SUP>6</SUP>ปี พ.ศ. 1862)
เจ้าเสือข่านฟ้าพร้อมด้วยพระอนุชาคือเข้าสามหลวงฟ้า และแม่ทัพ 3 คน คือ ฟ้าหลวงเท้าฟ้าหล่อ ฟ้าหลวงเท้าเสือเย็น ฟ้าหลวงท้าวหาญก่าย ยกทัพไปทางทิศตะวันตกตีเมืองเวสาลี หรือแคว้นอัสสัม และยกให้พระอนุชาครองเมือง
ครั้งที่หก ยกทัพไปทางทิศใต้ (พม่า) (ปี พ.ศ. 1905)
เจ้าเสือข่านฟ้าพร้อมด้วยพระโอรส คือ เจ้าชายเปี่ยมฟ้า และแม่ทัพ 3 คน คือ ฟ้าหลวงเท้าฟ้าหล่อ ฟ้าหลวงเท้าเสือเย็น ฟ้าหลวงท้าวหาญก่าย ยกทัพไปทางทิศตะวันตกตีเมืองตะโก้ง<SUP>7</SUP> เมืองสะแกง<SUP>8</SUP> และหัวเมือง พม่าอื่น ๆ และสามารถยึดได้ทั้งหมดปี พ.ศ. 1905
บั้นปลายพระชนม์ชีพ
เจ้าหลวงเสือข่านฟ้า ทรงทำให้รัฐไทยใหญ่ต่าง ๆ เข้ามารวมเป็นอาณาจักรเดียวกันที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และเจริญรุ่งเรืองมาก พระองค์ได้ทรงย้ายไปสร้างเมืองใหม่ที่ทุ่งปางหมากอู๋ เรียกว่าเวียงท่าสบอู๋ และทรงสิ้นพระชนม์ที่นั่นในปีพ.ศ. 1907
ที่ตั้งเมืองโบราณ
- <SUP>1</SUP>เมืองมาวปัจจุบันคือเมืองรุ่ยลี่ในเขตปกครองตนเองชนชาติไทและจิ่งพัว เต๋อหง มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
- <SUP>2</SUP>เมืองแสนหวีปัจจุบันคือเมืองล่าเสี้ยว รัฐฉานในสหภาพพม่า
- <SUP>3</SUP>เมืองเชียวดาวปัจจุบันคืออำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ในประเทศไทย
- <SUP>4</SUP>เมืองแสปัจจุบันคือเมืองต้าหลี่ในเขตปกครองตนเองชนชาติไป๋ ต้าหลี่มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งคำว่าเมืองแสมาจากหนองแสซึ่งปัจจุบันก็คือทะเลสาบเอ๋อไห่
- <SUP>5</SUP>เมืองละกอนปัจจุบันคือจังหวัดลำปางในประเทศไทย
- <SUP>6</SUP>เมืองเวสาลีคือแคว้นอัสสัมในสาธารณรัฐอินเดีย
- <SUP>7</SUP>เมืองตะโก้งปัจจุบันคือเมืองย่างกุ้งในสหภาพพม่า
- <SUP>8</SUP>เมืองสะแกงในปัจจุบันคือเมืองสะกาย เขตสะกายในสหภาพพม่า
เจ้าเสือข่านฟ้า - วิกิพีเดีย -
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าคำข่ายน้อย(เจ้าคำก่ายน้อย)แห่งไทใหญ่
สมเด็จพระนเรศวรฯ ในประวัติศาสตร์ไทใหญ่
สำหรับ คนไทยสยามยุคปัจจุบัน เมื่อได้เห็นภาพการบวงสรวงบูชาไหว้ศาลสมเด็จพระนเรศวรฯ ที่ฐานเนินกองคาของทหารไทใหญ่ และได้เห็นหนุ่มน้อยทหารไทใหญ่ต่างมีเหรียญทองแดงรมดำรูปสมเด็จพระนเรศวรฯ แขวนเชือกป่านห้อยคอเป็น "ของขลัง" ประจำตัวนั้น ถือเป็นเรื่องน่าประหลาดใจยิ่ง ว่าเหตุใดชนกลุ่มน้อย โดยเฉพาะทหารไทใหญ่ จึงได้เคารพนับถือสมเด็จพระนเรศวรฯ บุรพกษัตริย์นักรบอย่างหนักแน่นมั่นคงเช่นนี้ ทั้งที่สมเด็จพระนเรศวรฯ เป็นกษัตริย์ไทยและเสด็จสวรรคตล่วงผ่านไปแล้วถึง ๔๐๐ ปี!
