@@..คำครู ผู้ชี้-นำ-อุปถัมภ์ สู่พระโพธิญาณ & เรื่องเล่าจากกัลยาณมิตร.@@

ในห้อง 'พุทธภูมิ - พระโพธิสัตว์' ตั้งกระทู้โดย NAMOBUDDHAYA, 10 กรกฎาคม 2015.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
    ฉบับสมบูรณ์ของ
    หลวงปู่เทพโลกอุดร




    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาพุทโธ วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา สุคะโต วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา อนุตตะโร วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา ปุริสะทัมมะสาระถิ วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา สัตถาเทวะมนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา พุทโธ วัจจะ โส ภะคะวา

    อิติปิโส ภะคะวา ภะคะวา วัจจะ โส ภะคะวา

    อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ

    อะระหันตัง สิระสา นะมามิ

    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ

    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระนัง คัจฉามิ

    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ

    สุคะตัง สะระนัง คัจฉามิ

    สุคะตัง สิระสา นะมามิ

    โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ

    โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ

    อนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ

    อนุตตะรัง สิระสา นะมามิ

    ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ

    ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ

    สัตถาเทวะมนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ

    สัตถาเทวะมนุสสานัง สิระสา นะมามิ

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    พุทธัง สิระสา นะมามิ

    ภะคะวา สะระณัง คัจฉามิ

    ภะคะวา สิระสา นะมามิ อิติปิโส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา รูปักขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนากขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญากขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา สังขารักขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณักขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวา

    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา เตโช จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา วาโย จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา อาโป จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสา จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมะหาราชิกา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระตี ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา อรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา สะกะทาคามิปัตติมัคคะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อะนาคามิปัตติมัคคะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อะระหันตะปัตติมัคคะ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา โสตาปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา สะกะทาคามิปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อะนาคามิปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อะระหันตะปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา โสตาอะระหันตะ ปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา สะกะทาคามิอะระหันตะ ปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อะนาคามิอะระหันตะ ปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    อิติปิโส ภะคะวา อะระหันตะอะระหันตะ ปัตติผะละ ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน

    กุสะลา ธัมมา อิติปิโส ภะคะวา อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ชัมภูทิปัญจะ อิสสะโร กุสลา ธัมมา, นะโม พุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโม สังฆายะ, ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง อาปามะจุปะ ทีมะสังอังขุ, สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะสุเห ปาสายะโส, โสโสสะสะ อะอะอะอะนิ เตชะสุเนมะภูจะนะวิเว, อะสังวิสุโลปุสะพุภะ อิสวาสุ สุสาวะอิ, กุลสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิ

    อิติปิโส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสสะโร กุสะลาธัมมา

    กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติ สัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสลา ธัมมา อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน อุอุยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตาวะติงสา อิสสะโร กุสลา ธัมมา, นันทะปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ, ยาวะชีวัง, พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ยามา อิสสะโร กุสลา ธัมมา, พรัหมา สัททะปัญจะ สัตตะสัตตา ปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะขะ, ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา, ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ, ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    นิมมานะระตี อิสสะโร กุสลา ธัมมา, เหตุโปวะ สัตถาเทวะมะนุสสานัง ตะถา, ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    ปะระนิมมิตตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสลา ธัมมา, สังขารักขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา, รูปักขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ

    พรัหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา, นัตถิปัจจะยา วินะ ปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ, พุทธิลา โรกะลากะระกะนา, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ, หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

    นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ, วิตติ วิตติ วิตติ, อิติ อิติ อิติ, มิตติ มิตติ มิตติ, จิตติ จิตติ, อัตติ อัตติ, วัตติ วัตติ, มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ, หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

    สาวัง คุณัญจะ วิชชาจะ พะละชัญจะ, เตชัง วิริยัง สิทธิ กัมมะ ธัมมะ สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง, ทานัง สีลัญจะ ปัญญาจะ นิกขะมะ ปุญญัง ภาคะยัง ตะปัง ยะสัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติ เทสะนา

    อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรัหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง, จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง, อิสีสาวัง มะหาอิสีสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง, สัปปุริสะสาวัง มหาสัปปุริสะสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง, อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะราณังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานัง สาวัง เอเตนะ สาเวนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหนตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

