ถึงเวลาหรือยังที่จะพยากรณ์ด้วยตนเอง

ในห้อง 'ดูดวง และ ทำนายฝัน' ตั้งกระทู้โดย แสนสวาท, 7 ตุลาคม 2011.

  1. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    catt21hello8hello8hello8
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 พฤศจิกายน 2012
  2. แสนสวาท

    แสนสวาท ชมรมสุวรรณภูมิธรรม

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2007
    โพสต์:
    2,399
    ค่าพลัง:
    +2,488
    หลักสูตรระยะสั้นที่รอคอย
    สำหรับท่านที่ต้องการเรียนวิชชาสุวรรณโคมคำ
    และกสิณกรรมฐาน หลักสูตรสั้น
    คลิกที่ลายเซ็นต์ค่ะ

    จุติ ปฏิสนธิ กุศล อกุศล คืออะไร เกิดมาจากที่ไหน
    สิเนรุ หลักธรรมประจำตน
    แก้กรรมที่เคยทำ ต้องแก้ไขอย่างไร
    กรรมฐาน ของท่านคืออะไร
    ชื่อ ฉายา เหมาะไหม
     
  3. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    ผ่านไปครั้งที่หนึ่งสำหรับคอร์ดระยะสั้น 4 วัน 4 เสาร์
     
  4. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    เรียนฟรี!โหราศาสตร์แนวพุทธพยากรณ์ตามกฎแห่งกรรม
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มกราคม 2013
  5. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มกราคม 2013
  6. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    PHP:
    แผนที่ชมรมศิษย์สุวรรณโคมคำ
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มกราคม 2013
  7. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    วิชาที่ว่าด้วยเรื่องของธาตุ ที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต
     
  8. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    หลักธรรมประจำบุคคลแต่ละจริต

    ปัญญาจริต

    ท่านให้บำเพ็ญเกี่ยวกับ อนุตตริยะ ๖

    ทัสสนานุตตริยะ การเห็นอันยอดเยี่ยม คือการเห็นพระพุทธเจ้าและลูกศิษย์ของพระองค์ มีภิกษุ เป็นต้น
    ๒. สวนานุตตริยะ การฟังอันยอดเยี่ยม คือการฟังธรรมของพระพุทธเจ้าและลูกศิษย์ของพระพุทธเจ้า มีพระภิกษุ เป็นต้น
    ๓. ลาภานุตตริต การได้อันยอดเยี่ยม คือการมีความเลื่อมใส และศรัทธาในพระพุทธเจ้าและลูกศิษย์ของพระพุทธองค์ มีพระภิกษุ เป็นต้น
    ๔. สิกขานุตตริยะ การศึกษาอันยอดเยี่ยม คือการฝึกฝนพัฒนาให้มีศีล สมาธิและปัญญายิ่งๆขึ้นไป (อธิศีล อธิจิต อธิปัญญา )
    ๕. ปาริจริยานุตตริยะ การบำเรออันยอดเยี่ยม คือการบำรุงรับใช้พระพุทธเจ้าและลูกศิษย์ของพระองค์ มีภิกษุเป็นต้น
    ๖. อนุสสตานุตตริยะ การระลึกอันยอดเยี่ยม ได้แก่ การระลึกถึงพระุทธเจ้าและลูกศิษย์ของพระองค์ มีภิกษุเป็นต้น



    จริต ๖ เพื่อฝึกกรรมฐานที่เหมาะสม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มกราคม 2013
  9. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    มายาจริต

    ท่านให้บำเพ็ญเกี่ยวกับ จรณะ๑๕
    จรณะ คือ ข็อปฎิบัติที่ทำให้ถึงความพ้นทุกข์ (นิพาน) แบ่งเป็น ๓ หมวด มี ๑๕ ประการ ดังนี้

    หมวดที่ ๑ สีลสัมปทา ๑ และอปัณณกปฎิปทา ๓
    ๑. สีลสัมปทา มีระเบียบวินัย
    ๒. อินทรียสังวร ระวังไม่ให้สิ่งอกุศลที่ผ่านเข้ามาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ครอบงำจิตใจ
    ๓. โภชเน มัตตัญญุตา รู้จักรับประทานอาหารแต่พอดี
    ๔. ชาคริยานุโยค ขยันหมั่นเพียร ตื่นตัวอยู่เสมอ มีความพร้อมตลอดเวลา

