คาถา บูชาเสด็จเตี่ย (กรมหลวงชุมพร) - เอื้ออังกูร

ในห้อง 'รวมบทสวดมนต์และคาถา' ตั้งกระทู้โดย torphak, 1 กุมภาพันธ์ 2021.

  1. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube บ้านเกิดเมืองนอน2564
    บ้านเกิดเมืองนอน 2564 - EP.1 ROCK FULL VERSION [ OFFICIAL MV ]
    www.youtube.com/watch?v=4ZMuuVbyYTI


    #แซ่ซ้องชาติไทย รักษาไว้ให้มั่นคง
    #วันนี้พี่โหด เหมียวววววววว:p
     
  2. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  3. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube CU Art Culture
    คลาสสิกสุนทราภรณ์ - ยามรัก
    www.youtube.com/watch?v=u0caQZij8AA


    #เพลงแอบรัก ร.ป.ภ.
    #ยามเช้า ยามบ่าย ยามค่ำ :p อ่ะล้อเล่งงงง
     
  4. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ทางรถไฟสายปากน้ำ

    265px-Hualamphong_Station_-_Paknam_Railways.jpg
    สถานีต้นทาง สถานีรถไฟหัวลำโพง
    ข้อมูลทั่วไป
    รูปแบบ รถไฟระหว่างเมือง
    ระบบ รถไฟทางไกล
    ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
    สถานะ ยกเลิก
    ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร
    จังหวัดสมุทรปราการ
    ปลายทาง หัวลำโพง
    ปากน้ำ
    จำนวนสถานี 12
    การดำเนินงาน
    เปิดเมื่อ 11 เมษายน พ.ศ. 2436
    ปิดเมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2503
    เจ้าของ บริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัด (2429–2479)
    การรถไฟแห่งประเทศไทย (2479–2503)
    ข้อมูลทางเทคนิค
    ระยะทาง 21.3 กม. (13.24 ไมล์)
    สามย่าน
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    สถานเสาวภา
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    2+300 กม.
    ศาลาแดง
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    วิทยุ
    20px-BSicon_STR%2Bl.svg.png
    20px-BSicon_xKRZ.svg.png
    20px-BSicon_STRq.svg.png
    จุดตัด
    ทางรถไฟสายมักกะสัน–แม่น้ำ
    20px-BSicon_STR.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    ตลาดคลองเตย
    20px-BSicon_STR.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    5+200
    คลองเตย
    20px-BSicon_STR.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    7+100 บ้านกล้วย
    20px-BSicon_STR.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    กล้วยน้ำไท
    20px-BSicon_hKRZWae.svg.png
    20px-BSicon_exhKRZWae.svg.png

    คลองพระโขนง
    20px-BSicon_STR.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    8.9
    พระโขนง
    20px-BSicon_STR.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    คลองสวนอ้อย
    20px-BSicon_STRl.svg.png
    20px-BSicon_xKRZ.svg.png
    20px-BSicon_STR%2Br.svg.png
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    20px-BSicon_STR.svg.png
    พระโขนงวิทยาลัย
    20px-BSicon_exhKRZWae.svg.png
    20px-BSicon_hKRZWae.svg.png

    คลองเจ๊ก
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    20px-BSicon_STR.svg.png
    10+500 บางจาก (คลองบางจาก)
    20px-BSicon_exSTR.svg.png
    20px-BSicon_KDSTe.svg.png
    โรงกลั่นน้ำมันบางจาก
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    12+000 กม.
    บางนา
    20px-BSicon_exhKRZWae.svg.png
    คลองบางนา
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    14+800 กม. สำโรง
    20px-BSicon_exhKRZWae.svg.png

    คลองสำโรง
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    17+300 กม. ศีรษะจระเข้ (หัวจระเข้)
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    18+800 กม. บางนางเกร็ง
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    โรงเรียนชุมพลทหารเรือ
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    20+000 กม. มหาวงศ์
    20px-BSicon_exhKRZWae.svg.png
    คลองมหาวงศ์
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    ศาลากลาง
    20px-BSicon_exBHF.svg.png
    21+300 กม. ปากน้ำ
    20px-BSicon_exENDEe.svg.png


    ทางรถไฟสายปากน้ำ ต่อมาเรียก รถไฟสายกรุงเทพฯ–สมุทรปราการ เป็นทางรถไฟเอกชนที่เดินรถระหว่างสถานีรถไฟหัวลำโพง กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟปากน้ำ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นระยะทาง 21.3 กิโลเมตร ตั้งแต่ พ.ศ. 2436 ถึง พ.ศ. 2503 เป็นทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย ที่ก่อตั้งขึ้นก่อนการเดินรถของรถไฟหลวงสายกรุงเทพ-อยุธยาถึงสามปี

    แต่เดิมทางรถไฟสายดังกล่าวเป็นสัมปทานของบริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัดโดยมีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำพิธีเริ่มการก่อสร้าง และได้เสด็จไปในพิธีเปิดด้วย แต่เดิมทางรถไฟสายปากน้ำมีทั้งหมด 10 สถานี ต่อมาจึงเพิ่มเติมเป็น 12 สถานี

