ดาวหางสีเขียว Lemmon (C/2012 F6) จะเห็นได้ด้วยตาเปล่าต้นเดือนมีนาคม 2013

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 19 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    COMET LEMMON UPDATE: Glowing much brighter than expected, Comet Lemmon (C/2012 F6) is gliding through the skies of the southern hemisphere about 92 million miles (0.99 AU) from Earth. Amateur astronomer Rolf Wahl Olsen sends this picture from his backyard in Auckland, New Zealand:

    [​IMG]

    "I took this image of Comet Lemmon on the 28th of January," says Olsen. "It has become quite bright now and has also grown a beautiful tail."

    Discovered on March 23rd 2012 by the Mount Lemmon survey in Arizona, Comet Lemmon is on an elliptical orbit with a period of almost 11,000 years. This is its first visit to the inner solar system in a very long time. The comet is brightening as it approaches the sun; light curves suggest that it will reach 2nd or 3rd magnitude, similar to the stars in the Big Dipper, in late March when it approaches the sun at about the same distance as Venus (0.7 AU).

    At the moment, the comet is glowing like a 7th magnitude star, just below the limit of naked-eye visibility. To capture the faint details of the comet's filamentary tail, Olsen used a 10-inch telescope, a sensitive CCD camera, and an exposure time of 1 hour 17 minutes. Complete photo details are given here.

    Lemmon's green color comes from the gases that make up its coma. Jets spewing from the comet's nucleus contain cyanogen (CN: a poisonous gas found in many comets) and diatomic carbon (C2). Both substances glow green when illuminated by sunlight in the near-vacuum of space.

    Northern hemisphere observers will get their first good look at the comet in early April; until then it is a target exclusively for astronomers in the southern hemisphere.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2013
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    [​IMG]
    "I took this image of Comet Lemmon on the 28th of January," says Olsen. "It has become quite bright now and has also grown a beautiful tail."

    COMET LEMMON UPDATE: Glowing much brighter than expected, Comet Lemmon (C/2012 F6) is gliding through the skies of the southern hemisphere about 92 million miles (0.99 AU) from Earth. Amateur astronomer Rolf Wahl Olsen sends this picture from his backyard in Auckland, New Zealand:

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    เข้าไปอ่านรายละเอียดได้ที่ C/2012 F6 (Lemmon) - Wikipedia, the free encyclopedia

    C/2012 F6 (Lemmon) is a long-period comet discovered in Leo on 23 March 2012, by A. R. Gibbs[1] using the 1.5-m reflector at the Mt. Lemmon Survey, located at the summit of Mount Lemmon in the Catalina Mountains north of Tucson, Arizona, USA.
     
  4. คนลึกลับ

    คนลึกลับ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 มกราคม 2005
    โพสต์:
    85
    ค่าพลัง:
    +216
    ในที่สุดก็มา...... เฮ้อ....กระหน่ำซะงี้....ใครจาไปดันไหว.....สิงหา...สิงหา....สิงหา 2013 สงคราม ไฟ เศรษฐกิจ ภัยพิบัติ อุบัติภัย วาตภัย โรคภัย การเงิน มากันครบ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2013
  5. บ่วง

    บ่วง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 เมษายน 2012
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +726
    ดวงนี้เหมือนในรูปพระมหาชนกมากกว่านะ
     
  6. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    หัวสีเขียวเกิดจากก๊าซอะไรหว่า
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    A GREEN LEMMON: At the moment there are three significant comets plunging toward the sun: Comet ISON, Comet Pan-STARRS, and Comet Lemmon. The most beautiful so far is this one:

    A GREEN LEMMON:: ปัจจุบันมีดาวหางที่วิ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ลูกสำคัญๆ 3 ลูก ได้แก่ ดาวหาง ISON, ดาวหาง Pan-STARRS และดาวหาง Lemmon. และดวงที่สวยที่สุดตอนนี้คือ ดวงนี้แหล่ะ

    [​IMG]

    They came from outer space--and you can have one! Genuine meteorites are now on sale in the Space Weather Store.

    "Comet Lemmon has a beautiful tail with lovely fine structure," says Phil Hart of Lake Eppalock, Victoria, Australia, who photographed it on Feb. 17th.

    The comet is now slightly closer to the sun than Earth. Solar heating has turned it into a binocular object (magnitude +5.5 to +6) barely visible to the human eye, but dazzling through backyard telescopes, as shown in Hart's photo above.

    Comet Lemmon's verdant color comes from two of the gases boiling off its nucleus: cyanogen (CN: a poisonous gas found in many comets) and diatomic carbon (C2). Both substances glow green when illuminated by sunlight in the near-vacuum of space.

