คัมภีร์เทวดา... ตอนที่ 3....(คาถาไหว้ครู)

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย หมอพล, 28 มีนาคม 2009.

  1. หมอพล

    หมอพล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    2,083
    ค่าพลัง:
    +4,175
    พระคาถาไหว้ครู
    <O:p</O:p

    วันทิตวา สุคตัง นาถัง พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สาธุกัง นะโมพุทธายะ ทิพพะมันตรานัง ปะวักขามิ ยะถาพะลัง ปัญจะอักขรานิชาตา นะโมพุทธายะ วันทติ ฯ<O:p</O:p
    นมัสสิตวา อิสี สิทธิ โลกะนาถัง อนุตตะรัง อิสี จะ พันธะนัง สาตรา อะหัง วันทามิตัง อิสี สิทธิ เวสสะฯ<O:p</O:p
    โอม ฤาษี สิทธิ เวสสะ ( ๓ จบ )<O:p</O:p
    พา มา นา อุ กะ สะ นะ ทุ <O:p</O:p
    เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว<O:p</O:p
    อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ<O:p</O:p
    ภะ พุ สะ ปุ โล สุ วิ สัง อะ ฯ
    <O:p</O:p

    คาถาธรณีสารน้อย<O:p</O:p

    สิโรเม พุทธะ เทวัญจะ นะลาเต พรหมมะเทวะตา หะทะยัง นารายะกัญเจวะ ทะเวหัตเถ จะ ปะระเมสุรา ปาเท วิษณุกัญเจวะ สัพพะกัมมะ ประสิทธิ เม ฯ<O:p</O:p

    ความหมาย<O:p</O:p

    ขอบารมีพระพุทธเจ้าสถิตอยู่เหนือเศียรเกล้า พระพรหมสถิต ณ กลางหน้าผาก พระนารายณ์สถิต ณ กลางหัวใจ พระอิศวรประทานพลังให้มือทั้งสอง พระวิษณุกรรมประทานพลังให้เท้าทั้งสอง ขอความสำเร็จ จงบังเกิดมีแก่ข้าพเจ้า จงทุกประการเทอญฯ
    <O:p</O:p

    โองการพระเจ้า ๕ พระองค์<O:p</O:p

    โองการ พินทุ นาถัง อุปปันนัง พรหมมา สหปตินามะ อาทิกัปเป สุอาคโต ปัญจะ ปทุมัง ทิสวา นะโมพุทธายะ วันทะนัง ฯ<O:p</O:p
    นะ กาโร กะกุสันโธ<O:p</O:p
    โม กาโร โกนาคะมะโน<O:p</O:p
    พุธ กาโร กัสสะโปพุทโธ<O:p</O:p
    ธา กาโร โคตะโมพุทโธ<O:p</O:p
    ยะ กาโร อะริยะเมตตัยโย<O:p</O:p
    ปัญจะพุทธา นะมามิหัง ฯ
    <O:p</O:p

    คาถาหัวใจพระพุทธเจ้า ๒๘ พระองค์<O:p</O:p


    ตัง เม สะ ทิ โก มัง สุ เร โส อะ ปะ นา ปะ สุ สุ ปิ อะ ทะ สิ ติ ปุ วิ สิ เว กุ โก กะ โค นะ มา มิ หัง ฯ
    <O:p</O:p

    คาถานมัสการคุณพระรัตนตรัย
    (จากศิลาจารึกวัดตาเถรขึงหนัง สมัยกรุงศรีอยุธยาฯ)
    <O:p</O:p
    พุทธัง ปะฐะมะกัง วันเท ธัมมัง วันเท ทุติยะกัง สังฆัง ตะติยะกัง วันเท อาจะริยัญจะ อุททะกัง รัตตะนัตตะยัง นะมัสสิตตะวา สิระสา ชานุยุคคะเล อันตรายัมปิ ภาฏัตถัง (สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา) สัพพะสัตตุ วินัสสะตุ ฯ
    <O:p</O:p