    อินทะคุณัง มะหาอินทะคุณัง พรัหมะคุณัง มะหาพรัหมะคุณัง, จักกะวัตติคุณัง มะหาจักกะวัตติคุณัง เทวาคุณัง มะหาเทวาคุณัง, อิสีคุณัง มะหาอิสีคุณัง มุมีคุณัง มะหามุนีคุณัง, สัปปุริสะคุณัง มหาสัปปุริสะคุณัง พุทธะคุณัง ปัจเจกะพุทธะคุณัง, อะระหันตะคุณัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง คุณัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง คุณัง เอเตนะ คุเณนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะวิชชัง มะหาอินทะวิชชัง พรัหมะวิชชัง มะหาพรัหมะวิชชัง, จักกะวัตติวิชชัง มะหาจักกะวัตติวิชชัง เทวาวิชชัง มะหาเทวาวิชชัง, อิสีวิชชัง มะหาอิสีวิชชัง มุมีวิชชัง มะหามุนีวิชชัง, สัปปุริสะวิชชัง มหาสัปปุริสะวิชชัง พุทธะวิชชัง ปัจเจกะพุทธะวิชชัง, อะระหันตะวิชชัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง วิชชัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง วิชชัง เอเตนะ วิเชนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะพะลัง มะหาอินทะพะลัง พรัหมะพะลัง มะหาพรัหมะพะลัง, จักกะวัตติพะลัง มะหาจักกะวัตติพะลัง เทวาพะลัง มะหาเทวาพะลัง, อิสีพะลัง มะหาอิสีพะลัง มุมีพะลัง มะหามุนีพะลัง, สัปปุริสะพะลัง มหาสัปปุริสะพะลัง พุทธะพะลัง ปัจเจกะพุทธะพะลัง, อะระหันตะพะลัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง พะลัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง พะลัง เอเตนะ พะเลนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะเตโช มะหาอินทะเตโช พรัหมะเตโช มะหาพรัหมะเตโช, จักกะวัตติเตโช มะหาจักกะวัตติเตโช เทวาเตโช มะหาเทวาเตโช, อิสีเตโช มะหาอิสีเตโช มุมีเตโช มะหามุนีเตโช, สัปปุริสะเตโช มหาสัปปุริสะเตโช พุทธะเตโช ปัจเจกะพุทธะเตโช, อะระหันตะเตโช สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง เตโช, สัพพะโลกา อิริยาณัง เตโช เอเตนะ เตเชนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะวิริยัง มะหาอินทะวิริยัง พรัหมะวิริยัง มะหาพรัหมะวิริยัง, จักกะวัตติวิริยัง มะหาจักกะวัตติวิริยัง เทวาวิริยัง มะหาเทวาวิริยัง, อิสีวิริยัง มะหาอิสีวิริยัง มุมีวิริยัง มะหามุนีวิริยัง, สัปปุริสะวิริยัง มหาสัปปุริสะวิริยัง พุทธะวิริยัง ปัจเจกะพุทธะวิริยัง, อะระหันตะวิริยัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง วิริยัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง วิริยัง เอเตนะ วิริเยนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะสิทธิ มะหาอินทะสิทธิ พรัหมะสิทธิ มะหาพรัหมะสิทธิ, จักกะวัตติสิทธิ มะหาจักกะวัตติสิทธิ เทวาสิทธิ มะหาเทวาสิทธิ, อิสีสิทธิ มะหาอิสีสิทธิ มุมีสิทธิ มะหามุนีสิทธิ, สัปปุริสะสิทธิ มหาสัปปุริสะสิทธิ พุทธะสิทธิ ปัจเจกะพุทธะสิทธิ, อะระหันตะสิทธิ สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง สิทธิ, สัพพะโลกา อิริยาณัง สิทธิ เอเตนะ สิทธิยา, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะกัมมัง มะหาอินทะกัมมัง พรัหมะกัมมัง มะหาพรัหมะกัมมัง, จักกะวัตติกัมมัง มะหาจักกะวัตติกัมมัง เทวากัมมัง มะหาเทวากัมมัง, อิสีกัมมัง มะหาอิสีกัมมัง มุมีกัมมัง มะหามุนีกัมมัง, สัปปุริสะกัมมัง มหาสัปปุริสะกัมมัง พุทธะกัมมัง ปัจเจกะพุทธะกัมมัง, อะระหันตะกัมมัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง กัมมัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง กัมมัง เอเตนะ กัมเมนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะธัมมัง มะหาอินทะธัมมัง พรัหมะธัมมัง มะหาพรัหมะธัมมัง, จักกะวัตติธัมมัง มะหาจักกะวัตติธัมมัง เทวาธัมมัง มะหาเทวาธัมมัง, อิสีธัมมัง มะหาอิสีธัมมัง มุมีธัมมัง มะหามุนีธัมมัง, สัปปุริสะธัมมัง มหาสัปปุริสะธัมมัง พุทธะธัมมัง ปัจเจกะพุทธะธัมมัง, อะระหันตะธัมมัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ธัมมัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง ธัมมัง เอเตนะ ธัมเมนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะสัจจัง มะหาอินทะสัจจัง พรัหมะสัจจัง มะหาพรัหมะสัจจัง, จักกะวัตติสัจจัง มะหาจักกะวัตติสัจจัง เทวาสัจจัง มะหาเทวาสัจจัง, อิสีสัจจัง มะหาอิสีสัจจัง มุมีสัจจัง มะหามุนีสัจจัง, สัปปุริสะสัจจัง มหาสัปปุริสะสัจจัง พุทธะสัจจัง ปัจเจกะพุทธะสัจจัง, อะระหันตะสัจจัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง สัจจัง, สัพพะโลกา อิริยาณัง สัจจัง เอเตนะ สัจเจนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะนิพพานัง มะหาอินทะนิพพานัง พรัหมะนิพพานัง มะหาพรัหมะนิพพานัง, จักกะวัตตินิพพานัง มะหาจักกะวัตตินิพพานัง เทวานิพพานัง มะหาเทวานิพพานัง, อิสีนิพพานัง มะหาอิสีนิพพานัง มุมีนิพพานัง มะหามุนีนิพพานัง, สัปปุริสะนิพพานัง มหาสัปปุริสะนิพพานัง พุทธะนิพพานัง ปัจเจกะพุทธะนิพพานัง, อะระหันตะนิพพานัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง นิพพานัง, สัพพะโลกา อิริยานัง นิพพานัง เอเตนะ นิพพาเนนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะโมกขัง มะหาอินทะโมกขัง พรัหมะโมกขัง มะหาพรัหมะโมกขัง, จักกะวัตติโมกขัง มะหาจักกะวัตติโมกขัง เทวาโมกขัง มะหาเทวาโมกขัง, อิสีโมกขัง มะหาอิสีโมกขัง มุมีโมกขัง มะหามุนีโมกขัง, สัปปุริสะโมกขัง มหาสัปปุริสะโมกขัง พุทธะโมกขัง ปัจเจกะพุทธะโมกขัง, อะระหันตะโมกขัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง โมกขัง, สัพพะโลกา อิริยานัง โมกขัง เอเตนะ โมกเขนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะคุยหะกัง มะหาอินทะคุยหะกัง พรัหมะคุยหะกัง มะหาพรัหมะคุยหะกัง, จักกะวัตติคุยหะกัง มะหาจักกะวัตติคุยหะกัง เทวาคุยหะกัง มะหาเทวาคุยหะกัง, อิสีคุยหะกัง มะหาอิสีคุยหะกัง มุมีคุยหะกัง มะหามุนีคุยหะกัง, สัปปุริสะคุยหะกัง มหาสัปปุริสะคุยหะกัง พุทธะคุยหะกัง ปัจเจกะพุทธะคุยหะกัง, อะระหันตะคุยหะกัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง คุยหะกัง, สัพพะโลกา อิริยานัง คุยหะกัง เอเตนะ คุยหะเกนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะทานัง มะหาอินทะทานัง พรัหมะทานัง มะหาพรัหมะทานัง, จักกะวัตติทานัง มะหาจักกะวัตติทานัง เทวาทานัง มะหาเทวาทานัง, อิสีทานัง มะหาอิสีทานัง มุมีทานัง มะหามุนีทานัง, สัปปุริสะทานัง มหาสัปปุริสะทานัง พุทธะทานัง ปัจเจกะพุทธะทานัง, อะระหันตะทานัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ทานัง, สัพพะโลกา อิริยานัง ทานัง เอเตนะ ทาเนนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะสีลัง มะหาอินทะสีลัง พรัหมะสีลัง มะหาพรัหมะสีลัง, จักกะวัตติสีลัง มะหาจักกะวัตติสีลัง เทวาสีลัง มะหาเทวาสีลัง, อิสีสีลัง มะหาอิสีสีลัง มุมีสีลัง มะหามุนีสีลัง, สัปปุริสะสีลัง มหาสัปปุริสะสีลัง พุทธะสีลัง ปัจเจกะพุทธะสีลัง, อะระหันตะสีลัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง สีลัง, สัพพะโลกา อิริยานัง สีลัง เอเตนะ สีเลนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะปัญญา มะหาอินทะปัญญา พรัหมะปัญญา มะหาพรัหมะปัญญา, จักกะวัตติปัญญา มะหาจักกะวัตติปัญญา เทวาปัญญา มะหาเทวาปัญญา, อิสีปัญญา มะหาอิสีปัญญา มุมีปัญญา มะหามุนีปัญญา, สัปปุริสะปัญญา มหาสัปปุริสะปัญญา พุทธะปัญญา ปัจเจกะพุทธะปัญญา, อะระหันตะปัญญา สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ปัญญา, สัพพะโลกา อิริยานัง ปัญญา เอเตนะ ปัญญายะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะเนกขะมะณัง มะหาอินทะเนกขะมะณัง พรัหมะเนกขะมะณัง มะหาพรัหมะเนกขะมะณัง, จักกะวัตติเนกขะมะณัง มะหาจักกะวัตติเนกขะมะณัง เทวาเนกขะมะณัง มะหาเทวาเนกขะมะณัง, อิสีเนกขะมะณัง มะหาอิสีเนกขะมะณัง มุมีเนกขะมะณัง มะหามุนีเนกขะมะณัง, สัปปุริสะเนกขะมะณัง มหาสัปปุริสะเนกขะมะณัง พุทธะเนกขะมะณัง ปัจเจกะพุทธะเนกขะมะณัง, อะระหันตะเนกขะมะณัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง เนกขะมะณัง, สัพพะโลกา อิริยานัง เนกขะมะณัง เอเตนะ เนกขะมะเณนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะปุญญัง มะหาอินทะปุญญัง พรัหมะปุญญัง มะหาพรัหมะปุญญัง, จักกะวัตติปุญญัง มะหาจักกะวัตติปุญญัง เทวาปุญญัง มะหาเทวาปุญญัง, อิสี ปุญญัง มะหาอิสีปุญญัง มุมีปุญญัง มะหามุนีปุญญัง, สัปปุริสะปุญญัง มหาสัปปุริสะปุญญัง พุทธะปุญญัง ปัจเจกะพุทธะปุญญัง, อะระหันตะปุญญัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ปุญญัง, สัพพะโลกา อิริยานัง ปุญญัง เอเตนะ ปุญเญนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะภาคะยัง มะหาอินทะภาคะยัง พรัหมะภาคะยัง มะหาพรัหมะภาคะยัง, จักกะวัตติภาคะยัง มะหาจักกะวัตติภาคะยัง เทวาภาคะยัง มะหาเทวาภาคะยัง, อิสีภาคะยัง มะหาอิสีภาคะยัง มุมีภาคะยัง มะหามุนีภาคะยัง, สัปปุริสะภาคะยัง มหาสัปปุริสะภาคะยัง พุทธะภาคะยัง ปัจเจกะพุทธะภาคะยัง, อะระหันตะภาคะยัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ภาคะยัง, สัพพะโลกา อิริยานัง ภาคะยัง เอเตนะ ภาคะเยนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะตะปัง มะหาอินทะตะปัง พรัหมะตะปัง มะหาพรัหมะตะปัง, จักกะวัตติตะปัง มะหาจักกะวัตติตะปัง เทวาตะปัง มะหาเทวาตะปัง, อิสีตะปัง มะหาอิสีตะปัง มุมีตะปัง มะหามุนีตะปัง, สัปปุริสะตะปัง มหาสัปปุริสะตะปัง พุทธะตะปัง ปัจเจกะพุทธะตะปัง, อะระหันตะตะปัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ตะปัง, สัพพะโลกา อิริยานัง ตะปัง เอเตนะ ตะเปนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะยะสัง มะหาอินทะยะสัง พรัหมะยะสัง มะหาพรัหมะยะสัง, จักกะวัตติยะสัง มะหาจักกะวัตติยะสัง เทวายะสัง มะหาเทวายะสัง, อิสียะสัง มะหาอิสียะสัง มุมียะสัง มะหามุนียะสัง, สัปปุริสะยะสัง มหาสัปปุริสะยะสัง พุทธะยะสัง ปัจเจกะพุทธะยะสัง, อะระหันตะยะสัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง ยะสัง, สัพพะโลกา อิริยานัง ยะสัง เอเตนะ ยะเสนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะสุขัง มะหาอินทะสุขัง พรัหมะสุขังมะหาพรัหมะสุขัง, จักกะวัตติสุขัง มะหาจักกะวัตติสุขัง เทวาสุขัง มะหาเทวาสุขัง, อิสีสุขัง มะหาอิสีสุขัง มุมีสุขัง มะหามุนีสุขัง, สัปปุริสะสุขัง มหาสัปปุริสะสุขัง พุทธะสุขัง ปัจเจกะพุทธะสุขัง, อะระหันตะสุขัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง สุขัง, สัพพะโลกา อิริยานัง สุขัง เอเตนะ สุเขนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะสิริ มะหาอินทะสิริ พรัหมะสิริ มะหาพรัหมะสิริ, จักกะวัตติสิริ มะหาจักกะวัตติสิริ เทวาสิริ มะหาเทวาสิริ, อิสีสิริ มะหาอิสีสิริ มุมีสิริ มะหามุนีสิริ, สัปปุริสะสิริ มหาสัปปุริสะสิริ พุทธะสิริ ปัจเจกะพุทธะสิริ, อะระหันตะสิริ สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง สิริ, สัพพะโลกา อิริยานัง สิริ เอเตนะ สิริยา, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    อินทะรูปัง มะหาอินทะรูปัง พรัหมะรูปัง มะหาพรัหมะรูปัง, จักกะวัตติรูปัง มะหาจักกะวัตติรูปัง เทวารูปัง มะหาเทวารูปัง, อิสีรูปัง มะหาอิสีรูปัง มุมีรูปัง มะหามุนีรูปัง, สัปปุริสะรูปัง มหาสัปปุริสะรูปัง พุทธะรูปัง ปัจเจกะพุทธะรูปัง, อะระหันตะรูปัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณัง รูปัง, สัพพะโลกา อิริยานัง รูปัง เอเตนะ รูปเปนะ, เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ วา มัยหัง สุวัตถิ โหตุ สะวาหายะ, นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ เสยยะถีทัง หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ.