    The combination of its colorful atmosphere and filamentary tail make this comet visually striking. Ultimately, Comet Pan-STARRS and especially Comet ISON could surpass it, but for now the most beautiful comet in the solar system appears to be a green Lemmon. More about Comet Lemmon: 3D orbit, ephemeris, light curves.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids
     
  8. starme

    starme เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    288
    ค่าพลัง:
    +2,277
    นักดาราศาสตร์ชวนชม 2 ดาวหาง
    โคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 5-15 มี.ค. นี้



    นายวรวิทย์ ตันวุฒิบัณฑิต ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านดาราศาสตร์ หอดูดาวบัณฑิต อ.แปลงยาวจ.ฉะเชิงเทรา เปิดเผยเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ว่า เนื่องจากตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม ถึงวันที่ 15มีนาคม 2556 จะเกิดปรากฏการณ์ดาวหางสองดวงโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดและพอที่จะสังเกตได้ในประเทศไทย แต่จะสังเกตยากมาก ต้องเป็นพื้นที่สูง และฟ้าที่ขอบฟ้าต้องใสมากๆจึงจะเห็นได้ พื้นที่กรุงเทพฯหมดสิทธ์เห็นแน่นอน ทั้งนี้ ดาวหางดวงแรก คือ C/2011 L4 PANSTARRS ค้นพบเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2011 ซึ่งมีคาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ 110,000 ล้านปีแสง ใกล้โลกที่สุด วันที่5 มีนาคม 2013 และใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด วันที่ 10 มีนาคม 2013 ที่ 0.3016 หน่วยดาราศาสตร์ ( A.U.)ความเร็วของดาวหางขณะใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 76.7 กิโลเมตร ต่อวินาที โดย เริ่มสังเกตได้ ตั้งแต่วันที่ 5 มีนาคม เป็นต้นไปถึง15 มีนาคมสามารถเห็นได้ด้วยกล้องสองตา บน ท้องฟ้าช่วงหัวค่ำขณะที่ดวงอาทิตย์เริ่มตกดิน หลังจากนั้นจะไม่สามารถสังเกตได้เนื่อง จากดาวหางอยู่ระนาบเดียวกันกับดวงอาทิตย์ จะสังเกตได้อีกครั้งหลังวันที่ 15 เมษายน เป็นต้นไป ทางท้องฟ้าช่วงเช้ามืด ซึ่งความสว่างของดาวหางก็ลดลงต้องใช้กล้องดูดาวเท่านั้นจึงจะสังเกตดาวหางได้



    ส่วนดาวหางดวงที่สอง คือ C/2012 F6 Lemmon ค้นพบเมื่อวันที่ 23 มีนาตม 2012 โดยทีมงาน Lemmon survey ที่ยอดเขาเมาท์ Lemmon in the catalina Mountains Nortn of Tucson Arizona USA มีคาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ 11,180 ปีแสง ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด วันที่ 24 มีนาคม 2013 ที่ 0.7313 หน่วยดาราศาสตร์ ( A.U.)ความเร็วของดาวหางขณะใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด 76.7 กิโลเมตร ต่อวินาที การสังเกตดาวหางดวงนี้ ประเทศไทย เริ่มสังเกตได้ ตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไปถึง15 มีนาคม สามารถเห็นได้ด้วยกล้องสองตา บน ท้องฟ้าช่วงหัวค่ำขณะที่ดวงอาทิตย์เริ่มตกดิน หลังจากนั้นจะไม่สามารถสังเกตได้เนื่อง จากดาวหางอยู่ระนาบเดียวกันกับดวงอาทิตย์ จะสังเกตได้อีกครั้งหลังวันที่ 15 เมษายน เป็นต้นไป ทางท้องฟ้าช่วงเช้ามืด ซึ่งความสว่างของดาวหางก็ลดลงต้องใช้กล้องดูดาวเท่านั้นจึงจะสังเกตดาวหางได้เนื่องจากดาวหางทั้งสองดวงอยู่ใกล้ขอบฟ้ามาก



    “การสังเกตดาวหางต้องหาที่โล่งและควรเป็นที่สูงด้วย และขอบฟ้าวันที่สังเกตต้องใสไม่มีเมฆหรือหมอกควันมาบดบัง จึงจะสามารถมองเห็นดาวหางได้” นายวรวิทย์กล่าว