    หลังสิ้นสุดสัมปทานในเวลา 50 ปี เส้นทางรถไฟดังกล่าวตกอยู่ในการบริหารกิจการของกรมรถไฟต่อ ครั้นในรัฐบาลจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์
    ได้ยกเลิกเส้นทางรถไฟสายปากน้ำเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 โดยได้มีการสร้างถนนแทน ปัจจุบัน คือ ถนนพระราม 4 และถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ

    ประวัติ
    ทางรถไฟสายปากน้ำดำเนินการโดย กอมปานีรถไฟ หรือ บริษัทรถไฟปากน้ำทุนจำกัด บริหารงานโดยพระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ) ชาวเดนมาร์ก และพระนิเทศชลธี (แอลเฟรด ยอนลอบเตอด เยฟอานีเอช) ได้รับสัมปทานตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2429 เป็นเวลา 50 ปี สิ้นสุด พ.ศ. 2479 เริ่มดำเนินการก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2434 มีวิศวกรเดินรถชื่อ ที.เอ. ก็อตเช่ (Captain T.A. Gottsche)
    ชาวเดนมาร์ก ต่อมาได้รับราชทินนามเป็น ขุนบริพัตรโภคกิจ ต้นสกุล คเชศะนันทน์ ครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงทำพิธีเริ่มการก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2434

    เมื่อทางรถไฟสายปากน้ำแล้วเสร็จเปิดเดินขบวนรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2436 (ร.ศ. 112) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิดบริการ และเสด็จขึ้นประทับโดยสารขบวนรถไฟพระที่นั่ง พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ ในพิธีเปิดการเดินรถครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัส ปรากฏความตอนหนึ่งว่า

    "...เรามีความยินดี ที่ได้รับน่าที่อันเปนที่พึงใจ คือจะได้เปนผู้เปิดรถไฟสายนี้ ซึ่งเปนที่ชอบใจแลปรารถนามาช้านานแล้วนั้นได้สำเร็จสมประสงค์ลงในครั้งนี้ เพราะเหตุว่า เปนรถไฟสายแรกที่จะได้เปิดในบ้านเมืองเรา แล้วยังจะมีสายอื่นต่อ ๆ ไปอีกเปนอันมากในเร็ว ๆ นี้ เราหวังใจว่าคงจะเปนการเจริญแก่ราชการ แลการค้าขายในบ้านเมืองเรายิ่งนัก..."

    25 ธันวาคม พ.ศ. 2453 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานอำนาจพิเศษแก่บริษัทรถไฟสายปากน้ำทุนจำกัด
    หลังสิ้นสุดสัมปทาน การรถไฟแห่งประเทศไทยได้ซื้อเส้นทางรถไฟสายดังกล่าวมาดำเนินกิจการระยะหนึ่ง และท้ายที่สุดได้มีการยกเลิกทางรถไฟสายนี้ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503 ในรัฐบาล
    จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มีคำสั่งให้รื้อทางรถไฟและถมคลองสร้างเป็น ถนนพระราม 4 และถนนทางรถไฟสายเก่า

    การเดินรถ
    250px-Paknam_Tram_in_Paknam_Station.jpg
    ตัวขบวนรถรางไฟฟ้าชนิด EMU จอดอยู่ที่สถานีปากน้ำ
    สถานีต้นทางรถไฟ คือ สถานีหัวลำโพง ตั้งอยู่ริมคลองหัวลำโพง ปัจจุบันคือบริเวณถนนพระราม 4 ตรงข้ามกับสถานีรถไฟกรุงเทพในปัจจุบัน สถานีปลายทางคือ สถานีปากน้ำ ปัจจุบันเป็นถนนหน้าทางเข้าท่าเรือข้ามฟากไปฝั่งพระสมุทรเจดีย์ ระหว่าง พ.ศ. 2436 ถึง พ.ศ. 2459 มีสถานีรายทางทั้งสิ้น 10 สถานี และเพิ่มเป็น 12 สถานีจนสิ้นสุดการเดินรถ

    ค่าโดยสารไปกลับราคา 1 บาท ส่วนรายสถานีคิดค่าโดยสารระยะสถานี สถานีละ 1 เฟื้อง มีขนาดราง 1.00 เมตร ขบวนรถโดยสารหนึ่งขบวนจะประกอบไปด้วยตู้โดยสารสี่ตู้ และโบกี้ห้ามล้ออีกหนึ่งโบกี้ มีระดับชั้นที่นั่งสองระดับคือชั้นสองและชั้นสามเท่านั้น ทั้งนี้ตลอดหนึ่งชั่วโมงของการเดินทางจะต้องผ่านสะพานข้ามคูคลองจำนวนมากซึ่งสะพานส่วนใหญ่ทำจากไม้ มีเพียงบางส่วนที่เป็นไม้กับเหล็ก

    การเดินรถในระยะแรก ใช้หัวรถจักรไอน้ำ ผลิตโดยบริษัท Krauss & Co of Munich จากเมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จนกระทั่ง พ.ศ. 2468
    จึงได้เปลี่ยนเป็นรถไฟฟ้าเช่นเดียวกับรถรางในกรุงเทพฯ อย่างไรก็ตามกิจการทางรถไฟสายปากน้ำต้องประสบกับการขาดทุนด้านทางราชการจึงให้เงินกู้ยืม ถือเป็นครั้งแรกที่ให้บริษัทต่างชาติกู้ยืมเงิน ทั้งนี้ก็เพื่อรักษาทางรถไฟสายแรกของไทยให้ดำเนินกิจการต่อไปได้