    สาวัง คุณัง วิชชา พะลัง เตชัง วิริยัง, สิทธิกัมมัง, ธัมมะ สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญยัง, เนกขะมะณัง ปุญญัง ภาคะยัง ตะปัง ยะสัง สุขัง สิริ รูปัง จะตุวีสะติเทสะนัง, เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ, หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ

    นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา, รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, นะโม อิติปิ โส ภะคะวา

    นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา, รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, นะโม สาวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม

    นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา, รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง

    นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะ หาโยโมนะ อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา, อุอะมะอะ วันทา นะโม พุทธายะ นะอะกะติ นิสะระณะ, อาระปะขุทธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

    วิปัสสิต สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินาสสันตุ
     
  2. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    #อย่าไปหลงเชื่อตามกิเลสของผู้ใด
    ที่กล่าวหาว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำ
    พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
    เลิกปฏิบัติและเลิกสอนวิชชาธรรมกาย
    #เพราะไม่เป็นความจริง

    ใครเอาไปกล่าวอย่างอื่นน่ะ ทำไมต้องเอามากล่าว ท่านต้องถามตัวเอง ว่าทำไมต้องเอามากล่าว
    #ทำไมต้องเอามาติฉินนินทากัน
    #ถ้าเผื่อว่าของตนดีจริงไม่ต้องไปกลัวใคร

    หลวงพ่อวัดปากน้ำ หรือผู้ปฏิบัติในสายสัมมาอะระหัง หรือในสายปฏิบัติธรรมกายนี่ ไม่มีใครไปตำหนิติฉินใครอื่นเลย
    เพราะฉะนั้นอันนี้ก็ สาธุชนทั้งหลาย
    แม้พระมหาเถระ พระเถรานุเถระ โปรดทราบ

    #กระผมขอยืนยันว่า พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
    #ท่านปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน_๔
    #ถึงธรรมกาย_ถึงพระนิพพานของพระพุทธเจ้า
    โดยการศึกษาสัมมาปฏิบัติ
    อบรมกาย วาจา และใจ
    โดยทาง #ศีล_สมาธิ_ปัญญา
    ให้ถึง #อธิศีล_อธิจิต_อธิปัญญา
    ให้ถึง #ปฐมมรรค_มรรคจิต_มรรคปัญญา
    ธรรมโคตรภู โสดา พระสกทาคา พระอนาคา พระอรหัต
    ถึงเข้าไปรู้ไปเห็นธรรมกายตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
    ในอายตนะ คือ พระนิพพาน
    อันนี้อาตมาหรือเกล้ากระผม ขอยืนยันนะครับ

    พระเทพญาณมงคลเสริมชัย ชยมงฺคโล
    หรือหลวงป๋า เจ้าอาวาสวัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม

    -------------------------------------------------------------------------



    "คนเช่นเราไม่ใช่ไร้ปัญญา ชั่วก็รู้ ดีก็เห็น
    เราจะฆ่าตัวเราเองเพราะความปรารถนาลาลกทำไม
    ที่เขาพูดหาว่าเราอย่างนั้น บางคนคงจะไม่รู้จักคำว่า“ธรรมกาย” มีอยู่ที่ไหน หมายเอาใคร
    เขาอาศัยความไม่รู้มาว่าเราผู้ตั้งใจปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
    เมื่อผู้ไม่รู้มาติเตียนเรา ความไม่รู้ของเขาจะลบล้างสัจธรรมของพระพุทธศาสนาได้อย่างไร ถ้าจะกลบก็กลบได้เพียงชั่วคราว ไม่ช้าดวงแก้วของพระพุทธศาสนาก็จะเปล่งรัศมีให้ผู้มีปัญญาเห็นด้วยสายตาของตนเอง การที่เขานำไปพูดเช่นนั้น เป็นผลแห่งการปฏิบัติที่เราได้กระทำกันอยู่ แสดงให้เห็นว่าคณะวัดปากน้ำไม่ได้กินแล้วนอน เป็นสำนักที่เคร่งครัดในการปฏิบัติธรรม การที่เขานำไปพูดเช่นนั้น เท่ากับเอาสำนักเราไปเผยแพร่ ดีเสียกว่าการโฆษณาทางหนังสือพิมพ์ เพราะการที่เขานำไปพูดเช่นนั้นเป็นการกระทำของผู้พูดเอง เราไม่ได้จ้างไม่ได้วานใคร เมื่อพูดทางไม่ดีได้ก็ต้องมีคนพูดทางดีได้เหมือนกัน ธรรมจะต้องชนะอธรรมเสมอ เราไม่ต้องเดือดร้อนใจ เพราะธรรมกายของพระพุทธศาสนาเป็นของแท้ ไม่ใช่ของเก๊หรือของเทียม ธรรมกายจะปรากฏเป็นความจริงแก่ผู้เข้าถึงธรรม เรื่องอย่างนี้เราไม่หวั่น เราเชื่อในคุณพระพุทธศาสนา"

    หลวงพ่อสด จันทสโร
     
  3. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQkW0cc6Qmn18e-pL2QOgR6ZGL-Fk3OOAE9ybIFcOEarddt9YWZwPjZ_4QzdiB-60X0&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg





    เรื่อง #สังขารุเปกขาญาน กับความไม่เที่ยง

    "กำลังใจของเราจะทรงได้ดีจริงๆ ต้องน้อมใจของเรานี้ฝึกไปด้วยปัญญาพิจารณาหาความจริง จิตใจตั้งอยู่ในสังขารุเปกขาญาณ นั่นก็คือมีอาการวางเฉยตามสภาวะของสังขาร คือร่างกายและทุกสิ่งทุกอย่างในโลก มีความรู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นอนิจจัง คนเป็นอนิจจัง วัตถุในโลกก็เป็นอนิจจัง
    คำว่า “อนิจจัง” แปลว่า มันไม่เที่ยง เรารู้ตามความเป็นจริงของมันว่ามันไม่เที่ยง ในเมื่อมันไม่เที่ยง เรายอมรับนับถือความไม่เที่ยงของมัน #มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกหาอะไรเที่ยงไม่ได้ แต่ว่าเมื่อมันไม่เที่ยง เราก็ทำใจของเราให้เที่ยง มันเที่ยงตรงไหน เที่ยงตรงที่มันมีความรู้สึกตามกฎของธรรมดาอยู่เสมอว่า ร่างกายก็ วัตถุธาตุก็ดี ที่เกิดมาในโลกนี้มันไม่เที่ยง มันมีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น และมีความแปรปรวนไปในท่ามกลาง #มีความแตกสลายตัวไปในที่สุด"

    คำสอน พระราชพรหมยาน วัดท่าซุง
     
  4. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    ++ อยากเป็นคนเหนือคนก็ต้องทนลำบากมากกว่าคนอื่นเขา +++

    พระอาจารย์กล่าวว่า "ต้องเอาจริง แล้วก็ต้องทุ่มเท #อยากเป็นคนเหนือคนก็ต้องทนลำบากมากกว่าคนอื่นเขา ลำบากก่อนแล้วเดี๋ยวก็สบายทีหลัง

    อยากเก่ง อยากชนะ #ต้องขยันหมั่นฝึกซ้อมเอาไว้ แพ้แล้วอย่ายุบ ของแบบนี้แพ้กันได้ แต่ถ้าชนะก็เป็นกำลังใจของเรา ถึงเวลาแพ้ก็เริ่มต้นใหม่ #ไม่มีใครหรอกที่ชนะตลอดโดยไม่แพ้ใครเลย มีแต่แพ้แล้วแพ้อีก เพียงแต่ว่าแพ้แล้วเอามาปรับปรุงตัวเอง"

    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
    (หลวงพ่อเล็ก วัดท่าขนุน)
    เก็บตกจากบ้านเติมบุญ ต้นเดือนกันยายน ๒๕๖๒

    -------------------
    c_oc=AQmsWzV2RobRgb735yB86_DWpraX5mDl6-7hRf24xE8nSD9wx1vP8BfZXyQ5eQQVnPA&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  5. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQnDz-v7SxeE4eL_2ir3RGraq_HJpoPSR-Bxd2rOI9avH9cXFitkAodkIxC3sUxnO9Y&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQmS4hDe9Y0WZU2yaa8T3v2rAUhm84EIgK4tAnAHk75PueIty1B_3lt905YrQwEfMKU&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQm0qr4aZr7DpGHKRIDLuS7Jn7w96JphR-Z-VrVvoDqu9MC7nB3zDaR0XYK3jQTd_K4&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    " ไม่ให้อภัยก็ไม่ใช่ลูกพระพุทธเจ้าซิ
    พระพุทธเจ้าให้อภัยสัตว์เก่ง ลูกพระพุทธเจ้าเกิดด้วยศีล เกิดด้วยสมาธิ เกิดด้วยปัญญา เกิดแล้วไม่แล้วต้องตายเป็นทุกข์ ตายแล้วก็ไม่แล้วต้องเกิดเป็นทุกข์ ขอทุกข์อันนี้อย่าได้มีติดตาม อย่าได้ตามมาในตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ขอให้พ้นไป