สมเด็จพระนเรศวรฯ กับคนไทใหญ่
พัน เอกเจ้ายอดศึกผู้นำกองกำลังกู้ชาติไทใหญ่ยุคปัจจุบัน ตอบคำถามสั้นๆ ถึงที่มาทางประวัติศาสตร์อันทำให้ทหารไทใหญ่นับถือสมเด็จพระนเรศวรฯ อย่างที่สุดว่า "พระนเรศวรฯ กับเจ้าคำก่ายน้อยเจ้าฟ้าของไทใหญ่ ท่านเป็นเพื่อนกัน มีจุดมุ่งหมายเหมือนกัน คือต้องการรบพม่า ต้องการขับไล่พม่าออกจากแผ่นดินไทยและแผ่นดินไทใหญ่ คนไทใหญ่ถือว่าถ้าพระนเรศวรฯ ยังอยู่ไทใหญ่จะไม่ลำบากอย่างนี้ เพราะท่านมีนโยบายปราบพม่าให้หมดสิ้น คนไทใหญ่ทุกคนรู้เรื่องนี้
ผมศึกษาประวัติศาสตร์ ได้รู้ และเชื่อถือมาก ทหารไทใหญ่ทุกคนเชื่อเพราะรู้ประวัติศาสตร์ ผมอธิบายให้ฟังทุกคน" "เจ้า คำก่ายน้อย" ที่พันเอกเจ้ายอดศึกกล่าวถึง คือเจ้าฟ้าวีรบุรุษคนหนึ่งของชาวไทใหญ่ ผู้เป็นสหายร่วมรบมากับสมเด็จพระนเรศวรฯ มีปรากฏในประวัติศาสตร์ที่คนไทใหญ่รับรู้มายาวนาน
ความสัมพันธ์ ระหว่างสยามกับชนกลุ่มน้อย ตั้งแต่สมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะกับมอญ กะเหรี่ยง ไทใหญ่นั้น มีความแนบแน่นลึกซึ้ง มอญ กะเหรี่ยง ไทใหญ่ คือ "ชาวด่าน" ที่คอยป้องกันขอบขัณฑสีมาจากการรุกรานของพม่า
หลักฐานทางไทใหญ่กล่าวย้ำถึงสัมพันธภาพแน่นแฟ้นนี้ว่า จนแม้ไทใหญ่
ที่ถูกกุมตัวเป็นเชลยอยู่กลางเมืองพม่าเอง ก็พร้อมจะแข็งขืนไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจพม่า แต่มาฝักฝ่ายอยู่กับฝ่ายไทยซึ่งเป็นเชื้อชาติเดียวกัน ดังที่ "เคอแสน" นักประวัติศาสตร์ชาวไทใหญ่บันทึกไว้ในบทความ "สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าคำก่ายน้อยแห่งไทใหญ่" ในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนสิงหาคม ๒๕๔๕ ว่า
ครั้งที่กษัตริย์บุเรงนองยกทัพเข้ามาตีเมืองไทย ลาว เชียงใหม่ เชียงห่ม ในปี พ.ศ. ๒๑๐๘ นั้น "เจ้าฟ้าไทใหญ่และทหารไทใหญ่ที่ถูกจับเป็นเชลย อยู่ในเมืองหงสาวดีนั้นถือโอกาสจุดไฟเผาหอ, วังในเมืองหงสาวดีเสียหาย จนกระทั่งพวกอำมาตย์ของพม่าต้องหนีไปอยู่ที่ "เมืองทละ" การเผาหอ, วัง ในครั้งนี้เจ้าฟ้าไตย (ไทใหญ่) ให้เหตุผลว่า เพราะพม่าทำการรุกรานนำทัพเข้าตีเมืองพี่เมืองน้องของไตย หลังจากบุเรงนองทราบข่าวจึงรีบยกทัพกลับเมืองหงสาวดีทันที และจับเจ้าฟ้าไตยและคนไตยหมื่นกว่าคนทำการเผาทั้งเป็นที่เมืองหงสาวดี" และ "เคอแสน"