    ในปี พ.ศ. 2492-3 ทางรถไฟสายปากน้ำได้มีการใช้รถไฟฟ้าจากบริษัทนิปปอนชาเรียวของญี่ปุ่นแทนการใช้รถจักรไอน้ำด้วยมีประสิทธิภาพกว่าประกอบกับกำลังได้รับความนิยม โดยได้เปิดการเดินรถพร้อมกับรถไฟฟ้าของโตเกียว ลุมาจนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง รถรางสายปากน้ำได้รับความเสียหายเนื่องจากสายเคเบิลไฟฟ้าถูกตัดขาดที่บริเวณบางจาก แต่ก็ยังคงเปิดดำเนินการอยู่ตามปกติ โดยพนักงานรถรางจะต้องปีนขึ้นไปบนหลังคารถแล้วบังคับแหนบรับไฟให้สามารถรับกระแสไฟฟ้าได้โดยตลอด ในขณะที่รถผ่านบริเวณจุดที่เกิดความเสียหายเพื่อให้รถรางสามารถวิ่งต่อได้จนถึงปลายทาง

    เหตุการณ์สำคัญ
    %B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3.jpg
    อนุสาวรีย์รถไฟสายปากน้ำ หน้าตลาดปากน้ำในปัจจุบัน
    ช่วงเหตุการณ์ ร.ศ. 112 เมื่อคราที่ฝรั่งเศสส่งเรือรบสองลำฝ่าการป้องกันของป้อมพระจุลจอมเกล้าเข้ามาเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2436 รถไฟขบวนสุดท้ายในคืนนั้นถูกลูกหลงจากการโจมตีไม่ทราบฝ่ายเป็นเหตุให้มีผู้โดยสารเสียชีวิตหนึ่งราย บาดเจ็บหนึ่งราย และมีหญิงชราหัวใจวายตายไปอีกหนึ่งคน พระยาชลยุทธโยธินทร์ (อองเดร ดู เปลซี เดอ ริเชอลิเออ) ซึ่งเป็นผู้อำนวยการป้องกันปากแม่น้ำจึงขึ้นรถไฟสายนี้ตามเรือรบฝรั่งเศสเข้ามา หวังจะเอาเรือพระที่นั่งมหาจักรีพุ่งชน แต่ทางการไทยเกรงว่าจะเกิดปัญหากับฝรั่งเศสอีกจึงใช้วิธีเจรจาแทน

    ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/ทางรถไฟสายปากน้ำ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2021
  5. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  6. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube
    ระหว่างราง ทางรถไฟ ตอน 12 รถจักรไอน้ำ ตำนานที่ยังมีชีวิต
    www.youtube.com/watch?v=FM22nmTCiqA

     
  7. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    วัดต้นสน
    2 หมู่ 2 ถนนนาควัช บ้านแหลม, เพชรบุรี

    images?q=tbn:ANd9GcTgvtgrbEJAedlfd2wfsdHhSgbmJwh-yu2T-Q&usqp=CAU.jpg upload_2021-10-15_20-32-32.jpeg upload_2021-10-15_20-32-19.jpeg

    เป็นวัดสำคัญของชาวบ้านแหลม เป็นศูนย์รวมในการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมต่างๆ ของชุมชนบ้านแหลม มีสิ่งสำคัญอันเป็นมิ่งขวัญของชาวบ้านแหลม คือหลวงพ่อสัมฤทธิ์ นอกจากนี้ยังมีรูปปั้นกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ซึ่งแปลกกว่าที่อื่น เนื่องจากด้านหลังมีรูปปั้นหลวงพ่อทวดยืนเกือบชิดกัน บริเวณหน้าวัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำแม่น้ำเพชรบุรี มีสะพานคอนกรีตสูงทอดข้ามแม่น้ำ มีศาลาไทยริมน้ำสำหรับนั่งพักผ่อน มองเห็นทิวทัศน์สวยงามของหมู่บ้านชาวประมงมีเรือจอดอยู่เรียงรายและมีนกนางแอ่นมาทำรังอยู่ในวัดและโดยรอบ จึงมีการทำธุรกิจเก็บรังนก โดยการสร้างตึกสูงสำหรับให้นกนางแอ่นมาอาศัย