    หมวดที่ ๒ สัทธรรม ๗

    ๕. ศรัทธา มีความเชื่อมั่น
    ๖. หิริ มีความละอายต่อการทำความชั่ว
    ๗. โอตตัปปะ มีความเกรงกลัวต่อบาป เพราะรู้ผลแห่งบาป
    ๘. พาหุสัจจะ มีความเป็นผู้ใฝ่ศึกษาและรู้มากศึกษา
    ๙. วิริยะ มีความเพียรพยายาม
    ๑๐. สติ มีสติระลึกได้
    ๑๑. ปัญญา มีความรอบรู้ รู้จักวินิจฉัยถูก ผิด ชั่ว ดี

    หมวดที่ ๓ รูปฌาน ๔

    ๑๒. ปฐมฌาน มีสมาธิแน่วแน่ระดับแรก ฌานที่ ๑
    ๑๓. ทุติยฌาน มีสมาธิแน่วแน่ระดับที่สอง ฌานที่ ๒
    ๑๔. ตติยฌาน มีสมาธิแน่วแน่ระดับที่สาม ฌานที่ ๓
    ๑๕. จตุตถฌาน มีสมาธิแน่วแน่ระดับที่สี่ ฌานที่ ๔



    จริต ๖ เพื่อฝึกกรรมฐานให้เหมาะสม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 มกราคม 2013
  10. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    ต่อไป.......
     
  11. แสนสวาท

    แสนสวาท ชมรมสุวรรณภูมิธรรม

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2007
    โพสต์:
    2,399
    ค่าพลัง:
    +2,488
    ช่วยประชาสัมพันธ์ให้ด้วยค่ะ​
    ชื่อของเวปไซด์ เปลี่ยนเป็น หน้าหลัก


    แสนสวาท​
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  12. apple_lin

    apple_lin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    584
    ค่าพลัง:
    +704
  13. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    [​IMG]รายละเอียดเพิ่มเติม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • image.jpg
      image.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.1 KB
      เปิดดู:
      89
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 มกราคม 2013
  14. แสนสวาท

    แสนสวาท ชมรมสุวรรณภูมิธรรม

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 เมษายน 2007
    โพสต์:
    2,399
    ค่าพลัง:
    +2,488
    น่าสนใจก็ไปสมัครเรียนได้นะคะ
    ไหว้ครู วันพฤหัสที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ และ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
    เวลา ๑๗.๓๐น.ค่ะ เตรียมสำเนาบัตรและรูปถ่าย ๑ นิ้วไป ๒ รูป

    ลงทะเบียนเรียนได้ที่นี่
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 มกราคม 2013
  15. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    โทสะจริต

    ท่านให้บำเพ็ญเกี่ยวกับ มรรคมีองค์ ๘

    มรรคมีองค์ ๘ คือ หนทางพ้นทุกข์ ,วิธีดับทุกข์ แนวทางสำหรับปฎิบัติเพื่อดับความทุกข์ ประกอบด้วย
    ๑.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือรู้บาปบุญคุณโทษ,รู้ทุกข์ เหตุความดับ และวิธีการดับทุกข์
    ๒.สัมมาสังกัปปะ คิดชอบ คือคิดออกจากกาม คิดไม่การไม่พยาบาท คิดในการไม่เบียดเบียน
    ๓.สัมมาวาจา พูดจาชอบ คือเว้นจากการพูดเท็จ การพูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และพูดเพ้อเจอไร้สาระ
    ๔.สัมมากัมมันตะ ทำงานชอบ คือไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม
    ๕.สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ คือเว้นจากการเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด
    ๖.สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือหมั่นระวังหรือหมั่นปิดกั้นไม่ให้บาปอกุศลเกิด หมั่นกำจัดหรือหมั่นละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว หมั่นเพียรทำกุศลธรรม ความดี
    ๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ คือมีสติรู้กายในกาย (กายานุปัสสนา)มีสติรู้ความรู้สึกในความรู้สึก (เวทนานุปัสสนา)และมีสติรู้จิตในจิต (จิตตานุปัสสนา) มีสติรู้ธรรมในธรรม (ธัมมานุปัสสนา)
    ๘.สัมมาสมาธิ มีจิตตั้งมั่นชอบ (สมาธิชอบ) คือ เจริญฌานทั้ง ๔ อันเป็นสมาธิที่แน่วแน่ ๔ ระดับ
     
