ธรรมะจากข่าว : อุเบกขาหายนะ

ในห้อง 'ข่าวพุทธศาสนา' ตั้งกระทู้โดย no123, 21 มกราคม 2006.

  1. no123

    no123 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    28
    ค่าพลัง:
    +188
    ธรรมะจากข่าว : อุเบกขาหายนะ

    พระพุทธเจ้า ได้เปรียบพระองค์เองกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และพระธรรมคือยาขนานสำคัญ ในการบำบัดโรคภัยไข้เจ็บของมวลมนุษย์
     
  2. mungkorn

    mungkorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +367
    ตีความผิดหรือเปล่าครับท่าน
     
  3. mungkorn

    mungkorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +367
    เกิดมาเพิ่งได้ยินว่าไม่มีอะไรมีโทษเท่าพระพระธรรมเหมือนกัน วันนี้เอง อธิบายให้ชัดเจนหน่อยครับเดี๋ยวจะเป็นแบบปลาทองในพระไตรปิฎก ผมว่าลบกระทู้ออกดีกว่า
     
  4. mungkorn

    mungkorn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มกราคม 2006
    โพสต์:
    45
    ค่าพลัง:
    +367
    หนังสือ “เหตุเกิด พ.ศ. ๑” ที่ท่านเขียนและตีพิมพ์ในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้เป็นหนังสือที่สร้างความเกรียวกราวอย่างมากในประเทศไทย มีสาระในการไขปริศนาการปรินิพพานของพระพุทธเจ้า และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในคณะสงฆ์ในยุคนั้น ซึ่งต่อมากำหนดทิศทางของพระพุทธศาสนามาจนทุกวันนี้ ....
    ผมตามเข้าไปในเวปของท่านพอรู้ว่าท่านเป็นผู้โด่งดังที่เขียนหนังสือที่ที่เกรียวกราว หนาวครับ เทวทัตที่ไม่ไปขุมโลกันต์เพราะได้เอาคางขอขมาพระพุทะเจ้าจึงไปแค่อเวจี ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ไม่เอาแล้วครับ เสี่ยง ผมไปดีกว่า
    แต่ยังไงก็ขอยืนยันครับ พระธรรมมีแต่คุณอนันต์อย่างเดียวครับ ไม่มีโทษมหันต์อย่างที่ท่าน เมตตานันโท กล่าวครับ
     
  5. no123

    no123 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    28
    ค่าพลัง:
    +188
    จงใช้สติพิจารณาไตร่ตรองข้อความ คัดลอกมานะครับที่
    ผมได้อ่านนั้น อุเบกขาหายนะ คือ การวางเฉยไม่ทำอะไรเลยเป็นการวางเฉยเฉยไม่ถูกวิธี แต่ตามหลักธรรมแล้วนั้น อุเบกขา คือความวางเฉย หมายถึงเฉยต่ออารมณ์ที่เป็นทุกข์และเป็นสุข
    อันเป็นวิสัยของโลกีย์ คือ ไม่ยอมยินดียินร้ายต่ออารมณ์ของโลกวิสัย ทำจิตใจให้ว่างต่ออารมณ์ที่เป็นสุข
    และทุกข์อันเป็นโลกีย์วิสัยเสีย

    แต่ทุกวันนี้คนเรามักนำหลักธรรมมาใช้ไม่ถูกวิธี
     

แชร์หน้านี้

Loading...