    ให้อภัยไม่ก่อเวรแก่สัตว์ทั้งภายนอกและภายใน เท่ากับให้ชีวิตเป็นธรรมทาน อภัยทานถึงนิพพานได้ จิตมีทาน ศีล ภาวนาไปได้เร็ว ทานภายใน อภัยทาน ธรรมทาน ทานภายในสูงสุดกว่าทานภายนอก คนมัวเมาแต่ภายนอก ไม่ค่อยเอาใจใส่ธรรมทาน อภัยทาน "

    หลวงปู่บุดดา ถาวโร


    ?temp_hash=1b5afc8119652667e4bc4db04d5ba60f.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    #เกือบอธิษฐานเป็นพระโพธิสัตว์

    อาตมาก็เกือบ เหมือนกัน พรรษาหก
    เกือบอธิษฐานเป็น "พระโพธิสัตว์"
    พอได้รับความสงบสุขเกิดขึ้น อยากให้คน
    มีความสุข เอ๊ะ!!! เมตตา บัดนี้จะสู้มันไม่ไหวเลย มันอยากปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า อาตมาก็เลย โอ้ย...ไม่เอาแล้ว ไปชาตินี้ได้ ไปชาตินี้ดีกว่า ตัดสินใจไม่คิด เวลาอาตมาไปอินเดีย อาตมาแจกของ พวกลูกศิษย์ก็ว่าให้อีกเหมือนกัน มาเมืองนี้ก็ โอ้ย...แจกของซะแขกแห่เป็น ๖๐-๗๐ เป็นอย่างนั้น จนเค้าถามว่า ท่านคงปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้า โอ้ย ไม่ปรารถนา อยากไปนิพพานมากกว่า ไม่ต้องคิด ไปชาตินี้ได้ชาติหน้า ไม่ต้องมาเทศน์ให้ฟัง ไม่ต้องมาคุยกันอีก ไม่เปลืองจีวรเขา

    พระอาจารย์เปลี่ยน ปญฺญาปทีโป

    ***********************************



    c_oc=AQkgZmAnfpQvo6WBqJddGWGVnxRDMQXrHYWws3zryKvb72rGk6ybkC_O7cg7bCmR6KU&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  10. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQkC-r1OfqOSKNSHj8FEGA0hDz2B9MrdLeZbvWbFcWjnTsJBXMO4c6IeClF4Wh2RZxg&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQkUxmBcJMsCXJBAXo73dNfHf8PV_dZ73vRZlrAoyESdWO2WogJhBqRZ93juhbqWmpI&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQnn_f-j2uYa8FkxOwfRTqNVElxruofWHGZ4NmTSQOqYnrp12-odeat0F7cc79q2beQ&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg

    เชื่อหรือไม่
    สำหรับผู้ปฏิบัติแล้วคำดุด่าว่ากล่าวของครูบาอาจารย์นับเป็นเรื่องสำคัญและมีคุณค่ายิ่งหาครูบาอาจารย์เมินเฉยไม่ดุด่าว่ากล่าวก็เหมือนเป็นการลงโทษ
    อาจารย์ศุภรัตน์ เคยถูกหลวงปู่ดุว่า “ แกยังเชื่อไม่จริงถ้าเชื่อจริง พุทธังธัมมังสังฆัง สระณังคัจฉามิ ต้องเชื่อยอมรับพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์เป็นที่พึ่ง แทนที่จะเอาความโลภมาเป็นที่พึ่ง เอาความโกรธมาเป็นที่พึ่ง
    เอาความหลงมาเป็นที่พึ่ง
    หลวงปู่ท่านกล่าวกับอาจารย์ว่า
    “ โกรธโลภหลงเกิดขึ้นให้ภาวนา
    แล้วโกรธโลภหลงจะคายลง
    ข้ารับรองถ้าทำแล้วไม่จริงให้มาด่าก็ได้ “

    -------------------------------------------------

     
  13. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    "#สมเด็จพระศรีอาริยเมตไตรยจะมาตรัสรู้อีกประมาณล้านปีข้างหน้า พวกเราจะอยู่กันถึงหรือเปล่า ? พระองค์ทรงมีพระวรกายสูง ๘๘ ศอก #เป็นศอกของพระองค์ท่านด้วยนะไม่ใช่ศอกของเรา พระองค์ท่านมีภารกิจอย่างหนึ่งก็คือ #ต้องเอาสังขารของพระมหากัสสปะมาเผาในพระหัตถ์ของพระองค์ท่าน เนื่องจากเวรกรรมที่เนื่องกันมาในอดีต

    ในอดีตพระศรีอาริยเมตไตรยเป็นควาญช้าง พระมหากัสสปะเป็นช้างทรงของพระเจ้าแผ่นดิน วันนั้นพระเจ้าแผ่นดินเสด็จประพาสอุทยาน อุทยานสมัยก่อนมีลักษณะเหมือนกับอุทยานแห่งชาติสมัยนี้ คือเป็นป่าส่วนพระองค์ของพระราชา ปรากฏว่าช้างทรงอยู่ ๆ ก็วิ่งเตลิด พระราชาหลบกิ่งไม้ใบหญ้าแทบไม่ทัน ท้ายสุดเห็นว่าอันตรายมาก ก็เลยคว้ากิ่งไม้ใหญ่ที่อยู่เตี้ย โหนพระวรกายขึ้นไปอยู่ข้างบน จึงรอดไปได้

    พอกลับมาพระองค์พิโรธมาก ว่าควาญช้างฝึกช้างประสาอะไร ถึงได้เตลิดขนาดนั้น ตั้งใจจะลอบปลงพระชนม์หรืออย่างไร จะสั่งประหารชีวิต ควาญช้างกราบทูลว่า #ช้างทรงน่าจะได้กลิ่นช้างตัวเมีย ก็เลยเตลิดหายไป ไม่อย่างนั้นแล้วช้างทรงเชือกนี้สามารถบังคับได้ทุกอย่าง พระราชาไม่เชื่อ บอกว่าให้ทดสอบดู #ถ้าบังคับไม่ได้อย่างที่ว่าก็จะประหารเสีย

    ควาญช้างก็เลยต้องไปตามช้างทรงกลับมา ตอนนั้นช้างทรงเจอช้างตัวเมียพอใจแล้วก็ยอมกลับ กลับมาถึงพระเจ้าแผ่นดินก็สั่งว่า ไหนลองบังคับช้างให้ได้อย่างที่ปากพูดสิ #ควาญช้างก็เลยเอาแท่งเหล็กเผาจนแดง #แล้วบังคับให้ช้างเอางวงจับแท่งเหล็กนั้นขึ้นมา ช้างก็ยอมเอางวงจับแท่งเหล็กขึ้นมา แต่คราวนี้ด้วยความที่แท่งเหล็กร้อนจัด ช้างทนไม่ไหวก็เลยตาย

    พระราชาเห็นก็สลดพระทัยว่า โอหนอ...#ไฟราคะรุนแรงขนาดนี้เลยหรือ ? ขนาดช้างทรงที่เชื่องเชื่อขนาดนี้ ควาญช้างบังคับให้หยิบแท่งเหล็กแดง ๆ ยังกล้าหยิบได้ แต่ถึงเวลาแล้วกลับไม่ฟังการบังคับเลย #เตลิดไปหาช้างตัวเมียด้วยอำนาจของไฟราคะ เพราะเหตุนี้เมื่อช้างมาเกิดใหม่เป็นพระมหากัสสปะ พอพระมหากัสสปะมรณภาพก็ยังไม่สามารถที่จะเผาสังขารของตนเองได้ ลูกศิษย์ลูกหาจัดการไม่ได้ ต้องเก็บสังขารเอาไว้ก่อน #รอพระศรีอาริยเมตไตรยที่เป็นควาญช้างมาเกิดใหม่ แล้วเผาด้วยเตโชธาตุในฝ่าพระหัตถ์

    เรานึกดูว่าพระมหากัสสปะสูง ๘ ศอกของสมัยพุทธกาล กับ ๘๘ ศอกของพระศรีอาริยเมตไตรย #เทียบแล้วพระมหากัสสปะก็น่าจะประมาณถั่วสักเมล็ดในฝ่ามือเท่านั้น แล้วเผาด้วยเตโชธาตุ เตโชธาตุนี้อธิษฐานให้เผาแค่ไหนก็เผาแค่นั้น ถ้าตั้งใจจะเผาแต่เสื้อผ้า แม้แต่ขนเส้นเดียวก็ไม่ไหม้ ท่านเองก็ไม่ร้อนอะไรหรอก #แต่ว่ากรรมเนื่องกันมาจึงต้องทำอย่างนั้น"

    "ถ้าใครต้องการจะไปเกิดในสมัยพระศรีอาริยเมตไตรย #พระองค์ท่านสั่งเอาไว้ว่า ให้ปฏิบัติในกรรมบถสิบเป็นปกติ แล้วตั้งใจไปเกิดในยุคของท่าน ในยุคของพระศรีอาริยเมตไตรย #พระองค์ท่านเทศน์ทีเดียวก็ยกคณะไปพระนิพพานเลยแต่ว่ารอนานนะ เพราะว่าพระพุทธเจ้าแบบปัญญาธิกะสร้างบารมีมา ๔ อสงไขยกับแสนมหากัป บริวารมีดี มีเลว มีสวยงาม มีอัปลักษณ์ มีรวย มีจน ปะปนกันไป