    วัดต้นสน เดิมมีชื่อด้วยกันหลายชื่อ เช่น วัดสนธยา, วัดนอก, วัดนอกต้นสน ที่เรียกกันว่า “วัดต้นสน” จนถึงปัจจุบันนี้ เหตุเพราะเดิมนั้นมีต้นสนขึ้นอยู่กลางวัด จึงถือเป็นนิมิตหมายให้เรียกเป็นชื่อของวัดติดมาถึงทุกวันนี้ เนื่องด้วยไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างวัดต้นสนอย่างชัดเจน จึงไม่สามารถรู้ถึงปีที่สร้างวัดที่แท้จริง แต่ก็พอ สันนิษฐานได้ว่า การสร้าง วัดต้นสนน่าจะเริ่มต้นนับจากการมีเจ้าอาวาสปกครองวัดแล้ว โดยกำหนดเอาพระอธิการคล้ำเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ท่านได้เป็นเจ้าอาวาสเมื่อ พ.ศ.2326 ถึง พ.ศ.2347 ถ้านับจากปี พ.ศ.2326 ถึงปี พ.ศ.2562 วัดต้นสนจะมีอายุได้ 236 ปีไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง ในหนังสือตำนานไทย เขียนโดย นายอาบ ไชยาคำ ได้เขียนถึงเรื่องการสร้างวัดต้นสนไว้ว่า “เมื่อ พ.ศ.2405 สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ขณะนั้นเป็นเจ้าพระยาศรี มาอำนวยการก่อสร้างวังบนเขา เมื่อ พ.ศ.2402 เมื่อเสร็จแล้ว ผู้คนที่เกณฑ์มาใช้การงานยังไม่ได้ปลดปล่อย จึงให้มาทำกระโจมไฟ หรือประภาคารปากทางเข้าอ่าวบ้านแหลม เป็นตึกสี่เหลี่ยมหลังคามุงกระเบื้องสีแดง ตรงกลางมีเสาสำหรับชักโคมกลางคืน มีคนเฝ้า ขณะนั้นปากอ่าวอยู่ใกล้ราวศาลเจ้าโจ้บัดนี้ เมื่อก่อนไม่มี ท่านได้มาปลูกเรือนแพที่ริมน้ำตรงท้องคุ้งสะพานยาวบัดนี้ ระหว่างนั้นท่านก็สร้างวัดต้นสนไปด้วย แต่ชาวบ้านเรียกว่าวัดนอกหรือวัดปากอ่าวก็ถูกทั้งสองอย่าง”

    จากข้อมูลที่เขียนโดย นายอาบ ไชยาคำ สรุปตามความเห็นของท่านว่า สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สร้างวัดต้นสน ใน พ.ศ.2405 ในเรื่องนี้ คุณสุธรรม เงินกอง และคุณมั่นเกียรติ โกศลนิรัติวงษ์ ได้เขียนเรื่องประวัติวัดต้นสนไว้เช่นกัน เมื่อ พ.ศ.2518 โดยไม่เห็นด้วยกับข้อมูลของนายอาบ ไชยาคำ ที่ว่าสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรี(ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สร้างวัดต้นสน ใน พ.ศ.2505 โดยได้ตั้งข้อสังเกตไว้ดังนี้

    (1) ที่ตั้งกระโจมไฟที่ปากอ่าว
    (2) ขณะนั้นปากอ่าวอยู่ใกล้ศาลเจ้าโจ้
    (3) วัดที่ท่านสร้างมักปรากฏในประวัติของท่าน แต่ไม่มีวัดต้นสนในประวัติของท่านเลย
    (4) ในประวัติหลวงพ่อสัมฤทธิ์กล่าวว่า “เมื่อ พ.ศ.2384 มีคนร้ายลักพาหลวงพ่อสัมฤทธิ์ไป พระอธิการยังได้ติดตามนำกลับมา” แสดงว่า หลวงพ่อสัมฤทธิ์ประดิษฐานที่วัดต้นสนนี้ก่อน พ.ศ.2405

    ในการตั้งข้อสังเกตนี้ ผู้เรียบเรียง (ธีร์ พุ่มทับทิม) ขอเพิ่มเติมข้อสังเกตไว้ด้วยว่า ตามประวัติเจ้าอาวาสวัดต้นสนเริ่มที่พระอธิการคล้ำ ปกครองวัดต้นสนตั้งแต่ พ.ศ.2326 – 2347 ห่างจาก พ.ศ.2405 ถึง 58 ปี จึงเป็นไปได้ยากที่มีเจ้าอาวาสวัดก่อนจะมีการสร้างวัดจะมีขึ้นมา เพราะโดยธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติแล้ว ต้องมีวัดขึ้นก่อนจึงจะมีการแต่งตั้งเจ้าอาวาสวัด แต่ก็มีความเป็นไปได้ว่า สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) จะได้นำวัสดุที่เหลือจากการสร้างพระนครคีรี มาบูรณะปฏิสังขรณ์วัดต้นสน ซึ่งเป็นสถานที่จอดพักเรือที่ขนวัสดุสิ่งของก่อนที่จะเดินทางข้ามทะเลกลับยังเมืองหลวงต่อไป

    หลวงพ่อสัมฤทธิ์ประดิษฐานที่วัดต้นสน อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี เป็นเวลาช้านานแล้ว ประวัติที่ถูกต้องแท้จริงเป็นอย่างไรไม่ทราบชัด เพราะไม่สามารถสืบหาพยานหลักฐานมาแสดง ได้แต่เล่าสืบพ่อกันมาบ้าง หลักฐานทางประวัติศาสตร์บ้าง ลักษณะทางพุทธปฎิมากรรมบ้างมาอ้างอิงเพื่อให้สอดคล้องใกล้เคียงกันพอจะเชื่อถือได้