ยังกล่าวไว้อีกด้วยว่า สมเด็จพระนเรศวรฯ คือบุรพกษัตริย์ที่รวบรวมก่อตั้งอาณาจักรไทใหญ่ โดยที่สมเด็จพระนเรศวรฯ ทรงปรึกษากับเจ้าคำก่ายน้อย เจ้าฟ้าไทใหญ่ เพื่อจะสร้างกองทัพราชอาณาจักรไทย-ไทใหญ่ ให้เข้มแข็งถาวรต่อไปในวันข้างหน้า โดยทางไทใหญ่นั้นเจ้าคำก่ายน้อยรับอาสาที่จะเจรจากับเจ้าฟ้าไทใหญ่ทุกเมือง
ใน ปี พ.ศ. ๒๑๔๓ สมเด็จพระนเรศวรฯ มีรับสั่งให้เจ้าคำก่ายน้อยนำกำลังทหารส่วนหนึ่งเข้าไปเมืองปั่น เมืองนาย ยองห้วย ไปจนถึงภาคกลาง และเจ้าฟ้าไทใหญ่ทุกเมืองพร้อมกันจัดตั้งเป็นพระราชอาณาจักรขึ้นโดยมีสมเด็จพระนเรศวรฯ ทรงเป็นผู้นำ
ส่วนช่วงที่สมเด็จพระนเรศวรฯ เสด็จขึ้นไปสวรรคตที่เมืองหางหลวง ในแผ่นดินรัฐฉาน ประวัติศาสตร์ไทใหญ่ระบุว่า ในครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรฯ ได้ทรงยกทัพขึ้นไปช่วยเจ้าคำก่ายน้อย ที่กำลังทำศึกกับทหารจีนและทหารพม่าซึ่งรุกรานเมืองไทใหญ่ แต่สมเด็จพระนเรศวรฯสวรรคตเสียก่อน เจ้าคำก่ายน้อยจึงสู้รบต่อไปเพียงลำพัง และสิ้นพระชนม์กลางสนามรบที่เมืองแสนหวี ในปี พ.ศ. ๒๑๔๘ หลังการสวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรฯ ไม่นานนัก
-
<TABLE class=tborder id=post3432628 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 0px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid"> เมื่อวานนี้, 11:13 AM </TD><TD class=thead style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 1px solid; FONT-WEIGHT: normal; BORDER-LEFT: #ffffff 0px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 1px solid" align=right>#1 </TD></TR><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->Specialized<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_3432628", true); </SCRIPT>
ทีมงานเว็บพลังจิต (บอย)
วันที่สมัคร: Feb 2006
สถานที่: เหนือสุดแดนสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา (จ.เชียงราย เจ้าส์)
ข้อความ: 13,971
Groans: 112
Groaned at 68 Times in 54 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 29,310
ได้รับอนุโมทนา 130,049 ครั้ง ใน 14,273 โพส
พลังการให้คะแนน: 5457