    ที่มา ข่าวการเมือง เศรษฐกิจ กีฬา บันเทิง-ศิลปวัฒนธรรม ต่างประเทศ การศึกษา : มติชนออนไลน์
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    TWO COMETS AND THE SOUTHERN LIGHTS: Two comets are now visible in the skies of the southern hemisphere: "Comet Lemmon and Comet PanSTARRS got close enough together on the morning of Feb. 17th to fit into single image with a 35mm lens," reports Alex Cherney of Flinders, Victoria, Australia. "A brief but reasonably strong aurora was a welcome bonus." Click to set the scene in motion:

    [​IMG]

    "Both comets were faint but visible to the naked eye, C/2011 L4 (PanSTARRS) slightly brighter than C/2012 F6 (Lemmon)," says Cherney. "I would guestimate the visual magnitude of Comet Lemmon at +5.5 and PanSTARRS at +5." Also visible in Cherney's images are the Small Magellanic Cloud and the 47 Tuc globular star cluster.

    Comet Pan-STARRS is heading for a close encounter with the sun just inside the orbit of Mercury that could significantly boost its visibility in early March. At that time, the comet will be visible to northern-hemisphere observers as well. A video from NASA explores the possibilities.

    SpaceWeather.com -- News and information about meteor showers, solar flares, auroras, and near-Earth asteroids

    ดาวหางสองดวงตอนนี้สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าที่ทางโลกซีกใต้ "ดาวหาง Lemmon และ ดาวหาง PanSTARRS อยู่ใกล้กันพอที่จะเห็นพร้อมๆ กันเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ในภาพเดียวกันด้วยเลนส์ 35 mm" Alex Cherney ที่ Flinders วิคตอเรีย ออสเตรเลีย รายงานไว้ "สั้นๆ แต่ ออโรร่าที่เห็นได้ชัดได้ ถูกรับเชิญมาเป็นโบนัส"

    ดาวหางทั้งสองไม่ได้ชัดมากแต่สามารถมองเห็นได้โดยตาเปล่า C/2011 L4 (PanSTARRS) จะสว่างมากกว่า C/2012 F6 (Lemmon) เล็กน้อย Cherney กล่าวไว้ "ผมเดาว่าดาวหาง Lemmon จะเห็นได้ด้วยความสว่าง +5"

    ดาวหาง Pan-STARRS กำลังหันหนัามุ่งไปใกล้กับดวงอาทิตย์กำลังเข้าไปในวงโคจรของดาวพุธ นั่นหมายความว่ามันสามารถเพิ่มความสว่างและทำให้เห็นได้ชัดได้ในเดือนมีนาคม ถึงเวลานั้นดาวหางนี้จะเห็นได้ในซีกโลกทางเหนือด้วย
     
  10. vissarut

    vissarut เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2008
    โพสต์:
    135
    ค่าพลัง:
    +300
    น่าจะเป็นดาวหางดวงนี้แหละที่มีภาพอยู่ในพระมหาชนกแสดงว่าใกล้ถึงเวลาที่วิเคราะห์กันไว้แล้ว
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ภาพแสดงวงโคจรและตำแหน่งของ ดาวหาง Lemmon
    ณ วันที่ 1 มีนาคม 2556

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ภาพจำลองเส้นทางการโคจร ของดาวหาง C/2012 F6 (Lemmon)


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    แถบเส้นศูนย์สูตร เทียบกับ ดาวหาง C/2011 L4 (PanSTARRS) คงจะเห็นยากกว่า

    .
     
  13. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    ทิศไหนหว่า จะได้เอากล้องไปตั้ง 555+
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,729
    ค่าพลัง:
    +77,793
    Wow! Rare Photos Capture 2 Comets Together in Night Sky
    by Nina Sen


    Date: 05 March 2013 Time: 04:33 PM ET

    ภาพที่หาดูได้ยาก ที่จับภาพดาวหางสองดาวหางพร้อมๆ กันในภาพเดียวกัน ดาวหาง Pan-STARRS และ ดาวหาง Lemmon

    [​IMG]

    wo comets are putting on an amazing night sky show this month and some intrepid photographers have captured rare views of both celestial objects at the same time.

    The photos of Comet Pan-STARRS - which made its closest pass by Earth today (March 5) - and Comet Lemmon were taken by veteran space photographers in Chile and Australia in late February. At the time, both comets were visible from the Southern Hemisphere, though Comet Pan-STARRS is set to become visible from the Northern Hemisphere later this week.

    One of the double-comet photos was taken by Yuri Beletsky, a Magellan Instrument Support Scientist at Las Campanas Observatory located in the Atacama Desert of Chile. Beletsky is an accomplished space photographer and used a Canon 5D Mark II camera with an exposure time of about 30 seconds on Feb. 28 to capture the rare sight of the two comets together.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 7 มีนาคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...