    ถ้าหากว่าเป็น พระพุทธเจ้าแบบศรัทธาธิกะ สร้างบารมี ๘ อสงไขยกับแสนมหากัป บริวารจะดีสวยรวยเสมอกันหมด เขตที่พระองค์ท่านประกาศศาสนา คนชั่วเข้าไม่ได้ #แต่ถ้าหากว่าเป็นพระพุทธเจ้าแบบวิริยาธิกะแบบพระศรีอาริยเมตไตรย บริวารนอกจากดี สวย รวยเสมอกันหมดแล้ว โลกยุคนั้นคนชั่วเกิดไม่ได้เลย สรุปว่าที่สร้างบารมีแทบเป็นแทบตายก็คือทำเพื่อบริวาร ยอมเหนื่อยกว่าท่านอื่นเป็นเท่า ๆ ตัว

    อาตมานึกว่าแค่คนชั่วเข้ามาในเขตไม่ได้ก็ดีใจจะแย่แล้ว..ใช่ไหม ? นี่โลกยุคนั้นคนชั่วเกิดไม่ได้ เกิดเฉพาะคนดีที่เป็นบริวารท่าน แล้วเทศน์กันทีก็ยกคณะไปเลย ไม่ต้องเสียเวลามาฟังกันนาน

    สมัยอาตมาเด็ก ๆ ผู้ใหญ่เขาสอนให้ทำบุญแล้วอธิษฐานว่า ขอให้เกิดมาสวย ๆ ขอให้เกิดมารวย ๆ #ขอให้เกิดมาพบพระศรีอาริยเมตไตรย อาตมาก็ว่าตามเขามาตลอด กว่าจะรู้จักคำว่าพระนิพพาน ก็ตอนอายุ ๑๖ ปีแล้วได้มาเจอหลวงพ่อฤๅษี #พอเวลาท่านนำอธิษฐานจึงได้ขอให้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้

    อาตมาก็คิดว่า เอ..ลุงมัคคนายกแกอธิษฐานทีไร #ก็ขอให้ถึงซึ่งพระนิพพานในอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญ #ส่วนหลวงพ่อท่านเอาชาติปัจจุบันนี้แค่คิดดูเท่านั้น หลวงพ่อท่านก็อธิบายให้ฟังว่า ถ้าต้องการก็ชาตินี้ มัวแต่ไปรออนาคตกาลเบื้องหน้าโน้น ชาติไหนไม่รู้ ลำบากอีกนาน มีใครเคยเจออนาคตกาลแบบอาตมามาบ้าง ? "ขอผลบุญนี้จงเป็นปัจจัยให้ข้าพเจ้าทั้งหลายได้เข้าถึงซึ่งพระนิพพานในอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญ" ทำบุญเมื่อไรมัคคนายกก็นำอธิษฐานแบบนี้ทุกที"

    "จริง ๆ แล้วคำว่ามัคคทายกเรียกว่าทายกไม่ได้นะ ต้องเรียกนายก เพราะว่าคำเต็ม ๆ คือ #มัคคนายก นายกแปลว่าผู้นำ มัคคะแปลว่าหนทาง มัคคนายก คือ #ผู้นำทางในการทำความดี

    ถ้ามัคคทายก ทายกแปลว่า ผู้ให้ ผู้ให้ทาน (การสงเคราะห์แก่พระภิกษุสงฆ์) เขาเอามาปนกันระหว่างคำว่า มัคคนายกที่เป็นคำถูกต้อง + คำว่าทายก กลายเป็นมัคคทายก เป็นคำผิด ฉะนั้น..ที่ถูกต้อง คือ มัคคนายก"

    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
    (หลวงพ่อเล็ก วัดท่าขนุน)
    เก็บตกจากบ้านวิริยบารมี ต้นเดือนเมษายน ๒๕๕๕
     
  14. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    #รีบพิจารณาความทุกข์ #จะได้ไม่ต้องโดนบังคับให้ทุกข์

    พระอาจารย์กล่าวว่า "อาตมาไม่เหมือนกับชาวบ้านเขา อะไรที่ยากลำบากนี่จะวิ่งใส่เลย ถือเป็นความมันในชีวิต คิดไม่เหมือนชาวบ้านเขา คิดว่าเราสร้างบารมีมาจนป่านนี้แล้ว ถ้าทำอะไรง่าย ๆ แล้วเสียศักดิ์ศรี เพราะฉะนั้น..อะไรที่ยากเท่าไรก็มันเท่านั้น ใครจะเลียนแบบก็ได้นะ แต่ต้องอึดพอ ถ้าหน้าไม่ด้านพอเผ่นไปตั้งแต่แรกแล้ว..!

    มีดีอยู่อย่างหนึ่งคือ ถ้าเรากระโดดเข้าหาความทุกข์ เราก็จะไม่ต้องโดนบังคับให้ทุกข์ ตรงนี้เคยพูดหลายต่อหลายครั้งแล้ว แต่คาดว่าญาติโยมทั้งหลายจะลืมไป #บุคคลที่ตั้งใจจะไปพระนิพพาน #ต้องเห็นทุกข์อย่างชัดแจ้ง #เกิดความเบื่อหน่าย #คลายกำหนัด #เข็ดกลัว #แล้วหาทางหลีกหนีให้พ้นจากความทุกข์นั้น ถ้าตราบใดที่ไม่เห็นความทุกข์อย่างชัดแจ้ง ก็จะหลุดพ้นไม่ได้

    แล้วพวกเราก็อธิษฐานกัน ขอถึงซึ่งพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้ด้วยเทอญ ไม่ดูความทุกข์สักทีแล้วเมื่อไรจะถึงพระนิพพาน พวกเราส่วนใหญ่ลงมาก่อนเวลา ในเมื่อลงมาก่อนเวลา ก็ต้องไปขออนุญาตเทวดาชั้นผู้ใหญ่ ให้ท่านช่วยรับรองให้ เทวดาที่ท่านรับรองให้ก็ต้องเป็นเจ้านายใหญ่ ก็คือท่านปู่พระอินทร์แล้วก็รวมท่านย่าไปด้วย

    #ท่านย่าเคยบอกว่า #ถ้าใครไม่ยอมพิจารณาให้เห็นทุกข์แล้วอยากจะไปนิพพาน #ก็จะต้องโดนบังคับให้ทุกข์ เพราะฉะนั้น..ใครที่รู้สึกว่าชีวิตกูลำบากฉิบหายเลย ถ้าอยากจะสบายขึ้นให้รีบพิจารณาทุกข์ให้ชัดเจน ท่านจะได้ไม่ต้องเสียเวลามาบังคับ

    ลองนึกดูว่าถ้าเราเลี้ยงวัว วัวตัวไหนที่น่ารัก เดินอยู่ในทาง จะไปโดนตีโดนเฆี่ยนได้อย่างไร ? ส่วนประเภทที่แวะเกะกะข้างทางไม่พอ แล้วยังไปกินข้าวชาวบ้านเขาอีก ก็ต้องโดนไม้ คราวนี้พอเจ็บพอลำบากขึ้นมาก็โวยวาย หารู้ไม่ว่าตัวเองไม่ยอมเดินไปดี ๆ เอง"

    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
    เก็บตกจากบ้านวิริยบารมี ต้นเดือนตุลาคม ๒๕๕๔
    ที่มา : www.watthakhanun.com

    #ชุมชนคุณธรรม #วัดท่าขนุน
    #ชุมชนคุณธรรมฯวัดท่าขนุน
    #ชุมชนคุณธรรมน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขับเคลื่อนด้วยพลังบวร

    c_oc=AQkDg-hTqzNmnb9Oh9srV_muuH79him2GzEA-grQfdh4eAqQRsefR8fEp47jIlumeAE&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  15. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQk4uNQrfVr0plUIO_Rs7Z_zRCERZLY1jT_LHsoRYwFq_hfPUdiNJvjoa_Z-gmOCaqs&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg




    ✽ เหตุใด พระอานนท์ผู้ใกล้ชิดพระพุทธเจ้ากลับบรรลุธรรมช้า และในอิริยาบถที่แปลก ✽


    ประวัติพระอานนท์ เอตทัคคะในทางพหูสูตร
    พระอานนท์ เป็นพระราชโอรสของพระสุกโกทนะ ผู้เป็นพระกนิษฐาของพระเจ้าสุทโธทนะ พระมารดานามว่า พระนางกีสาโคตมี มีศักดิ์เป็นพระอนุชาของพระบรมศาสดา (พระราชโอรสของพระเจ้าอา) ออกบวชพร้อมกับเจ้าชายอนุรุทธะและอุบาลี เมื่อท่านบวชแล้ว ได้ฟังโอวาทจากพระปุณณมันตานี ได้ บรรลุเป็นพระโสดาบัน

    ได้รับเลือกเป็นพุทธอุปัฎฐาก

    ในช่วงปฐมโพธิกาลหลังจากตรัสรู้แล้ว 20 พรรษานั้น ยังไม่มีพระภิกษุใดปฏิบัติรับใช้พระพุทธองค์เป็นประจำ มีแต่พระภิกษุผลัดเปลี่ยนวาระกันปฏิบัติ เช่น พระนาคสมาละ พระนา คิตะ พระอุปวาณะ พระสาคตะ และพระเมฆิยะ เป็นต้น

