ดร.ก้องภพอธิบายปรากฏการณ์ทางไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับภัยธรรมชาติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย ZZ, 26 ธันวาคม 2012.

  1. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ดร.ก้องภพอธิบายปรากฏการณ์ทางไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับภัยธรรมชาติ

    ถอดรหัสภัยพิบัติ 10/11


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/_AqeSduASTk?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    เผยแพร่เมื่อ 19 ธ.ค. 2012

    ถอดรหัสภัยพิบัติพลิกวิกฤตให้เป็นคำเตือน

    ร่วมฉลองครบรอบ 40 ปี คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
    มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

    บรรยายเรื่อง "จับสัญญาณอันตรายโลก กับ ภัยนอกระบบสุริยะจักรวาล"
    โดย ดร.ก้องภพ อยู่เย็น

    วันอาทิตยที่ 16 ธันวาคม 2555

    ณ อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล
    คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

    หมวดหมู่
    การศึกษา
    สัญญาอนุญาต
    สัญญาอนุญาตของ YouTube แบบมาตรฐาน


    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2012
  2. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    ดูข้อมูลเพิ่มเติม...ได้ที่

    Fundamental Forces



    [​IMG]
    .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Force.png
      Force.png
      ขนาดไฟล์:
      203.1 KB
      เปิดดู:
      287
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2012
  3. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Transverse waves in a spring in slow motion

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/AtlxBODxWHc?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>


    Longitudinal waves in a spring in slow motion

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/ubRlaCCQfDk?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>
     
  4. มณีจำปา

    มณีจำปา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    1,423
    ค่าพลัง:
    +9,369
    ขอบคุณมากค่ะ คุณ ZZ ที่นำคำบรรยายของ ดร.ก้องภพ และเนื้อหาขององค์ความรู้ประกอบคำบรรยายมาให้ได้รับรู้ รับทราบกัน [​IMG]
     
  5. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Gravity Force เทียบกับ Strong Force และ Electro-magnetic Froce...ไม่ได้เลย


    [​IMG]

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • FX01.png
      FX01.png
      ขนาดไฟล์:
      131.3 KB
      เปิดดู:
      247
    • F004.png
      F004.png
      ขนาดไฟล์:
      40.2 KB
      เปิดดู:
      252
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2012
  6. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,375
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,652
    Strong Force ไม่จำเป็นว่าจะต้องเกิดขึ้นในระดับโปรตรอนหรืออิเลคตรอนแต่เพียงอย่างเดียว...เพราะเมื่อสเกลของวัตถุใหญ่ขึ้น...แรงระหว่างประจุไฟฟ้า + / - / N ก็จะมีสเกลใหญ่ขึ้นตามไปด้วย

    Van Allen radiation belt...บอกเราว่า...โลกเองก็มีประจุไฟฟ้า...และมีแรงระหว่างประจุ...กระทำกันตลอดเวลา


    The Van Allen radiation belt

    Positively and negatively charged particles (mostly protons and electrons) are trapped in the inner Van Allen belt, and negatively charged particles are trapped in the outer Van Allen belt.


    [​IMG]




    ดวงอาทิตย์...เป็นแหล่งกำเนิดพลาสม่าขนาดใหญ่ (และหมายถึงเป็นแหล่งกำเนิดประจุไฟฟ้าขนาดใหญ่...เช่นกัน)

    The Sun’s plasma sheath

    [​IMG]

    The Sun’s plasma sheath. The white curve shows how the voltage changes within the solar plasma as we move outward from the body of the Sun. Positively charged protons will tend to “roll down the hills.” So the photospheric tuft plasma acts as a barrier to limit the Sun’s power output. The plateau between (b) and (c) and beyond (e) defines a normal quasi-neutral plasma. The chromosphere has a strong electric field which flattens out but remains non-zero throughout the solar system. As protons accelerate down the chromospheric slope, heading to the right, they encounter turbulence at (e), which heats the solar corona to millions of degrees. The small, but relatively constant, accelerating voltage gradient beyond the corona is responsible for accelerating the solar wind away from the Sun. Credit: W. Thornhill (after W. Allis & R. Juergens), The Electric Universe.

    http://www.holoscience.com/wp/twinkle-twinkle-electric-star/




    พลาสมา (สถานะของสสาร)

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    ในทางฟิสิกส์ และเคมี พลาสมา คือ แก๊สที่มีสภาพเป็นไอออน และมักจะถือเป็นสถานะหนึ่งของสสาร การมีสภาพเป็นไอออนดังกล่าวนี้ หมายความว่า จะมีอิเล็กตรอนอย่างน้อย 1 ตัว ถูกดึงออกจากโมเลกุล ประจุไฟฟ้าอิสระทำให้พลาสมามีสภาพการนำไฟฟ้าเกิดขึ้น

    สถานะที่ 4 ของสสารนี้ มีการเอ่ยถึงครั้งแรก โดยเซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) เมื่อ ค.ศ. 1879 และคิดคำว่าพลาสมา (plasma) โดย เออร์วิง แลงมัวร์ (Irving Langmuir) เมื่อ ค.ศ. 1928 เนื่องจากเขานึกถึงพลาสมาของเลือด

    พลาสมาจัดได้ว่าเป็นสถานะที่ 4 ของสสาร เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากสถานะอื่นอย่างชัดเจน พลาสมาประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุทั้งประจุบวกและลบ ในสัดส่วนที่ทำให้ประจุสุทธิเป็นศูนย์ การอยู่รวมกันของอนุภาคเหล่านี้เป็นแบบประหนึ่งเป็นกลาง (quasineutral) ซึ่งหมายความว่าอิเล็กตรอนและไอออนในบริเวณนั้น โดยรวมแล้วมีจำนวนเท่า ๆ กัน และแสดงพฤติกรรมร่วม (collective behavior)

    พฤติกรรมร่วมนี้หมายถึง การเคลื่อนที่ของอนุภาคในพลาสมา ไม่เพียงแต่จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในบริเวณนั้นๆ เท่านั้น แต่เป็นผลโดยรวมจากพลาสมาส่วนใหญ่ มากกว่าจะเป็นผลมาจากการชนกันของอนุภาคที่อยู่ใกล้เคียงกัน เนื่องจากอนุภาคในพลาสมาที่สถานะสมดุล จะมีการสั่นด้วยความถี่ที่สูงกว่าความถี่ในการชนกันของอนุภาค 2 ตัวที่อยู่ใกล้กัน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมร่วมนี้เป็นพฤติกรรมที่กลุ่มพลาสมาแสดงออกมาร่วมกัน

    พลาสมาสามารถเกิดได้โดย การให้สนามไฟฟ้าปริมาณมากแก่ก๊าซที่เป็นกลาง เมื่อพลังงานส่งผ่านไปยังอิเล็กตรอนอิสระมากพอ จะทำให้อิเล็กตรอนอิสระชนกับอะตอม และทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม กระบวนการนี้เรียกว่ากระบวนการแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ซึ่งจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้จำนวนอิเล็กตรอนที่หลุดออกมานี้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากซึ่งจะทำให้ก๊าซแตกตัวและกลายเป็นพลาสมาในที่สุด พลาสมามีความแตกต่างจากสถานะของแข็ง สถานะของเหลว และสถานะก๊าซ โดยมีเงื่อนไข 3 ประการ ในเรื่องดังต่อไปนี้คือ ความยาวคลื่นเดอบาย จำนวนอนุภาค และความถี่พลาสมา ซึ่งทำให้พลาสมามีความจำเพาะเจาะจงที่แตกต่างจากสถานะอื่นออกไป

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2012

แชร์หน้านี้

Loading...