    ลักษณะของพระพุทธรูปองค์นี้ มีรูปลักษณะเป็นแบบสมัยละบุรี เป็นพระพุทธรูปปางห้ามสมุทร สูงประมาณ 87 เซนติเมตร ความกว้างพระอุระ 30 เซนติเมตร เนื้อโลหะทำด้วยสัมฤทธิ์ทั้งองค์ เป็นฝีมือการสร้างของมอญ ความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อสำฤทธิ์เป็นที่รู้จักกันดีของประชาชนชาวบ้านแหลมและอำเภอใกล้เคียง ตลอดจนชาวจังหวัดต่างๆ ทั้งใกล้และไกลต่างพากันมานมัสการกราบไหว้ เสี่ยงทาย บนบานอยู่เสมอมิได้ขาด ทั้งในทางรักษาโรคภัยไข้เจ็บด้วยน้ำพระพุทธมนต์ แคล้วคลาดภยันอันตรายต่างๆ การทำมาค้าขาย การประกอบอาชีพให้เจริญรุ่งเรือง ชาวบ้านแหลมยึดถือเอาองค์หลวงพ่อสัมฤทธิ์เป็นหลักชัยที่ยึดมั่นประจำใจในการสร้างความดี เพื่อให้ประสพผลสำเร็จเสมอมา ทางวัดได้จัดให้มีงานนมัสการหลวงพ่อสัมฤทธิ์เป็นประจำในราวกลางเดือน 12 ของทุกปี

    มีเรื่องเล่าต่อๆ กันมาว่า กษัตริย์มอญแห่งกรุงหงสาวดีเป็นผู้สร้างพระองค์นี้ ในสมัยนั้นขอมยังเป็นใหญ่ในสุวรรณภูมิ ขอมกับมอญมีมัมพันธภาพทางเชื้อสายกันอย่างใกล้ชิดอันเชื่อมโยงมาแต่สมัยทวาราวดี เหตุนี้กระมังจึงผูกเรื่องเข้ามาเกี่ยวข้องกับประวัติที่มาของหลวงพ่อสัมฤทธิ์

    เมื่อสมัยสงครามมอญกับพม่า สมัยสมเด็จพระเจ้าอนิรุทธมหาราช ราว พ.ศ. 1600 ต้นเหตุแห่งสงครามคือการที่พม่าขอพระธรรมคำภีร์ ไตรปิฎกและพระคณาจารย์ เพื่อนำไปฟื้นฟูพระศาสนาในพม่าซึ่งกำลังเสื่อม แต่ทางมอญขัดข้องอ้างว่าพระคณาจารย์ไม่ยอมไป พม่าจึงยกทัพไปรบมอญ พระสงฆ์ฝ่ายรามัญประเทศได้ขนย้ายและซุกซ่อนพระธรรมคัมภีร์กับพุทธรูปเป็นการใหญ่


    คงเป็นเพราะสาเหตุนี้กระมังหลวงพ่อสัมฤทธิ์จึงถูกซุกซ่อนในโพลงมะกอกใหญ่แห่งหนึ่งในเมืองหลวงหงสาวดี ต่อมาพวกชีผ้าขาวตนหนึ่งได้ไปนั่งพักที่โคนต้นมะมอกซึ่งซ่อนพระพุทธรูปองค์นี้ไว้ จึงเกิดอัศจรรย์ปาฏิหารย์เป็นแสงสว่างพุ่งออกมา ชีผ้าขาวตนนั้นเห็นเข้าจึงเอาผ้าห่มแบกขึ้นเดินรอนแรมมาจนถึงเมืองสุโขทัย บังเอิญข้ามแม่น้ำเรือเกิดล่มพระองค์นี้จึงจมหายหาไม่พบ ต่อมากล่าวว่าพระปาฏิหารย์ลอยขึ้นมากระทบเรือค้าพลูเข้า พ่อค้าจึงนำไปกับเรือโดยใช้ใบตองปิดคลุมไว้ เที่ยวล่องเรือค้าขายจนกระทั่งมาถึงอ่าวบ้านแหลม จึงนำเรือมาจอดที่ท่าน้ำวัดต้นสน หลวงพ่อสัมฤธิ์ได้ไปเข้าฝันท่านสมภารให้ไปขอซื้อที่เรือพ่อค้าก็ได้ถวายท่านมา พระองค์นี้จึงได้ประดิษฐานเป็นหลักชัยของวัดต้นสนนับแต่นั้นมา

    ที่มา : http://www.banlaemcity.go.th/Main/PlaceotopPreview/id/6
     
  8. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  9. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2021
  10. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  11. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  12. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  13. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube TUNGMAY
    The Voice Thailand Season5 | โจอี้บอย-ดา อาย,ลอยทะเล
    www.youtube.com/watch?v=jqvajXGSG_g

    ...........................................................

    ที่มา youtube
    Bigtoy
    อยากเอาเธอนั้นไปลอยทะเล (อินเดีย)
    www.youtube.com/watch?v=_hitIhtJ8VE


    #ใครแปลออก บอกทีมีคำว่าทะเลในเพลงบ้างไหมฮืม?:D
     
  14. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    กองทัพเรือไทย
    mages?q=tbn:ANd9GcQl5FszNiYd3RYolU2y8wOL58izyZe8-d-wZGZv0bYUtpRNjCw6RRxkxNzZ-XOQJtWdIcs&usqp=CAU.jpg

    กองทัพเรือไทย หรือ ราชนาวีไทย (คำย่อ: ทร., อังกฤษ: Royal Thai Navy) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของประเทศไทย กองทัพเรือมีจำนวนกำลังพลประจำการเป็นลำดับ 2 (รองจากกองทัพบก) ซึ่งมีเรือปฏิบัติการด้วยเรือรบกว่า 74 ลำ อากาศยานกว่า 90 เครื่อง และกำลังรบทางบกอีก 2 กองพล นับเป็นกองทัพเรือที่มีความสำคัญในลำดับต้นของภูมิภาคเอเชีย กองทัพเรือมีผู้บัญชาการทหารเรือเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด โดยเป็นหน่วยงานในสังกัดของกองบัญชาการกองทัพไทย ที่มีผู้บัญชาการทหารสูงสุดเป็นผู้บังคับบัญชา และอยู่ในสังกัดของกระทรวงกลาโหม