    บางคราวการผลัดเปลี่ยนบกพร่อง องค์ที่ปฏิบัติอยู่ออกไป แต่องค์ใหม่ยังไม่มาแทน ทำให้พระพุทธองค์ต้องประทับอยู่ตามลำพัง ขาดผู้ปฏิบัติ บางครั้งพระภิกษุผู้ปฏิบัติ ก็ดื้อดึงขัดรับสั่งของพระพุทธองค์

    พระพุทธองค์ ได้รับความลำบากพระวรกายเพราะถูกปล่อยให้ประทับอยู่ตามลำพังหลายครั้ง จึงมีพระดำรัสรับสั่งให้ภิกษุสงฆ์เลือกสรรภิกษุทำหน้าที่ปฏิบัติพระองค์เป็นประจำ ภิกษุทั้งหลายมีฉันทามติมอบหมายให้พระอานนท์เถระรับหน้าที่เป็นพุทธอุปัฏฐากตลอดกาลเป็นนิตย์ ด้วยเห็นว่าท่านเป็นผู้มีสติปัญญา ขยัน อดทน รอบคอบ และเป็นพระญาติใกล้ชิด ย่อม จะทราบพระอัธยาศัยเป็นอย่างดี

    ซึ่งพระอานนท์ ได้ทูลขอพร 8 ประการ ก่อนที่พระเถระจะตอบรับทำหน้าที่เป็นพุทธอุปัฏฐาก ดังนี้:-
    1) ขออย่าประทานจีวรอันประณีตแก่ข้าพระองค์
    2) ขออย่าประทานบิณฑบาตอันประณีตแก่ข้าพระองค์
    3) ขอได้โปรดอย่าให้ข้าพระองค์อยู่ในที่ประทับของพระองค์
    4) ขอได้โปรดอย่าพาข้าพระองค์ไปในที่นิมนต์
    5) ขอพระองค์จงเสด็จไปสู่ที่นิมนต์ ที่ข้าพระองค์รับไว้
    6) ขอให้ข้าพระองค์พาบริษัทที่มาจากแดนไกลเข้าเฝ้าพระองค์ได้ในขณะที่มาถึงแล้ว
    7) ถ้าข้าพระองค์เกิดความสงสัยขึ้นเมื่อใดขอให้ข้าพระองค์เข้าเฝ้าทูลถามความสงสัยได้เมื่อนั้น
    8) ถ้าพระองค์แสดงพระธรรมเทศนาเรื่องใด ในที่ลับหลังข้าพระองค์ขอได้โปรดตรัสพระธรรมเทศนาเรื่องนั้น แก่ข้าพระองค์อีกครั้ง

    โดยให้เหตุผลว่า
    “ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพรข้อที่ 1-4 ข้างต้น ก็จะมีคนพูดติฉินนินทา ได้ว่า พระอานนท์ ปฏิบัติบำรุงอุปัฏฐากพระบรมศาสดา จึงได้ลาภสักการะมากมายอย่างนี้ การปฏิบัติอุปัฏฐากมิได้หนักหนาอะไรเลย และถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพรข้อที่ 5-7 ก็จะมีคนพูดได้อีกว่าพระอานนท์ จะบำรุงอุปัฏฐากพระบรมศาสดาไปทำไม แม้กิจเพียงเท่านี้ พระพุทธองค์ก็ไม่ทรงอนุเคราะห์

    อนึ่ง โดยเฉพาะถ้าข้าพระองค์ไม่ได้รับพรข้อสุดท้ายแล้ว หากมีผู้มาถามข้าพระองค์ว่า ธรรมข้อนี้พระพุทธองค์ทรงแสดงที่ไหน ถ้าข้าพระองค์ไม่ทราบ เขาก็จะตำหนิได้ว่า พระอานนท์ ติดตามพระบรมศาสดาไปทุกหนแห่ง ดุจเงาตามพระองค์ แต่เหตุไฉนจึงไม่รู้แม้แต่เรื่องเพียงเท่านี้"

    พระบรมศาสดา เมื่อได้สดับคำชี้แจงของพระอานนท์แล้ว จึงประทานสาธุการ และพระราชทานอนุญาตให้ตามที่ขอทุกประการ ตั้งแต่นั้นมา ท่านพระเถระก็ปฏิบัติหน้าที่บำรุงอุปัฏฐากพระพุทธองค์ตลอดมา ตราบเท่าถึงเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน

    ***********************************************************************************************************

    การบรรลุธรรมของพระอานนท์

    เจ้าชายอานนท์ออกบวชพร้อมกับเจ้าชายศากยะท่านอื่น ๆ คือ เมื่อบวชได้ไม่นานเจ้าชายองค์อื่น ๆ สำเร็จเป็นพระอรหันต์ คงเหลือที่พระอานนท์กับพระเทวทัตเท่านั้นที่ยังไม่บรรลุเป็นพระอรหันต์ สำหรับพระอานนท์ได้บรรลุธรรมเบื้องต้นคือพระโสดาบันเท่านั้น ส่วนพระเทวทัตได้แค่อภิญญาแต่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ

    เสียใจที่ตนยังไม่ได้บรรลุพระอรหันต์ ทั้งที่พระพุทธเจ้ากำลังใกล้จะปรินิพพาน

    ในกาลที่พระพุทธเจ้าใกล้จะปรินิพพาน พระอานนท์เถระมีความน้อยเนื้อต่ำใจที่ตนยังเป็นพระโสดาบันอยู่ เกรงจะบรรลุอรหันต์ไม่ทันพระบรมศาสดาที่กำลังจะเสด็จเข้าสู่พระปรินิพพานในอีกไม่ช้า จึงหลีกออกไปยืนร้องไห้แต่เพียงผู้เดียวข้างนอก พระพุทธองค์รับสั่งให้ภิกษุไปเรียกเธอมาแล้ว ตรัสเตือนให้เธอคลายทุกข์โทมนัสพร้อมทั้งตรัสพยากรณ์ว่า....
    “อานนท์ เธอจะได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ในวันทำปฐมสังคายนา”

    การบรรลุธรรมที่แปลกกว่าพระอรหันตเถระรูปอื่น

    หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วได้สามเดือนพระมหากัสสปเถระได้นัดประชุมพระอรหันต์ขีณาสพ จำนวน 500 องค์ เพื่อทำปฐมสังคายนา โดยมอบให้พระอานนท์รับหน้าที่วิสัชนาพระสูตรและพระอภิธรรม แต่เนื่องจากพระอานนท์ยังเป็นพระโสดาบันอยู่ ในขณะที่องค์คณะปฐมสังคยานาเป็นการรวมพระอรหันตสาวกทั้งหมด เว้นแต่พระอานนท์ ท่านจึงได้เร่งเพียรธรรม โดยหวังว่าจะบรรลุธรรมก่อนที่จะมีการสังคายนาขึ้น

    ท่านเร่งทำความเพียรอย่างหนักแม้ในคืนสุดท้ายก่อนปฐมสังคายนา แต่ก็ยังไม่สำเร็จจนเกิดความอ่อนเพลีย ท่านจึงปรารภที่จะพักผ่อนอิริยาบถสักครู่ จึงเอนกายลงบนเตียง ในขณะที่เท้าพ้นจากพื้น ศีรษะกำลังจะถึงหมอน เพราะต้องการพักผ่อน ด้วยปลงใจว่า ไม่ควรหักโหมในการปฏิบัติมากนัก ท่านก็สำเร็จเป็นพระอรหันต์
    (ซึ่งเป็นแง่คิดแก่นักปฏิบัติธรรม ในการรู้จักปรับสภาพการปฏิบัติของตนให้เหมาะสม หรือที่ใช้กันในทางพระคือการปรับอินทรีย์ ไม่ให้หักโหมนักหรือไม่ให้ย่อหย่อนนัก)

    การบรรลุสำเร็จเป็นพระอรหันต์ของพระอานนท์ ที่ไม่ได้เป็น 1 ในอิริยาบถ 4 คือการ ยืน เดิน นั่ง นอน แต่เป็นการเอนกายลงบนเตียง ในขณะที่เท้าพ้นจากพื้น ศีรษะกำลังจะถึงหมอนเป็นการบรรลุเป็นพระอรหันต์ที่แปลกกว่าพระเถระรูปอื่น ๆ

    ดังในพระไตรปิฎก ว่า

    [617] ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์คิดว่า พรุ่งนี้เป็นวันประชุม
    ข้อที่เรายังเป็นเสกขบุคคลอยู่จะพึงไปสู่ที่ประชุมนั้น ไม่ควรแก่เรา
    จึงยังราตรีเป็นส่วนมากให้ล่วงไปด้วย กายคตาสติ
    ในเวลาใกล้รุ่งแห่งราตรีจึง เอนกาย ด้วยตั้งใจว่า จักนอน
    แต่ศีรษะยังไม่ทันถึงหมอนและเท้ายังไม่ทันพ้นจากพื้น
    ในระหว่างนั้น จิตได้หลุดพ้นจากอาสวะ เพราะไม่ถือมั่น
    ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์เป็นพระอรหันต์ได้ไปสู่ที่ประชุม ฯ

    การบรรลุธรรมของพระอานนท์ในด้านการปฎิบัติ คือ ท่านได้พยายามจนที่สุดแล้ว จนเข้าใกล้เวลาของการทำสังคายนา คงเห็นว่าท่านคงไม่สามารถบรรลุธรรมได้ จึงปล่อยวางโดยคิดว่าจะบรรลุอรหัตตผลหรือไม่ก็พักผ่อนดีกว่า จิตที่ปล่อยวางความอยากบรรลุธรรมนั่นเอง คือ ความปล่อยวางตัวสุดท้ายที่ต้องละทิ้งไป ภาวะของการบรรลุธรรมคือ การปล่อยวางเสียทุกสิ่ง ทั้งที่เป็นกุศลและอกุศล

    ***********************************************************************************************************

    เหตุใดพระอานนท์จึงบรรลุธรรมช้ากว่าพระอรหันต์รูปอื่น ๆ
    ทั้งที่อยู่ใกล้ชิดพระพุทธเจ้าทั้งวันทั้งคืน และบรรลุในอิริยาบถ ที่แปลกกว่าพระอรหันต์ทั่วไป

    เพราะเหตุใดพระอานนท์ จึงไม่บรรลุธรรม ในขณะที่พระพุทธองค์ยังมีพระชนมชีพอยู่ ทั้งที่ท่านก็ฉลาดมาก สามารถจดจำอรรถธรรมได้มากมายหาที่สุดมิได้

    เหตุใดจึงบรรลุช้า การบรรลุช้าแสดงว่าท่านมีปัญญาน้อยกว่าหรือไม่ ?