</TD><TD class=alt1 id=td_post_3432628 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><CENTER><!-- google_ad_section_start -->หลวงปู่ดู่ ไม่ส่งเสริมการรับขันธ์<!-- google_ad_section_end -->
</CENTER>
<HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->หลวงปู่ไม่ส่งเสริมการรับขันธ์
โดย พี่สิทธิ์
ประมาณปี ๒๕๓๑-๒๕๓๒ ญาติโยมที่ไปกราบนมัสการหลวงปู่ดู่ที่วัดสะแก จะพบว่ามีขันและพานที่ใช้ในพิธีรับขันธ์ ๕ วางเรียงต่อกันหลายแถวหลายชั้นจนท่วมศีรษะ
คนจำนวนไม่น้อยที่เข้าพิธีรับขันธ์ ๕ นัยว่าเป็นการเปิดรับกายทิพย์ของหลวงพ่อหลวงปู่ครูบาอาจารย์ บ้างก็อ้างว่าเป็นดวงวิญญาณบุรพกษตริย์ไทยในอดีต หรือเทพเจ้าชั้นผู้ใหญ่ เพื่อเข้ามาคุ้มครองป้องกันภัย หรือเสริมชีวิตให้เกิดความเป็นสิริมงคล
แต่แท้จริงแล้ว หลวงปู่กล่าวว่า
"ส่วนใหญ่นั้นหลอกลวงกันแทบทั้งสิ้น หากจะมีก็มักเป็นวิญญาณชั้นต่ำที่มาอาศัยกินเครื่องบวงสรวง"
หลวงปู่สอนมาโดยตลอดที่จะให้เราฝึกฝนอบรมจิตใจให้บริบูรณ์ด้วยสติสัมปชัญญะ แล้วด้วยเหตุใดคนเราจึงพากันยินดีปฏิบัติในทางตรงกันข้าม โดยให้สิ่งอื่นเข้ามาครอบงำกายใจของเราได้!
หลวงปู่ต้องเสียเวลาไปไม่น้อยในแต่ละวัน ๆ กับการสงเคราะห์พวกที่เคยไปรับขันธ์แล้วเปลี่ยนใจ เพราะต้องการความเป็นไทแก่ตัว ต้องการควบคุมตนเองให้ได้เหมือนแต่ก่อน ไม่ใช่อยากจะร่ายรำ หรือพูดภาษาแปลก ๆ หรือตัวสั่นงันงกในที่สาธารณชน ก็ทำขึ้นมาโดยไม่อาจควบคุมตนเองได้
นอกจากการแผ่เมตตาให้แก่ดวงวิญญาณที่มาสิงสู่ร่างเหล่านั้นออกไปแล้ว หลวงปู่ก็เน้นย้ำว่าตัวผู้ (ป่วย) นั้นก็ต้องช่วยตัวเองด้วยเช่นกันด้วยการทำภาวนาเพิ่มสติสัมปชัญญะให้กับตัวเอง มิเช่นนั้นก็เหมือนประตูบ้านยังปิดไม่มิดชิด สิ่งแปลกปลอมก็อาจกลับเข้ามาใหม่ได้อีก
"หลวงปู่สอนว่าแค่ขันธ์ ๕ ของเราก็หนักมากอยู่แล้ว ยังจะหาเรื่องไปเอาขันธ์อื่น ๆ เข้ามาแบกอีก"
เห็นกองขันที่เขาเอามาทิ้งไว้ที่วัดก็ให้รู้สึกเหน็ดเหนื่อยแทนหลวงปู่ แล้วไหนยังจะต้องไปรับมือกับบรรดาเจ้าสำนักที่สูญเสียผลประโยชน์อีก บางครั้งหลวงปู่ก็เอ่ยขึ้นมาว่า 'เขาส่งของมา กะจะเอาเราให้ตาย'