    คาถาอัญเชิญครูประสิทธิ์ประสาท<O:p</O:p

    อุกาสะ อุกาสะ นะโมพุทธายะ สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง สิทธิวาจัง สิทธิการิยะ ตะถาคะโต สิทธิเตโช ชะโยนิจจัง สิทธิลาโภ นิรันตะรัง สัพพะกัมมัง ประสิทธิ เม พุทธัง สิทธิ ธัมมัง สิทธิ สังฆัง สิทธิ กายะสิทธิ วาจาสิทธิ สัพพะสิทธิ ภวันตุ เม ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    สิทธิ พุทโธ สิทธิ ธัมโม สิทธิ สังโฆ ตะนุตตะโม สิทธิอิสิ มุนิเทวา สิทธิมันตัง นะมามิหัง ฯ <O:p</O:p
    สาธุ พุทโธ สาธุ ธัมโม สาธุ สังโฆ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ฯ<O:p</O:p
    <O:p</O:p

    (พระคาถาทั้งหมดนี้จำเป็นอย่างยิ่งต่อผู้ที่ประสงค์จะเรียนพระคาถาทั้งปวง เพราะเป็นการไหว้ครู บูชาครู และขอพรจากครู ซึ่งในคัมภีร์นี้จะเน้นที่คุณแห่งพระรัตนตรัยเป็นหลัก)
    <O:p</O:p

    คำบูชาพระรัตนตรัย (อย่างย่อ)
    <O:p</O:p

    อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อภิปูชะยามิ<O:p</O:p
    อิมินา สักกาเรนะ ตัง ธังมัง อภิปูชะยามิ<O:p</O:p
    อิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อภิปูชะยามิ
    <O:p</O:p
    พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต<O:p</O:p
    ธัมมะบูชา มหาปัญโญ<O:p</O:p
    สังฆะบูชา มหาโภคะวะโห<O:p</O:p
    ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ ฯ

    <O:p</O:p


    คำสมาทานศีล (อย่างย่อ)<O:p</O:p


    (ตั้งนะโม ๓ จบ)<O:p</O:p

    อิมานิ ปัญจะ สิกขา ปะทานิ สะมาทิยามิ (๓ จบ)<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอสมาทานซึ่งศีล ประการ ณ กาลบัดนี้เทอญฯ<O:p</O:p
    (ถ้าศีล ก็เปลี่ยนจาก ปัญจะ เป็น อัฏฐะ แล้วตั้งจิตอธิษฐาน รักษาพรหมจรรย์ให้ดี ถือเป็นการบวชทางจิต มีอานิสงส์สูงมาก)
    <O:p</O:p

    พระคาถามหาทิพยมนต์<O:p</O:p

    อินทะสาวัง มหาอินทะสาวัง พรหมมะสาวัง มหาพรหมมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มหาเทวาสาวัง อิสีสาวัง มหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวัง มหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกาอิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ<O:p</O:p
    สาวังคุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง ธัมมังสัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สวาหายะ ฯ
    <O:p</O:p
    (พระคาถามหาทิพยมนต์นี้แต่เดิมเป็นบทสวดมนต์ที่เก่าแก่โบราณมาก ย่อมาจากบทสวด มหาสาวัง อันทรงอานุภาพและมีความศักดิ์สิทธิ์มากใช้สวดในพระราชพิธีเพื่อเป็นสิริมงคลมาแต่ครั้งสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ใช้สวดสมโภชองค์พระพุทธรูปและอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ตั้งแต่ อินทะ กำลังแห่งพระอินทร์ พรหมมะ กำลังแห่งท้าวมหาพรหม จักกะวัตติ กำลังแห่งพระมหาจักรพรรดิ เทวา กำลังแห่งทวยเทพ อิสี ตบะญาณแห่งพระฤาษี มุนี คุณวิเศษแห่งพระมุนี สัปปุริสะ ความดีแห่งสัปบุรุษคนดีทั้งหลาย และ พุทธะ ปัจเจกะพุทธะ อะระหัตตะ คือ บารมีแห่งคุณพระพุทธเจ้าทั้งหลาย รวมถึงพระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันต์เจ้าทั้งหลาย ที่ทรงไว้ซึ่งวิชชาและความสำเร็จอันเป็นไปในโลกทั้งหลายโดยไม่มีความขัดข้อง ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้า ส่วนท่อนที่สองจะกล่าวถึงอานิสงส์คุณแห่งการบำเพ็ญบารมีว่าจะนำมาซึ่งพลัง เดช ความสำเร็จทั้งทางโลกและทางธรรม และด้วยการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนามยปัญญาจะอำนวยผลให้ถึงพระนิพพานความหลุดพ้น และผลบุญที่ได้ยังนำมาซึ่งยศ ตบะ ความสุขและรูปร่างอันดีงามสมบูรณ์พร้อม จะตุวีสะติเทสะนัง เป็นคำย่อจากคัมภีร์พระอภิธรรมทั้งยี่สิบสี่บท ถือเป็นหัวใจสำคัญแห่งคำสอนของพระพุทธเจ้า หุลู หุลู หุลู สวาหายะ เป็นคาถาโบราณของพระฤาษี เพื่อเปิดจักระและลมปราณซึ่งพระคาถามหาทิพยมนต์นี้โบราณาจารย์ได้ย่นย่อ และ เรียบเรียงมาจากพระไตรปิฎก จึงเป็นบทสวดมนต์ที่สำคัญมาก ในคัมภีร์พระเวทย์โบราณของไทยบอกอานิสงส์ไว้เพียงว่า ไว้สวดเพื่อเสริมกำลังของธาตุในร่างกาย ช่วยปรับสภาพร่างกาย แก้อาการเจ็บป่วย ป้องกันและบรรเทาโรคภัยไข้เจ็บได้ แต่ความจริงแล้วยังมีอานิสงส์และอานุภาพมากมายยิ่งนัก และ บทสวดนี้ยังได้บรรจุลงไว้ในบทยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกอันเป็นบทสวดมนต์ที่สำคัญมาแต่ครั้งโบราณอีกด้วย สันนิษฐานว่าแต่งโดยคณะพระอรหันต์ผู้ทรงฤทธิ์อภิญญาในคราวสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ ๓ สมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย)
    <O:p</O:p