    พระอานนท์ ท่านเป็นเอตทัคคะผู้เป็นพหูสูตร ท่านย่อมสั่งสมปัญญาและบารมีมามาก อย่างไรก็ตาม การที่จะบรรลุธรรมนั้น ความพร้อมของอินทรีย์ ญาณ กาลวาระ ฯลฯ และเหตุปัจจัยทุกอย่างต้องสมบูรณ์พร้อม ซึ่งแต่ละบุคคลย่อมมีอัธยาศัยต่างๆ กันตามการสั่งสม

    สำหรับพระอานนท์ท่านเป็นพุทธอุปัฏฐาก เป็นอัธยาศัยที่ท่านน้อมไปที่จะอยู่ถวายการดูแลพระผู้มีพระภาคฯ ซึ่งในขณะนั้นเหตุปัจจัยต่าง ๆ ที่จะบรรลุพระอรหันต์ยังไม่บริบูรณ์

    สื่อให้เห็นว่า การเป็นผู้มีความรู้ในพระธรรมหรือทรงจำพระธรรมได้มากมายขนาดไหนก็ตาม ถ้าขาดการปฏิบัติเสียแล้วก็มิอาจจะบรรลุธรรมได้ อย่างพระอานนท์เป็นต้น ท่านเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งพระไตรปิฏก แต่เมื่อไม่มีเวลาลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังแล้วก็ไม่สามารถบรรลุธรรมได้

    นอกจากนี้ การบรรลุเร็วไม่ได้หมายความว่า ผู้นั้นจะมีปัญญามากกว่า ดังตัวอย่าง ท่านพระสารีบุตร ท่านบรรลุอรหัตมรรคช้ากว่าท่านพระมหาโมคคัลลานะ แต่ท่านเป็นพระอัครสาวกและเป็นเอตทัคคะผู้เลิศด้วยปัญญากว่าพระภิกษุทั้งหลาย เช่นกัน พระอานนท์บรรลุพระอรหันต์ช้า เพราะเหตุว่า อินทรีย์บารมีญาณของท่านยังไม่ถึงพร้อมเพื่อการบรรลุเป็นพระอรหันต์ อีกอย่างหนึ่งคือเป็นธรรมดาของพุทธอุปัฏฐาก ที่มีอัธยาศัยเช่นนั้นเพื่ออยู่อุปัฏฐากพระพุทธองค์

    ความสำคัญของความเป็นพหูสูตรของพระอานนท์ที่มีผลต่อปฐมสังคายนาอย่างยิ่ง

    ด้วยอัธยาศัยน้อมไปที่จะถวายการอุปัฏฐากใกล้ชิด และความเป็นพหูสูตร รวมกับคำขอว่า ถ้าพระพุทธเจ้าแสดงพระธรรมเทศนาเรื่องใด ในที่ลับหลังพระอานนท์ จะขอได้โปรดตรัสพระธรรมเทศนาเรื่องนั้น แก่พระอานนท์อีกครั้ง ซึ่งคำขอนี้เองส่งผลให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งเมื่อมีการปฐมสังคยานา

    ซึ่งในปฐมสังคายนา พระอานนท์ได้รับมอบหมายหน้าที่สำคัญคือ วิสัชนาพระสูตรและพระอภิธรรม ในฐานะที่เป็นพุทธอุปฐากคอยรับใช้ใกล้ชิด ท่านได้ฟังธรรมจากพระผู้มีพระภาคเจ้ามากที่สุด และทรงจำพระธรรมเทศนาของพระองค์ได้ทั้งหมด

    ⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱⊰⊱

    ✽ แหล่งข้อมูล

    พระพุทธเจ้าตรัสสอน เหตุที่ทําให้สำเร็จเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า
    หลักปฏิบัติเพื่อการบรรลุธรรม ๖๑ (การบรรลุธรรมของพระอานนท์) สืบค้นจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/plang/2012/01/24/entry-1 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 60
    ประวัติพระอานนท์เถระ สืบค้นจาก http://84000.org/one/1/12.html เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 60
    ทำไมพระอานนท์ อยู่กับพระพุทธองค์ทั้งวันทั้งคืน แต่ทำไม่บรรลุธรรม เว็บบอร์ด ธรรมะไทย สืบค้่นจาก http://www.dhammathai.org/webboard/dbview.php?No=1067 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 60
    ทำไมพระอานนท์ถึงบรรลุอรหันต์ช้า สืบค้นจาก http://www.dhammahome.com/webboard/topic/4137 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 60
    พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ๙. กายคตาสติสูตร (๑๑๙) สืบค้นจาก http://www.84000.org...4&A=4182&Z=4496 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 60
    พระอานนท์เถระ โดย hiphoplanla สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=5h2CPheROBM เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 60

    ✽ ภาพประกอบเรื่อง : จากปกหนังสือเรื่องพระอานนท์ ผู้เรียบเรียง : นภ วีระพงษ์ สำนักพิมพ์ อมรินทร์ธรรมะ

    ❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖❖

    ~ ความดี แม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ยิ่งบอกเล่า ยิ่งมีพลัง ~

    ❖ การให้ธรรมะเป็นทาน เหนือการให้ทานทั้งปวง ร่วมกันแชร์ธรรมเป็นธรรมทาน เพื่อประโยชน์สุขของส่วนรวม ❖

    ❖ เพจ เช่นนั้นเอง ❖ "ธรรมะย่อยง่าย ปฎิบัติได้แม้อยู่บ้าน" คลิกติดตามและเป็นกำลังใจให้เราได้ที่
    https://www.facebook.com/pages/เช่นนั้นเอง/1465790820370399?ref=hl
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  16. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    ยอมรับกฎของกรรม

    ถาม : ถ้าศีลขาด จริง ๆ เราต้องไม่เสียกำลังใจ ต้องไม่เสียการภาวนา ต้องพยายามทำกำลังใจให้ผ่องใสตลอดเวลา ?
    ตอบ : ต้องหน้าด้านทำต่อไป เพราะถ้าศีลขาดแล้วมัวแต่เสียเวลาคร่ำครวญอยู่ ก็เท่ากับว่าเราเสียระยะทางที่ควรได้ เหมือนกับคนหกล้ม ลุกได้แล้วไปต่อเลย กับคนที่หกล้มแล้วนั่งครางอยู่นั่นแหละ...เจ็บเหลือเกิน ก็ไปไม่ได้สักที

    พระอาจารย์สอนว่า "หลวงพ่อวัดท่าซุงท่านใช้คำว่า "อย่าติดในสุข อย่ากังวลในทุกข์ ปล่อยวางในสิ่งทั้งปวง ยอมรับกฎของกรรม" คือ ถ้าเราไม่ได้ทำเราก็จะไม่โดน ถ้าโดนก็มานั่งพิจารณาว่า สมัยก่อนกูนี่เกเรน่าดูเลย

    ยอมรับกฎของกรรมแล้วสบายใจที่สุด เห็นว่าธรรมดาทุกอย่างเป็นอย่างนี้ เราไม่สามารถที่จะห้ามคนอื่นได้ แต่เราสามารถที่จะรักษาใจตัวเองได้"

    เก็บตกจากบ้านเติมบุญ ต้นเดือนกันยายน ๒๕๖๐
    พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.
    (พระอาจารย์เล็ก สุธมฺมปญฺโญ)
    เจ้าอาวาสวัดท่าขนุน จ.กาญจนบุรี

    c_oc=AQmZrZtosfsZi8wg9EfobpPq99C3wKhK6GvClK-r45771fH_J1SA1lIQKUbnfP_5hTI&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
  17. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQmZDd74uWbe-03bNu_ZxBy33HYHMoyUztdgtWi3nLxeGFXf1Ejugvrk5yUKylsG4tE&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
    watthakhanun

    การจุติของพระโพธิสัตว์ในชาติสุดท้าย

    เมื่อช่วงเดือนที่ผ่านมาสอนพุทธประวัติ พระพุทธเจ้าท่านจุติจากสวรรค์ชั้นดุสิต สันดุสิตเทพบุตรจุติสู่พระครรภ์ของพระนางสิริมหามายา ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ อยู่ในท้องแม่ ๑๐ เดือนถ้วน ๆ ไปคลอดเอาวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ของปีถัดไป