บัดนี้ สิ้นหลวงปู่แล้ว และถึงแม้ว่าเราจะเชื่อมั่นว่าหลวงปู่ยังคงให้การคุ้มครองดูแลศิษย์ทั้งหลายอยู่ แต่เราเองก็ต้องไม่ประมาท ต้องรีบเร่งสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นด้วยตนเอง และก็มิใช่โดยพระเครื่องของท่าน เพราะนั่นก็ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่สูงสุด หากแต่ต้องอาศัยการปฏิบัติกาย วาจา ใจ ของเราเองให้ดีงาม เพื่อให้เกิดเป็นธรรมคุ้มครองผู้ประพฤติธรรม บนฐานที่มั่นคงของการปฏิบัติสมาธิภาวนาให้ได้ตลอดทุก ๆ อิริยาบถ<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->
__________________
<!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->กลุ่มพลังจิตพิชิตภัยพิบัติ จ.เชียงราย
http://palungjit.org/forums/ก<!-- google_ad_section_end -->
</TD></TR></TBODY></TABLE> -
ได้เห็นพระบรมสาทิสลักษณ์ของสมเด็จท่านที่พี่ทางสายธาตุได้กรุณานำ
เสนอล้วนมีความสง่างดงามสมกับฝีมือช่างท่านพระมหาฤทธิชัย กัลยาโณ ขอ
รับ พลันนึกถึงเรื่องการถวายพระแสงของ้าว ของพี่โมเย ฟอร์ทต้องขออนุญาต
พี่โมเยที่นำเรื่องนี้มาเปิดเผยด้วยเห็นว่าเป็นการสมควรและเหมาะสมสอดคล้อง
กับจังหวะที่กำลังจะมีการสร้างพระบรมรูปของพระองค์ท่านประดิษฐานไว้ที่ถานี
ตำรวจทุกสถานีในเขตกรุงเทพมหานครสำหรับเคารพสักการะ และเป็นขวัญ
กำลังใจ ทั้งนี่เพื่อว่าผู้ที่เคารพศรัทธาในพระองค์ท่านจะได้มีโอกาสร่วมแสดง
ความจงรักภักดีและอนุโมทนาด้วยขอรับ โดยพี่โมเยได้มีจิตกุศลศรัทธาจัดทำ
พระแสงของ้าว ฝีมือท่านพระมหาฤทธิชัย กัลยาโณเพื่อถวายบูชาพระบรมรูป
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่ประดิษฐานอยู่หน้ากองพันพัฒนาที่ ๓ อ.แม่ริม
จังหวัดเชียงใหม่ ทราบว่าขณะนี้พระแสงของ้าว ฝีมือท่านพระมหาฤทธิชัย
กัลยาโณ เสร็จเรียบร้อยแล้วขอรับ ส่วนจะประกอบพิธีถวายในวันใดนั้น คอยฟัง
กำหนดและรายละเอียดจากพี่โมเย ต่อไปขอรับ
ป.ล. ฟอร์ทต้องขออภัยพี่โมเย ที่นำเรื่องนี้มาเปิดเผย ด้วยนะขอรับ -
สมเด็จพระนเรศวรฯ กับคนไทใหญ่
ในช่วงการสู้รบ ครั้งใหญ่บริเวณชายแดนไทย-รัฐฉาน เมื่อเดือนเมษายน ๒๕๔๘ ที่ผ่านมา ระหว่างกองกำลังว้าแดง (UWSA-United Wa State Army) -กองพล ๑๗๑ ของเหว่ยเซียะกังที่มีเป้าหมายขึ้นยึดพื้นที่ดอยไต