    กองทัพเรือมีพื้นที่ปฏิบัติการหลักทั้งในอ่าวไทย และทะเลอันดามัน ตามแนวเขตแดนระหว่างประเทศในทะเลความยาวกว่า 1,680 ไมล์ และตามแนวชายฝั่งความยาวกว่า 1,500 ไมล์ หน่วยต่าง ๆ ในสังกัดกองทัพเรือมีลักษณะการจัดโครงสร้างหน่วยที่คล้ายกับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกามาก โดยเฉพาะในหน่วยกำลังรบ คือ กองการบินทหารเรือ กองเรือยุทธการ (กบร. กร.) หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ (นสร. กร.) และหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน (นย.)

    พ.ศ. 2394 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการทหารเรือเริ่มแบ่งออกมาชัดเจน และแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ทหารเรือวังหลวง (ทหารมะรีนสำหรับเรือรบ) ขึ้นตรงกับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) สมุหพระกลาโหม และทหารเรือวังหน้า ขึ้นตรงกับพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทหารเรือวังหน้ามีหน่วยขึ้นในสังกัด คือ กรมเรือกลไฟ กรมอาสาจาม และกองทะเล (บางทีเรียกว่ากองกะลาสี) ส่วนกรมอรสุมพลมีหน่วยขึ้นในสังกัด คือ กรมเรือกลไฟ กรมอาสามอญ และกรมอาสาจาม ซึ่งทหารทั้งสองหน่วยนี้เป็นอิสระจากกัน

    พ.ศ. 2408 ในสมัยต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การปกครองประเทศยังเป็นระบบจตุสดมภ์อยู่โดยมีกรมพระกลาโหมว่าการฝ่ายทหาร ในขณะนั้นกิจการฝ่ายทหารเรือแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ทหารเรือวังหน้า หรือทหารเรือฝ่ายพระราชวังบวร ขึ้นตรงกับกรมพระราชวังบวรสถานมงคล (กรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ) และทหารเรือวังหลวง หรือกรมอรสุมพล ขึ้นตรงกับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2412 ขึ้นตรงกับเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ สมุหพระกลาโหม

    พ.ศ. 2415 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปรับปรุงหน่วยทหารในกองทัพขึ้นใหม่ โดยแบ่งออกเป็น 9 หน่วย โดยในส่วนของทหารเรือวังหลวง คือ กรมทหารเรือพระที่นั่ง (เวสาตรี) และกรมอรสุมพล

    พ.ศ. 2428 กรมพระราชวังบวรสถานมงคลเสด็จทิวงคต ทหารเรือวังหน้าได้ถูกยุบเลิกไป จึงทำให้ทหารเรือในขณะนั้นมี 2 ส่วน คือ กรมทหารเรือพระที่นั่ง ขึ้นตรงกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนกรมอรสุมพล ขึ้นตรงกับเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ สมุหพระกลาโหม

    8 เมษายน พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชาทั่วไปในกรมทหาร (Commander-in-chief) ตามโบราณราชประเพณี เพื่อให้เกิดการประสานงานที่มีประสิทธิภาพระหว่างหน่วยทหารต่าง ๆ พร้อมกับประกาศจัดการทหาร โดยจัดตั้งกรมยุทธนาธิการขึ้น ซึ่งเป็นการรวมกองทหารบกและกองทหารเรือเอาไว้ด้วยกัน ทั้งหมด ขึ้นตรงกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร แต่ในระหว่างที่ยังทรงพระเยาว์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช เป็นผู้แทนผู้บังคับบัญชาการทั่วไปในกรมทหาร สำหรับกองทหารเรือทรงตั้ง นายพลเรือโท พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์ เป็นเจ้าพนักงานใหญ่ผู้ช่วยบัญชาการทหารเรือ (Secretary to the Navy) มีหน้าที่ คือ ให้จัดการทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายข้อบังคับทหารเรือ จำนวนผู้คนในทหารเรือ การฝึกหัดทหารเรือ เรือรบหลวง และพาหนะทางเรือ .............

    200px-Chuang_Bunnak_%281%29.jpg

    สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง (23 ธันวาคม พ.ศ. 2351 – 19 มกราคม พ.ศ. 2426) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในสกุลบุนนาคของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย

    นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น

    ชีวิตส่วนตัว
    สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ มีนามเดิมว่า ช่วง เป็นบุตรชายคนโตของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) กับท่านผู้หญิงจันทร์ เกิดปีมะโรง วันศุกร์ เดือนยี่ ขึ้น 7 ค่ำ ตรงกับวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2351 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดารวม 9 คน แต่มีชีวิตจนเติบใหญ่มาพร้อมกับท่านเพียง 4 คน ได้แก่ เจ้าคุณหญิงแข (เจ้าคุณตำหนักใหม่) เจ้าคุณหญิงปุก (เจ้าคุณกลาง) เจ้าคุณหรุ่น (เจ้าคุณน้อย) และพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค) การศึกษาในวัยเยาว์ของท่านนั้น คงเล่าเรียนที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เนื่องจากการเล่าเรียนของผู้ดีสมัยก่อนนั้นมักจะเรียนกันที่วัด เมื่อเติบใหญ่จึงเล่าเรียนวิชาที่บ้านจากบุคคลในตระกูลของท่านเอง โดยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ บิดาของท่านนั้นดำรงตำแหน่งเป็นพระยาพระคลังเสนาบดีว่าการต่างประเทศและได้ว่าการปกครองหัวเมืองชายทะเลฝ่ายตะวันออก ดังนั้น ท่านจึงได้ศึกษาราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการต่างประเทศและการปกครองมาจากบิดาของท่านเอง

    ท่านสมรสกับท่านผู้หญิงกลิ่น มีบุตรธิดา 4 คน เป็นบุตรชาย 1 คน ได้แก่ เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) สมุหพระกลาโหมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นบิดาของเจ้าคุณพระประยูรวงศ์และเจ้าจอมมารดาโหมด เจ้าจอมมารดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนธิดาอีก 3 คน ได้แก่ คุณหญิงกลาง ภรรยาพระยาสีหราชฤทธิไกร (แย้ม บุณยรัตพันธุ์) คุณหญิงเล็ก และคุณหญิงปิ๋ว นอกจากนี้ ท่านยังสมรสกับ ท่านผู้หญิงพรรณและท่านผู้หญิงหยาด (บุตรีพระยาวิชยาธิบดี เจ้าเมืองจันทบุรี ต่อมาเป็นพระยาศรีอรรคราชนารถภักดี (เมือง บุรานนท์) ต้นสกุลบุรานนท์) และ ท่านปราง บุตรี พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี) แต่ไม่มีบุตรด้วยกัน

    %B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B9%8C.jpg

    เจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ นามเดิม วร ตระกูลบุนนาค (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2371 - พ.ศ. 2431) มีนามเดิมว่า วร หรือ วอน เป็นบุตรชายคนโตของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) กับท่านผู้หญิงกลิ่น ธิดาหลวงแก้วอายัติ (จาด)

    ประวัติ
    ท่านเริ่มรับราชการตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าหมื่นไวยวรนารถ หัวหมื่นมหาดเล็ก และเป็นอุปทูตติดตามพระยาศรีพิพัฒน์ (แพ บุนนาค) ราชทูต ออกไปเจริญทางพระราชไมตรีที่กรุงปารีส จักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง ในปี พ.ศ. 2403 ต่อมาท่านได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ จางวางมหาดเล็ก และเป็นราชทูต ไปฝรั่งเศสอีกครั้งใน พ.ศ. 2409

    ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ ที่สมุหพระกลาโหม ศักดินา 10,000 เมื่อ พ.ศ. 2412 ท่านดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม เป็นเวลา 19 ปี จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2431 บุคคลทั่วไปออกนามเรียกเป็นการสามัญว่า “เจ้าคุณทหาร” หรือ “เจ้าคุณกลาโหม” และชื่อเรียกนี้ก็กลายมาเป็นชื่อของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในเวลาต่อมา

    เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์มีบุตรธิดารวมทั้งสิ้น 65 คน โดยบุตรธิดาที่รับราชการในตำแหน่งสำคัญ เช่น

    - พระยาประภากรวงศ์วรวุฒิภักดี (ชาย บุนนาค) พระยาจางวางมหาดเล็กและบังคับการกรมทหารเรือ ในรัชกาลที่ 5
    - เจ้าพระยาสุรวงษ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) เป็นนายพลโท สมุหราชองครักษ์
    - พระยาราชานุวงศ์ (เล็ก บุนนาค) รับราชการในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติในรัชกาลที่ 6
    - เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ พระสนมเอกในรัชกาลที่ 5
    - เจ้าจอมมารดาโหมด ในรัชกาลที่ 5 พระมารดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
    - คุณหญิง
    เล็ก บุนนาค พระชนนีในพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
    - หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา หม่อมห้ามสะใภ้หลวงใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
    - คุณหญิงเลี่ยม บุนนาค
    - อ่อน บุนนาค
    220px-Mot_Bunnak.jpg

    เจ้าจอมมารดาโหมด เป็นบาทบริจาริกาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบุตรีคนที่ 6 ของเจ้าพระยาสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ที่เกิดแต่ท่านผู้หญิงสุรวงษ์ไวยวัฒน์ (อิ่ม) และยังเป็นน้องสาวร่วมบิดามารดากับเจ้าคุณพระประยุรวงศ์อีกด้วย ท่านเกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2405

    ต่อมาท่านได้เข้าไปอยู่ในพระบรมมหาราชวัง โดยพำนักอยู่กับเจ้าคุณพระประยุรวงศ์ ผู้เป็นพี่สาว ต่อมา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าจอม และได้ประสูติพระราชโอรส-พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 3 พระองค์ คือ

    - พระองค์เจ้าชายอาภากรเกียรติวงศ์ ประสูติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 ต่อมาเป็น "กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์" และเป็นองค์ต้นราชสกุล "อาภากร"
    - พระองค์เจ้าหญิงอรองค์อรรคยุพา ประสูติเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2424
    - พระองค์เจ้าชายสุริยงประยุรพันธ์ ประสูติเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 ต่อมาเป็น "กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส" และเป็นองค์ต้นราชสกุล "สุริยง"