    พระคาถาบูชาพระพุทธเจ้า (ตามคติของพุทธมหายาน)<O:p</O:p

    นะโม สะตุ ปะระมาระถายะ วะโยมะ กัลละปายะโย ทะเธา ธะระมะ สัมโภคะ นิระมาณะ กายานัง ไตรโลกะยัง มุกตะเย ฯ<O:p</O:p
    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมซึ่งคุณแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวงอันไม่มีประมาณ ผู้ทรงไว้ซึ่งพระธรรมกาย พระสัมโภคกาย และพระนิรมาณกาย ผู้ยังไตรโลกให้หลุดพ้นจากโอฆะสงสารฯ ...สาธุ สาธุ สาธุ
    <O:p</O:p
    (พระคาถานี้เป็นภาษาสันสกฤต มีความหมายลึกซึ้ง ชาวพุทธเถรวาทแบบไทยเราอาจไม่เข้าใจว่า พระกายของพระพุทธเจ้านั้นแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ พระธรรมกายคือพระธรรมที่พระองค์ทรงได้ตรัสรู้ พระสัมโภคกายคือกายทิพย์แห่งพระองค์ที่สามารถแบ่งภาคไปโปรดเวไนยสัตว์ได้ทั่วทั้งจักรวาล พระนิรมาณกายคือรูปกายเนื้อที่พระองค์ทรงดำรงขันธ์อยู่และแตกสลายไปแปรสภาพเป็น พระบรมสารีริกธาตุ อันจะสถิตอยู่ในโลกมนุษย์และจักรวาลนี้ไปจนกว่าจะสิ้นสุดพุทธันดร หรือ ๕,๐๐๐ ปี โดยประมาณ ตามพระพุทธพยากรณ์)

    (มีต่อ........)<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 เมษายน 2009
  2. แม่น้ำห้าสาย

    แม่น้ำห้าสาย Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    16
    ค่าพลัง:
    +41
    รอตอนที่ 4 อยู่นะครับ
     
  3. หมอพล

    หมอพล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    2,083
    ค่าพลัง:
    +4,175
    ถ้ามีคนสนใจน้อย ผมก็ไม่อยากจะเขียนต่อครับ


    สนทนาธรรมเป็นรายบุคคลไปเลยจะดีกว่า



    ขอบพระคุณที่กรุณาติดตามอ่าน นะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กรกฎาคม 2009
  4. มหา

    มหา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    829
    ค่าพลัง:
    +973
    อย่างอนดิคร้าบ พี่หมอพล ....
     
  5. SANTISUK LUTANOM

    SANTISUK LUTANOM สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    9
    ค่าพลัง:
    +6
    ติดตาม ครับผม
     

แชร์หน้านี้

Loading...