แลงของกองกำลังกู้ชาติไท ใหญ่ (SSA-Shan State Army) ภายใต้การนำของพันเอกเจ้ายอดศึก ระหว่าง ช่วงสงครามครั้งนี้ สื่อมวลชนไทยและสำนักข่าวต่างประเทศหลายแห่งทั้งเอพี รอยเตอร์ บีบีซี ได้มีโอกาสขึ้นไปยอดดอยไตแลง ที่ตั้งของกองบัญชาการสูงสุดกองทัพ SSA และได้เข้าไปจนถึง "หน้าศึก" หรือ "จุดสู้รบ" บริเวณฐานป่าไม้ และฐานเนินกองคา ซึ่งไม่กี่วันก่อนคือสนามรบอันดุเดือด มีทหารว้าแดงขึ้นมา ตายนับร้อยศพ และทางว้าแดงกับพม่าเพิ่งใช้ปืน ค. ๑๒๐ ปืน ค. ๘๑ ปืน ค. ๘๒ ยิงถล่ม บางวันมากกว่า
๓,๐๐๐ ลูก ร้อยเอกจายกอน ซึ่งรับผิดชอบควบคุมดูแลฐานป่าไม้เล่าให้ฟังว่า ลูกปืนใหญ่ตกทั่วไปหมด พอทหารไทใหญ่ได้ยินเสียงปล่อยลูกปืนก็วิ่งลงบังเกอร์ กลางคืนถึงค่อยเงียบลง รุ่งเช้าพอแสงสว่างพ้นขอบฟ้าก็
เริ่มยิงกันใหม่
การ รบยืดเยื้ออยู่เป็นเดือน ร้อยเอกจายกอนยังยืนยันด้วยความมั่นใจ "เป็นไปไม่ได้ที่ดอยไตแลงจะแตก ไม่มีทางที่เขาจะยึดได้ เพราะเราเป็นคนรักชาติ เราต้องป้องกัน" ถามว่าสิ่งใดเล่าที่ช่วยสร้างขวัญและกำลังใจให้ทหารไทใหญ่ สามารถต่อสู้อย่างอดทนเข้มแข็ง และ ตรากตรำมาได้ยาวนานหลายสิบปีอย่างนี้ ร้อย เอกจายกอนยิ้มสดใส หยิบเหรียญทองแดงรมดำให้ดูและบอกว่า ขุนศึกต้องมีพระดี แต่ "ของดี" สำคัญที่สุดที่คุ้มครองทหารไทใหญ่ให้มั่นใจและปลอดภัยกันทั่วทุกคนก็คือ "เหรียญสมเด็จพระนเรศวรฯ"
-
รูปดอยไตแลง
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
รวมภาพชุมชนบนดอยไตแลง
ไฟล์ที่แนบมา:
-
-
ขออนุโมทนาสาธุ ครับ คุณโมเย , คุณฟอร์ท
..................................................................
.... ในความมืดมิดและสับสนภายในถ้ำตัน ผู้คนล้วนสับสนอลหม่านด้วยสติแตกพยายามแหกถ้ำเป็นทางออกนั้น มีใครซักคน จุดไม้ขีด เปิดไฟฉาย หรือจะเอาหินถูหินเกิดเป็นประกายไฟขึ้นมาก็เถอะ
นั่น "แสงสว่าง" ในอุโมงค์มืดมิใช่หรือ?
แล้วท่านลองสมมุติตัวเองเป็นหนึ่งในผู้คนที่สับสนอลหม่านนั้นดูซิครับ ในภาวะที่มองไปทางไหนก็ไม่เห็นทางออก แต่พลันเห็น "ใครซักคน" ทำให้เกิดแสงไฟขึ้นในความมืดมิด ท่านปฏิเสธมั้ยว่า ไม่เกิดความรู้สึกสนองตอบสัญชาตญาณในลักษณะ
เห็นแสง แสดงว่ามีทางออก?
ทุกคนต้องการแสงสว่าง ทุกคนต้องการทางออก ในขณะนั้น ผมคิดว่าทุกคนคงจับสัญญาณจากแสงไฟ หวังใช้นำทางออกไปจากถ้ำนั้น คงไม่มีความจำเป็นต้องตั้งแง่เฉพาะหน้าเพื่อซักไซ้กันแต่ตอนนั้นว่า..พวกมึง..หรือพวกกู..เป็นคนจุดไฟ........