  16. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    ศรัทธาจริต

    ท่านให้บำเพ็ญเกี่ยวกับ อินทรีย์๕ , พละ ๕ ,โพชฌงค์ ๗

    อินทรีย์ ๕ คือธรรมที่เป็นใหญ่ในการทำหน้าที่เฉพาะแต่ละแห่งหรือธรรมที่เป็นเจ้าการในการขจัดอกุศลธรรม (ธรรมฝ่ายชั่ว) ที่ตรงกันข้ามกับตน เช่น วิริยะ (ความเพียร) ขจัดความเกียจคร้าน เป็นต้น
    ๑.ศรัทธา ความเชื่อ
    ๒.วิริยะ ความเพียร
    ๓.สติ ความระลึกได้
    ๔.สมาธิ ความตั้งมั่น
    ๕.ปัญญา ความรอบรู้

    พละ คือ ศรัทธา วิิริยะ สติ สมาธิ และปัญญานั้นแล แต่เป็นธรรมที่มีกำลังในการต่อต้่านไม่ให้อกุศลธรรม (ธรรมฝ่ายชั่ว)เข้ามาครอบงำ หมายถึงจะต้องมีกำลังทั้ง ๕ ประการ โดยสร้างความเชื่อให้มีก่อน แล้วจึงใช้ความเพียรตามมา มีสติที่ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดสมาธิแน่วแน่จนให้เกิดปัญญา เป็นความรู้ในธรรมทั้งหลาย

    โพชฌงค์ ๗ หมาถึง คุณธรรมสำหรับเป็นเครื่องตรัสรู้ แบ่งออกเป็น ๗ ประการ ดังนี้
    .สติ ความระลึกได้ เป็นเครื่องรักษาตนให้พ้นภัย
    ๒.ธัมมวิจยะ ความสอดส่องธรรม ได้แก่การเลือกเฟ้นธรรม เพื่อให้เหมาะกับภูมิ ฐานะ กาลเทศะ เหมือนหมอเจียดยาให้ถูกกับโรคผู้ป่วย
    ๓.วิริยะ ความเพียร ได้แก่ ความเพียรอันกล้าหาญ ไม่ท้อแท้ทั้งทางกายและจิตใจ
    ๔.ปีติ ความอิ่มใจ หมายถึง ความอิ่ม สดชื่น รื่นรมย์อยู่เสมอ
    ๕.ปัสสัทธิ ความสงบกายใจ ไม่ฟุ้งซ่าน เร่าร้อน พร้อมที่จะก้าวต่อไป
    ๖.สมาธิ ความตั้งใจมั่น ได้แก่ความประคองกายและใจให้สงบสม่ำเสมอแน่วแน่เป็นหนึ่งเดียว
    ๗.อุเบกขา ความวางเฉย (ปัญญา)ได้แก่ รู้เท่าทันตามความเป็นจริง จึงวางใจเฉยได้อย่างผู้รู้



    จริต ๖ เพื่อฝึกกรรมฐานให้เหมาะสม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 มกราคม 2013
  17. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    ปัญญาจริต

    ท่านให้บำเพ็ญเกี่ยวกับ สติปัฏฐาน๔ , ปธาน๔ ,อิทธิบาท๔ ,วิสุทธิ๗

    สติปัฏฐาน คือที่ตั้งของสติ เป็นแนวทางการปฎิบัติเพื่อเจริญสติอันนำไปสู่ความพ้นทุกข์ (นิพพาน) ดังนี้
    ๑.กายานุปัสสนา คือมีสติระลึกรู้ถึงอาการทางกาย มีการเคลื่อนไหว เป็นต้น
    ๒.เวทนานุปัสสนา คือระลึกรู้ถึงความรู้สึกที่เป็นสุข ทุกข์และเฉยๆที่เกิดขึ้นกับจิตใจ
    ๓.จิตตานุปัสสนา คือระลึกรู้ถึงจิตว่ามีความเศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว
    ๔.ธัมมานุปัสสนา คือระลึกเห็นธรรมชาติหรือสภาวธรรมที่ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปว่าเป็นของธรรมดา