    อสัญกรรม
    เจ้าจอมมารดาโหมด พำนักในพระบรมมหาราชวังมาตลอดรัชกาลที่ 5 เมื่อสิ้นรัชกาลแล้ว จึงได้กราบบังคมทูลลาออกมาพำนักกับพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ ณ วังนางเลิ้งตลอดมา มีความสุขอยู่กับการเลี้ยงดูพระราชนัดดา ในราชสกุล "อาภากร" และ "สุริยง" จนกระทั่งป่วยด้วยโรคเนื้องอกทับหลอดอาหาร ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2475 สิริอายุ 70 ปี ได้รับโกศไม้สิบสอง ชั้นรอง 2 ชั้น ฉัตรเบญจา 1 สำรับ เป็นเกียรติยศ

    กิจการทหารเรือ

    กิจการทหารเรือเริ่มแบ่งออกมาชัดเจน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2394 มีหน่วยทหารเรือ 2 หน่วยคือ
    ทหารเรือวังหน้า ขึ้นอยู่ในบังคับบัญชาของพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ มีหน่วยขึ้นสังกัดคือ เรือ กรมเรือกลไฟ กรมอาสาจาม และ กองทะเล
    ทหารมะรีน ขึ้นอยู่ในบังคับบัญชาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) สมุหพระกลาโหม มีหน่วยในสังกัดคือ กรมอรสุมพล ประกอบด้วย กรมเรือกลไฟ กรมอาสาจาม และกรมอาสามอญ ทหารทั้งสองหน่วยนี้เป็นอิสระจากกัน
    ในระยะนี้มีเรือของฝรั่งชาติต่าง ๆ เข้ามาค้าขายราชอาณาจักรไทยมากขึ้นเป็นลำดับ เรือเดินทะเลเริ่มมีความจำเป็นมากขึ้น และเปลี่ยนจากยุคเรือใบมาเป็นยุคเรือกลไฟเป็นครั้งแรก เรือที่สร้างขึ้นในระยะแรก ๆ เป็นเรือกลไฟจักรข้าง ต่อมาจึงเป็นจักรท้าย ลำเรือต่อด้วยไม้ เครื่องจักรไอน้ำสั่งซื้อจากต่างประเทศ เรือเหล็กมีเฉพาะที่สั่งต่อจากต่างประเทศ เรือกลไฟลำแรกที่ต่อในประเทศไทยคือ
    เรือสยามอรสุมพล
    ต่อเมื่อปี พ.ศ. 2398

    upload_2021-10-16_8-13-36.jpeg upload_2021-10-16_8-13-57.jpeg


    เมื่อปี พ.ศ. 2406 พระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส ได้ถวายเรือกลไฟให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ คือ เรืออรรคเรศรัตนาสน์
    img41.jpg
    พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า ฯ ทรงเป็นคนไทยพระองค์แรก ที่เป็นเจ้าของเรือกำปั่นที่ทำด้วยเหล็กทั้งลำ คือ เรือมงคลราชปักษี เป็นเรือของชาวอเมริกัน พระองค์ได้ทรงซื้อมาดัดแปลงเป็นเรือรบและเรือพระที่นั่ง อู่เรือที่สามารถซ่อมสร้างเรือกลไฟของทางการมีอยู่ 3 อู่ ด้วยกันคือ
    อู่เรือใต้วัดระฆัง เป็นอู่เรือหลวง ได้ใช้งานต่อมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ
    อู่เรือวังหน้า สร้างขึ้นเพื่อซ่อมสร้างเรือรบและเรือพระที่นั่งของวังหน้า ตั้งอยู่บริเวณโรงทหารเรือวังหน้า ปัจจุบันคือที่ตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
    อู่เรือบ้านสมเด็จ อยู่ในความอำนวยการของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ตั้งอยู่หน้าวัดอนงคาราม
    สำหรับอู่เรือของชาวต่างประเทศ มีอยู่ 2 อู่ คือ อู่บริษัทแมคลีน สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2398 และอู่บริษัทบางกอกด๊อก สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2408

    ที่มา: 1. wikipedia.org
    2. http://www.thaiheritage.net/nation/military/military1/index07.htm
    3. ภาพจาก facebook นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ facebook เรือพระที่นั่งสยามอรสุมพล
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  15. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  16. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  17. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  18. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
  19. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283
    ที่มา : youtube กองทัพเรือ Royal Thai Navy - Official Channel
    เพลงราชนาวี #1500ไมล์ทะเลไทยมีนาวีนี้เฝ้า #วันสดุดีวีรชนกองทัพเรือ
    www.youtube.com/watch?v=XfYvCkk1hCk

    #เสด็จเตี่ย เลือดเนื้อทหารเรือ ทั้งกายและใจ
    .........................................................................................
    ที่มา : youtube
    PRD Bigband Official Channel
    บ้านเกิดเมืองนอน - วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์ (PRD Bigband) [OFFICIAL MV]
    www.youtube.com/watch?v=qb5x0IQTEZM
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ตุลาคม 2021
  20. torphak

    torphak เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    4,414
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +283

แชร์หน้านี้

Loading...