แหล่งที่มา http://www.thaipost.net/news/190610/23756 -
<TABLE class=tborder id=post1339124 cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid; BORDER-TOP: #ffffff 0px solid; BORDER-LEFT: #ffffff 1px solid; BORDER-BOTTOM: #ffffff 0px solid" width=175><!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ภาวิโต<!-- google_ad_section_end --><SCRIPT type=text/javascript> vbmenu_register("postmenu_1339124", true); </SCRIPT>
สมาชิก
วันที่สมัคร: Nov 2007
ข้อความ: 307
Groans: 0
Groaned at 0 Times in 0 Posts
ได้ให้อนุโมทนา: 5,942
ได้รับอนุโมทนา 3,114 ครั้ง ใน 379 โพส
พลังการให้คะแนน: 211
</TD><TD class=alt1 id=td_post_1339124 style="BORDER-RIGHT: #ffffff 1px solid"><!-- google_ad_section_start -->สมเด็จพระนเรศวรมหาราช<!-- google_ad_section_end -->
ทรงอยู่ในความทรงจำ
ของคนไทยรุ่นหลังมาทุกยุคทุกสมัย
ในฐานะนักรบผู้เกรียงไกร
ทรงกู้ชาติกู้แผ่นดิน ทำให้ไทยเป็นชนชาติ
ที่มีเอกราช
ทำให้ผู้คนจดจำพระราชประวัติของพระองค์
ได้มากกว่ากษัตริย์พระองค์ใดในประวัติศาสตร์
ยุคสมัยที่พระองค์ทรงครองราชย์นั้น
นับเป็นยุคสมัยที่น่าสนใจยิ่ง
และนับเป็นช่วงเวลามหัศจรรย์
ของแผ่นดินนี้ที่ปรากฎมหาราชนักรบผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด
แห่งแผ่นดินแถบลุ่มน้ำเจ้าพระยา
๐เอกรงค์ ภาณุพงษ์ผู้เขียนตำนานนเรศวรมหาราชชาตินักรบ
</TD></TR></TBODY></TABLE> -
ฟอร์ทขอขอบคุณทั้งพี่ทางสายธาตุได้หยิบยกเรื่องราวเกี่ยวกับสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช กับไทยใหญ่ พอดีกับพี่จงรักภักดีก็ได้นำข้อความที่พี่ภาวิโต
ได้เคยเขียนไว้ในกระทู้ฯ ทำให้ฟอร์ทระลึกนึกถึงเรื่องที่พี่ภาวิโตได้เคยเขียน
ไว้เกียวกับเรื่องมอญและไทยใหญ่ที่ดูจะสอดคล้องต้องกันอย่างมีนัยสำคัญ
ขออนุญาตคัดลอกข้อความบางตอนดังกล่าวนั้นมาเสนอครับ
... หากพิจารณาในแง่ยุทธศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ถ้าพระองค์ไม่ทรงสิ้นพระชนม์เสียก่อนที่เวียงแหงแล้ว การบุกเข้ายึดเมืองนายน่าจะสำเร็จได้ง่าย เพราะไทใหญ่เองก็มีใจอยู่ด้วยกับศรีอยุธยาอยู่แล้ว ทางด้านยุทธวิธีสมเด็จพระนเรศวรทรงใช้รูปแบบการเข้าตีสองทิศทาง อาจจะคล้ายกับเป็นรูป
คีมหนีบ หรือเป็นลักษณะค้อนกับทั่งก็ได้ โดยกำลังทัพของสมเด็จพระนเรศวรยกเข้าตีตรงหน้า วางกำลังเป็นเสมือนทั่ง ในขณะเดียวกันกำลังทัพของสมเด็จพระเอกาทศรถเปรียบเสมือนค้อนก็จะรุกเข้ามาทางด้านบน และเมื่อทัพศรีอยุธยายึดได้เมืองนายแล้วก็คงจะสนธิกำลังกันเพื่อรุกต่อไปยังกรุงอังวะ ด้วยสภาพของกรุงอังวะในขณะนั้นที่เพิ่งเริ่มจะตั้งตนเป็นใหญ่ไหนเลยจะสามารถต้านทานทัพศรีอยุธยาที่กำลังแข็งแกร่งและฮึกเหิมได้ ในที่สุดก็คงจะพ่ายแพ้หรือยอมสวามิภักดิ์ต่อกรุงศรีอยุธยาเหมือนดังมังมหานรธาช่อ พระเจ้าเชียงใหม่ก็ได้ หลังจากนี้เราลองหันมาพิจ
ณาในกรอบยุทธศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยาที่ได้ออกมาแล้วว่าต้องยึดครองพม่า เพราะฉนั้นเราก็น่าจะได้คำเฉลยแล้วว่าภายหลังที่ทัพศรีอยุธยายึดได้อังวะ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเจ้าก็น่าจะนำทัพรุกลงมาทางทิศใต้ยึดหงสาวดีเพื่อลบรอยแค้นในพระทัย(หงสาวดีในขณะนั้นก็เหมือนหมดสภาพแล้ว) ตองอูก็อ่อนแอ (ได้เข้ามาสวามิภักดิ์ต่ออยุธยาในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ) แปรก็คงจะยอมสวามิภักดิ์ด้วยเช่นกัน จะเห็นว่าโอกาสที่มอญจะรวมกันเป็นประเทศก็จะมีมาก เพราะองค์สมเด็จพระนเรศวรเจ้าก็ดูจะทรงโปรดพวกมอญอยู่มากทีเดียว คงเหลือแต่ยะไข่ ที่อยู่ถัดจากอังวะ ลึกเข้าไปในพม่า ที่พระองค์อาจจะทรงเก็บไว้ก่อนหรือมอบให้สมเด็จพระเอกาทศรถยกทัพไปจัดการเสียให้หมดเสี้ยนหนามก็เป็นไปได้ เสียดายนะครับทุกอย่างเป็นแค่ความฝัน ไม่อาจกลายเป็นความจริงขึ้นมาได้ เป็นการสูญเสียโอกาส
ครั้งสำคัญที่สุดและมีครั้งเดียวเท่านั้น ไม่เฉพาะแต่เพียงไทยเราประเทศเดียว ไทใหญ่และมอญก็สูญเสียโอกาสทองที่จะรวมประเทศให้เป็นไทใหญ่ และมอญ ไปด้วยอย่างน่าเสียดาย ต้องใช้คำว่าสุดแสนเสียดาย โอกาสทองอย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว -
พระแสงของ้าว ทุกดวงจิตจากล้านนา สู่อโยธยา ถวายปรเมนทร์
พระแสง ของ้าว จะถวาย ณ. ศาลสมเด็จพระนเรศวร
กองพันพัฒนาที่ 3 อำเภอแม่ริม
วันเวลา จะแจ้งให้ทราบ อีกครั้ง
เพื่อจะได้ขอเชิญลูกหลาน ข้าราชบริพาร ไพร่ฟ้าประชาชน
ที่จงรักภักดี ต่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มาร่วมพิธี พร้อมกัน
พระแสงของ้าว (จำลอง)
ได้ผ่านพิธี บวงสรวง 3 แห่ง คือ
ณ. พระราชวังจันทร์
ค่ายนเรศวร
และ ตำหนักหลวงพระมหาธรรมราชา วัดนางพญา โดย พระมหา ฤทธิชัยกัลยาโน
และจะได้อัญเชิญพระแสงของ้าว จำลองนี้ มาประดิษฐาน
ณ. ศาลสมเด็จพระนเรศวร กองพันพัฒนาที่ 3 อ.แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
พระแสงของ้าว
จะฟันฝ่า อุปสรรค ร้อนร้าย ภายในประเทศไทย ให้หมดสิ้นไป
เพื่อผืนแผ่นดินนี้จะเป็นผืนดินที่สืบสานพระพุทธศาสนา ต่อไป
ให้สมเป็นแผ่นดินทอง แผ่นดินธรรม
ด้วยพระบารมีแห่งพระองค์
มีเหตุ มีปัจจัย
มีสัญญา มีหน้าที่
อย่าหลง แต่สัญญา จนลืมหน้าที่ไฟล์ที่แนบมา:
-
หน้า 97 ของ 234