    ปธาน คือความเพียร ข้อปฎิบัติเพื่อการละชั่วและสร้างความดีให้มั่นคงและให้เจริญงอกงามขึ้นตามลำดับ ประกอบด้วย
    ๑.สังวรปธาน หมั่นเพียรระวังหรือหมั่นปิดกั้นบาปอกุศล(ความชั่ว)ที่ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น
    ๒.ปหานปธาน หมั่นเพียรกำจัดหรือหมั่นละบาป อกุศล(ความชั่ว)ที่เกิดขึ้นแล้ว
    ๓.ภาวาปธาน หมั่นทำกุศล (ความดี) ที่ยังไม่เกิดให้เกิดมีขึ้น
    ๔.อนุรักขนาปธาน หมั่นรักษากุศลธรรม (ความดี) ที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งมั่นและเจริญยิ่งขึ้นไปจนถึงความไพบูลย์

    อิทธิบาท๔ คือข้อปฏิบัติที่นำไปสู้ความสำเร็จ หรือผลที่ต้องการ ดังนี้

    ๑.ฉันทะ มีความพอใจในสิ่งนั้น ความต้องการทำในสิ่งนั้น
    ๒.วิริยะ เพียรพยายาม ขวนขวายทำในสิ่งนั้น มุ่งมั่นทำอย่างต่อเนื่อง
    ๓.จิตตะ เอาใจใส่ ติมตาม ปักใจ ไม่ทอดธุระในสิ่งนั้น
    ๔.วิมังสา รู้จักใคร่ครวญ และพิจารณา

    วิสุทธิ๗ หมายถึง ความบริสุทธิ์หมดจดที่สูงขึ้นไปตามลำดับมี ๗ ประการคือ

    ๑.ศีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล (รักษาศีลให้บริสุทธิ์)
    ๒.จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต (ฝึกอบรมจิตจนมีสมาธิ)
    ๓.ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฐิ (มองเห็นสภาวะตรงตามความเป็นจริง)
    ๔.กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณ (ปัญญา)ที่ขจัดความสงสัยลงได้
    ๕.มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณที่ทำให้รู้ว่านั่นคือทางหรือมิใช่ทางที่นำไปสู่การดับทุกข์
    ๖.ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณที่ทำให้เห็นทางดำเนินไปสู่ความพ้นทุกข์
    ๗.ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ(การเห็นด้วยปัญญาขั้นสูงจนกลายเป็นอริยบุคคล)
     
  18. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    สำหรับท่านใดที่สนใจสมัครเรียนโหราศาตร์คำภีร์สุวรรณโคมคำ
    ไหว้ครู วันพฤหัสที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ และ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๖
    เวลา ๑๗.๓๐น. เตรียมสำเนาบัตรและรูปถ่าย ๑ นิ้วไป ๒ รูป

    ณ. ชมรมศิษย์สุวรรณโคมคำ สาธุประดิษฐ์ 33 หลังตลาดยิ่งเจริญ ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กุมภาพันธ์ 2013
  19. Lue_b18

    Lue_b18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    332
    ค่าพลัง:
    +1,080
    ราคะจริต

    ท่านให้บำเพ็ญเกี่ยวกับ สัปปุริสธรรม๗ ,อริยทรัพย์๖ ,มรรคมีองค์๘

    อริยทรัพย์ คือคุณความดีประจำตน เป็นทรัพย์อันประเสริฐภายในตน มี ๗ ประการดังนี้

    ๑.ศรัทธา มีความเชื่อมั่น คือมั่นใจในสิ่งที่ถือปฎิบัติ
    ๒.ศีล มีระเบียบวินัยในการแสดงออกทางกายและการพูดจา
    ๓.หิริ มีความละอายต่อการกระทำความชั่ว
    ๔.โอตตัปปะ มีความกลัวต่อผลของความชั่ว (เพราะได้รู้ถึงผลของความชั่วนั้น)
    ๕.พาหุสัจจะ ความเป็นคนมีภูมิรู้ เพราะการศึกษามาก เรียนรู้มาก เป็นผู้คงแก่เรียน
    ๖.จาคะ ความเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สามารถสละสิ่งทีี่ตนหวงแหนได้
    ๗.ปัญญา รู้สิ่ิงที่เป็นประโยชน์และสิ่งที่เป็นโทษ รู้จักแยกแยะถูก ผิด ดี ชั่ว