    ถาม : จากดาวดึงส์ ?
    ตอบ : จากชั้นดุสิต สวรรค์ชั้นดุสิตเข้ายาก กติกาเขาเยอะ อันดับแรก ต้องเป็นพระโพธิสัตว์บารมีเต็ม อันดับที่สอง ต้องเป็นพ่อแม่ของพระโพธิสัตว์ในชาติสุดท้าย ที่ท่านจะตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้า อันดับที่สาม ต้องเป็นพระอริยเจ้าตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไป เพราะฉะนั้น..ชั้นนี้คุณสมบัติไม่ถึงไม่ได้อยู่

    เมื่อท่านลงมา ในบาลีท่านใช้คำว่า อยู่ถ้วนทศมาส ต่างจากสัตว์เหล่าอื่น สัตว์อื่นอยู่ในครรภ์มารดาไม่ถึง ๑๐ เดือนบ้าง เกิน ๑๐ เดือนบ้าง แต่พระโพธิสัตว์ที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าจะอยู่ ๑๐ เดือนถ้วน ๆ ในระหว่างที่อยู่ในครรภ์ จะไม่ได้คุดคู้เหมือนทารกทั่วไป แต่จะอยู่ในท่านั่งสมาธิ ผู้เป็นมารดาสามารถเห็นได้ตลอดเวลา เหมือนดังแก้วมณีอันใสที่ร้อยผ่านด้วยด้ายเหลือง แก้วใส ๆ เอาด้ายเหลืองร้อยผ่านก็มองเห็นใช่ไหม ? อันนั้นแม่มองเห็นลูกในท้องอยู่ตลอด

    พอคลอดออกมา ท่านเดินไป ๗ ก้าว ประกาศวาจาว่า
    “อะหัง อัคโคหะมัสมิ โลกัสสะ

    อะหัง เชฏโฐหะมัสมิ โลกัสสะ
    อะหัง เสฏโฐหะมัสมิ โลกัสสะ

    อะยะมันติมา เม ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ

    เราเป็นผู้เลิศที่สุดในโลก เราเป็นผู้เจริญที่สุดในโลก
    เราเป็นผู้ประเสริฐที่สุดในโลก ขึ้นชื่อว่าการเกิดสำหรับเราต่อไปไม่มี”
    เด็กเพิ่งจะคลอด เดินได้ พูดได้ เป็นไปได้ไหม ?

    พระเขาถามส่วนใหญ่เขาจะไปสงสัยตรงจุดนั้น พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า
    “สัตว์บางเหล่าจุติมิรู้ตัว ลงสู่ครรภ์มารดามิรู้ตัว คลอดออกมาจึงรู้ตัว
    สัตว์บางเหล่าขณะจุติไม่รู้ตัว เข้าสู่ครรภ์มารดาแล้วรู้ตัว คลอดออกมาแล้วรู้ตัว
    สัตว์บางเหล่าขณะจุติรู้ตัวอยู่ อยู่ในครรภ์มารดารู้ตัวอยู่ คลอดออกมารู้ตัวอยู่”

    ประเภทสุดท้ายนี่แหละ ทำอะไรก็รู้อยู่ พัฒนาการไม่ได้โดนขัดขวาง ออกมาก็เลยเดินได้พูดได้เลย เพราะว่าท่านรู้อยู่ตลอด คราวนี้คนสมัยหลัง ๆ ถ้าไม่ได้ศึกษาตรงจุดนี้ เขาก็จะคิดว่าเวอร์ เกิดมาอะไรวะพูดได้เดินได้เลย จะเอาพระพุทธเจ้าที่สร้างบารมีมาอย่างน้อยสี่อสงไขยกับแสนมหากัป ลงมาเท่ากับมนุษย์ขี้เหม็นทั่ว ๆ ไป..!

    สนทนากับพระอาจารย์เล็ก สุธมฺมปญฺโญ
    ณ บ้านอนุสาวรีย์ฯ เดือนพฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๕

    ภาพ : พระอาจารย์สรงน้ำพระพุทธเจ้าน้อย (หยกขาว) ที่สมเด็จพระสังฆราชจากประเทศพม่าประทานให้ ในวันสงกรานต์ปี ๒๕๕๖

    ที่มา : www.watthakhanun.com

    #๖๐ปีพระครูวิลาศกาญจนธรรม
     
  18. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    c_oc=AQnSARnqGTD2Q348sWyipOATwvPlOTSt8rIasoJ31eroUOCZH5zeorgoTbIooOSjfD8&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  19. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    คนเราหนีตายไม่พ้น แม้เพียงวันเดียว

    1. ตายน้อย ก็คือ นอนหลับทุกคืน หลับชั่วคราว คือ ตายทุกคืน ตื่นตอนเช้า

    2. ตายใหญ่ ก็คือ นอนหลับตลอดกาล แต่จิตไปตื่นตรงที่มีกายใหม่ มีกายใหม่ที่อื่นเป็นกายผี กายสัตว์ กายเทวดา กายพรหม แล้วแต่ผลบุญหรือผลบาปที่ทำไว้ตอนเป็นคน

    หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ..

    c_oc=AQlD9Czdtb6bptMrIsLId2KPIhaRsR9nEkJrDzI86lmeFsJaqrbVb7XvTzFDRzBPrwI&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg **********************


    ดังนั้น ใช้ปัญญา และความเพียร บำเพ็ญบารมีให้ได้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน

    ทำจนเป็นกิจวัตร เป็นส่วนของชีวิตที่ขาดไม่ได้ แต่เป็นสาระที่ติดไปทุกภพเพื่อการสำเร็จพระโพธิญาณ
     
  20. NAMOBUDDHAYA

    NAMOBUDDHAYA ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    21,243
    กระทู้เรื่องเด่น:
    998
    ค่าพลัง:
    +70,040
    พระปัจเจกพุทธเจ้าท่านมาโปรด ท่านบอกว่า "ถ้าภาวนาคาถาเงินล้านเป็นกรรมฐาน ทรงอารมณ์โดยไม่เคลื่อนเลยวันละ ๑ ชั่วโมงจะสร้างโบสถ์กี่หลังก็ทำได้"

    ญาติโยมทั้งหลายนั้นแม้จะทราบว่าคาถาเงินล้านเป็นของดีแต่ไม่ค่อยจะทำอย่างสม่ำเสมอ ไม่ค่อยต่อเนื่องบางคนก็มาบ่น บอกว่ามีความลำบากในการทำมาหากินมาก อาตมาก็บอกคาถาเงินล้านให้ไปใช้เขาบอกว่าเขาภาวนาเป็นประจำทุกวันอยู่แล้ว ถามว่า "โยมภาวนาวันละกี่จบ ?" โยมบอกว่า "๑ จบ" อาตมาก็อยากจะบอกว่า "จบเห่"

    คนอยากรวยทำงานวันละ ๑ นาที ขนาด ๒๔ ชั่วโมงทำ ๘ ชั่วโมงยังไม่ค่อยจะพอกินเลย จึงได้บอกให้ญาติโยมทั้งหลายไปเพิ่มจำนวนขึ้นทำให้จริงจังและสม่ำเสมอ โดยให้ยึดที่ ๑๐๘ จบ เป็นหลัก

    เพราะว่าภาวะเศรษฐกิจไม่ใช่แต่บ้านเราเท่านั้น เศรษฐกิจโลกก็พลอยแย่ไปด้วยถ้าหากว่าเราอาศัยบารมีพระยึดท่านเป็นที่พึ่งสุดท้ายจริง ๆ ทำแบบมอบหมายถวายชีวิตจริง ๆ ขอยืนยันว่าทุกอย่างก็จะเป็นจริงไปด้วย

    ท่านให้ภาวนาคาถาเงินล้านอย่างเดียว ตอนที่ภาวนาตามที่ท่านสั่ง ทำไป ๆเหมือนกับตัวเองดิ่งลึกลงไปเรื่อย ๆ จนในที่สุดลมหายใจมันก็ลึกหมือนกับเหวที่ไม่มีก้นญาติโยมทั้งหลายจำตรงนี้ไว้ให้แม่น ๆ

    หากว่าภาวนาจับลงที่ศูนย์กลางกายถ้าตรงจุดพอเหมาะพอดีมันจะลึกลงไปเรื่อย ๆ เหมือนเหวที่ไม่มีก้นแบบที่หลวงปู่สดท่านบอกว่าให้หยุดลงตรงกลาง....ตรงกลางลงไป...ตรงกลางลงไปก็จะไปได้เรื่อย ๆ

    อาตมาเองมีประสบการณ์หลายครั้งแล้วว่าไม่ว่าภาวนาคาถาบทไหนก็ตาม ถ้าหากว่ามาถึงตรงจุดนี้คาถาบทนั้นจะมีผลมาก เพราะฉะนั้นพวกเราทุกคนทำให้ถูกตรงนี้ถ้าทำถูกไม่ต้องไปท่องเป็นร้อยเป็นพันจบก็ได้เพราะว่าอารมณ์เต็มที่มันก็จะไม่เกินนั้น

    พระอาจารย์เล็ก วัดท่าขนุน

    c_oc=AQkG4zeexbnnPuLbma1ddBUjO5K-EhA30-1Tej5fwVyGxFxpyovn2p-oUqL0Jrtv9l4&_nc_ht=scontent.fcnx3-1.jpg
     
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...