    ในข้อที่ ๓ และ ๔ นับรวมเข้าด้วยกัน คือ หิริโอตตัปปะ

    สัปปุริสธรรม คือ ธรรมของสุภาพชน หรือธรรมของคนดี มี ๗ ประการ ดังนี้

    ๑.ธัมมัญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ เช่น รู้ว่าสิ่งนี้เป็นเหตุแห่งสุข หรือเป็นเหตุแห่งทุกข์
    ๒.อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล เช่นรู้ว่าทุกข์หรือสุข เป็นผลที่เกิดจากเหตุอะไร
    ๓.อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน คือรู้ว่าฐานะกำลังความรู้ความสามารถ ความถนัด ของตนนั้นบัดนี้เท่าไรแล้วประพฤติให้เหมาะสมและรู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป
    ๔.มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ คือความพอดีในการกระทำสิ่งนั้นๆหรือกิจนั้นๆ
    ๕.กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาล คือเวลาอันสมควรในการประกอบกิจนั้นๆ เช่นรู้เวลา ตรงต่อเวลา ทันตามเวลา เป็นต้น
    ๖.ปริสัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักชุมชน คือรู้ว่าจะประพฤติแสดงกิริยาหรือพูดอย่างไรในชุมชนนั้น
    ๗.ปุคคลัญญุตา ความรู้จักบุคคล คือรู้ถึงความแตกต่างแห่งบุคคลโดยอัธยาศัย ความสามารถ คุณธรรมเป็นต้น

    มรรคมีองค์ ๘ คือหนทางพ้นทุกข์,วิธีการดับทุกข์,แนวทางสำหรับการปฎิบัติเพื่อดับความทุกข์ ประกอบด้วย

    ๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือรู้บาปบุญคุณโทษ ,รู้ทุกข์ ,เหตุความดับและวิธีการดับทุกข์
    ๒. สัมาสังกัปปะ คิดชอบ คือคิดออกจากกาม คิดในการไม่พยาบาท คิดในการไม่เบียดเบียน
    ๓. สัมมาวาจา พูดจาชอบ คือ เว้นจากการพูดเท็จ การพูดส่อเสียด พูดคำหยาบ และพูดเพ้อเจอไร้สาระ
    ๔. สัมมากัมมันตะ ทำการงานชอบ คือไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม+
    ๕. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ คือเว้นจากการเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด
    ๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือหมั่นระวังหรือหมั่นปิดกั้นไม่ให้บาปอกุศลเกิด หมั่นละบาปอกุศลที่เกิดขึ้นแล้ว หมั่นเพียรทำกุศล(ความดี)ให้เกิดขึ้น
    ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบคือมีสติรู้กายในกาย (กายานุปัสสนา) มีสติรู้ความรู้สึกในความรู้สึก (เวทนานุปัสสนา) และมีสติรู้จิตในจิต (จิตตานุปัสสนา) มีสติรู้ธรรมในธรรม (ธัมมานุปัสสนา)
    ๘. สัมมาสมาธิ มีจิตตั้งมั่นชอบ (สมาธิชอบ) คือ เจริญฌานทั้ง ๔ อันเป็นสมาธิที่แน่วแน่ ๔ ระดับ
     
  20. สีลสิกขา

    สีลสิกขา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    1,271
    ค่าพลัง:
    +7,135
    ยังอยู่อีกหรือคะเนี่ยชมรมนี้ หลังตลาดยิ่งเจริญ นั่นมันดอนเมืองป่ะ ที่พี่น้องธรรมวัฒนะอะไรนั่นน่ะ ที่อยู่ยังบอกผิดแล้วจะสอนถูกไหมเนี่ย ว๊าย ว๊าย
     

แชร์หน้านี้

Loading...