บทสวดมนต์ มหาเมตตาใหญ่ และอภินิหารในการสวด

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย baiiboom, 2 ตุลาคม 2009.

  1. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385


    <TABLE class=MsoNormalTable cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 0cm; PADDING-LEFT: 0cm; PADDING-BOTTOM: 0cm; PADDING-TOP: 0cm" vAlign=top>บทแผ่เมตตา
    พรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่)


    เอวัมเมสุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ

    ตัตตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโตปัจจัสโสสุงฯ

    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเส วิตายะภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ

    วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะสุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะ?

    (๑) สุขังสุปะติ (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ (๔) มะนุสสานัง ปิโยโหติ

    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ (๖) เทวะตา รักขันติ (๗) นาสสะ อัคคิ วาวิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ

    (๙) มุขะวัณโณวิปปะสีทะติ (๑๐) อะสัมมุฬฬะโห กาลัง กะโรติ (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโตพรหมมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะพะหุลีกะตายะ

    ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏิฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะอิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ

    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    อัตถิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    กะตีหาการเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุติฯ

    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?


    (๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ


    (๑) สัพเพ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตูติ

    อิเมหิ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติฯ

    กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ?


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะอะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗)สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะสัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณาอะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ ปาณาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะอัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขีอัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌาอานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโยอะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อานีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวราอัพยาปัชฌา อานีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตารายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘)สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒)สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะอะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะอะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖)สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะเทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพอุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๔)สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะอะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสาอะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ


    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๓) สัพเพอุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๖) สัพเพปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะวินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

    (๙) สัพเพเหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ

    (๑๑) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌาอะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติฯ


    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ


    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา

    อะปีฬานะยะอุปะฆาตัง วัชเชตวา

    อะนุปิฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา

    อะสันตาเปนะปะริยาทานัง วัชเชตวา

    อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา

    อะวิเหสายะสัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุมา

    ทุกขิตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตตา เมตตายะตีติ เมตตา ตังธัมมัง เจตะยะตีติ

    เจโต สัพพะพะยาปะทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ เมตตา จะเจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    เมตตา พรหมมะวิหาระภาวะนานิฏฐิตา.

    <O:p</O:p


    </TD></TR><U6:p</U6:p</TBODY></TABLE><U6:p<O:p</O:p</U6:p
    [FONT=&quot]<O:p</O:p[/FONT]
    [FONT=&quot]ความฝันควบคู่นิมิต [/FONT]
    <O:p</O:p
    [FONT=&quot]ตามที่ผูเขียนอธิบายบอกกล่าวให้ได้รับรู้ว่า ความฝัน กับนิมิตนั้นแยกกันแทบไม่ออก ถ้าผู้ที่[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ฝันหรือนิมิตนั้น มิใช้ผู้ที่ปฏิบัติสวดมนต์ ภาวนา และแยกแยะออกว่าสิ่งใดคือ ความฝัน สิ่ง[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ใดคือ นิมิต เรื่องที่ได้เกริ่นไว้ข้างต้นว่าจะเล่านั้น เป็นเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นในคืนที่เขียนบั้น[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ทึกเรื่อง ฝึกจิตแก้กรรมโดยโทรจิต กำลังจะเข้าเนื้อเรื่อง[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ก็ต้องพักการเขียนดังกล่าว เพื่อที่จะเขียนบันทึกนี้ [/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]เรื่องเล่า สวดมนต์ ปลดปล่อยวิญญาณ[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]เข้าพรรษา ปี [/FONT]2552 [FONT=&quot]ผู้เขียน ต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล เนื่องจากติดเชื้อไข้หวัด [/FONT]
    <O></O>2009 [FONT=&quot]การรักษาตัว เป็นไปด้วยดี นอนรักษาจนล่วงเลยมาถึง วันพุธที่ [/FONT]4 [FONT=&quot]เดือนสิงหาคม ครบ [/FONT]
    <O></O>7[FONT=&quot]วันอาการที่เจ็บป่วยต่างๆเริ่มดีขึ้น แทบจะกล่าวได้ว่า ร่างกายเป็นปกติ พร้อมจะกลับบ้าน[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]แล้ว หมอจึงให้ย้ายจากผู้ป่วยเฝ้าระวัง มาพักฟื้นที่ห้องสามัญ ซึ่งห้องสามันดังกล่าวเพิ่ง[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]เปิดรับคนไข้ รักษาเป็นเวลาได้ไม่นาน ผูเขียนได้มาพักฟื้นในห้องดังกล่าว [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]คืนแรกกว่าจะหลับได้ก็ประมาณเกือบจะเข้าเช้าวันใหม่ ก่อนนอนด้วยความที่ไม่ได้สวด[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]มนต์มาหลายวัน จากการไม่สบาย วันนั้นจึงสวดโดยใช้ บทสวด เมตตาพรหมวิหารภาวนา [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]หรือเมตตาใหญ่และชินบัญชร ซึ่งท่านที่เคยสวดบทสวดมนต์ เมตตาใหญ่ฯ จะทราบกันดีว่า[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]เป็นบทที่ค่อนข้างยาว ผู้เขียนสวดพอได้ ใช้เวลาในการสวด[/FONT] 1 [FONT=&quot]จบ เกือบครึ่งชั่วโมงจึงไม่ค่อย[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]ใช้บทสวดนี้มาสวดนัก วันนั้นนึกอยากสวด เพราะเป็นการนอนคืนแรกในห้องสามัญ[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ดังกล่าว จึงอันเชิญสวด[/FONT] 1 [FONT=&quot]จบ พร้อมบทสวดชินบัญชรที่ผู้เขียนใช้สวดบ่อยและท่องจำได้[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]โดยไม่ต้องเปิดหนังสืออ่านตาม พร้อมแผ่เมตตาอย่างที่เคยกระทำในทุกๆครั้ง สวดจนครบ[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ดังที่กล่าว ได้นั่งสมาธิประมาณครึ่งชั่วโมง และเข้านอนๆหลับ จิตนิ่งได้นิมิตกึ่งฝันว่า ขึ้น[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ไปอยู่ในตึกที่สูง ซึ่งคล้ายกับห้องสามัญที่เรานอนพักฟื้น แต่แตกต่างกันพอประมาณ ได้เห็น [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ศพคนตาย นอนสุมกันเป็นกอง มีทั้งหญิงและชายประมา [/FONT]20 [FONT=&quot]ถึง [/FONT]30 [FONT=&quot]ศพ เห็นจะได้ ผู้เขียนยืน[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]มองปลงในร่างกายมนุษย์ และกล่าวในจิตกับสิ่งที่เห็น[/FONT] "[FONT=&quot] เกิดแก่เจ็บตายเป็นสิ่งที่จะต้องเจอ[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]กันทุกท่านขณะนี้เป็นเวลาท่าน ต่อไปก็ถึงคราวเราต้องเป็นไปทุกคน [/FONT]"[FONT=&quot] ใจหนึ่งก็ปลง ใจหนึ่ง[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ก็นึกกลัว กล่าวในจิตกับศพเหล่านั้น พร้องกับอากับกิริยาความกลัวปะปนควบคู่ อยู่ในภวังค์[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ได้สักระยะ สิ่งที่เห็น ได้เปลี่ยนสภาพเป็นดวงวิญญาณและกำลังจะร้องบอกอะไรบางอย่าง [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]กับผู้เขียน ด้วยความที่ผู้เขียนกลัว ยังไม่ทันได้โต้ตอบและรับฟังสิ่งที่วิญญาณเหล่านั้นจะ[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]เจรจา ผู้เขียนกลับวิ่งหนี ดวงวิญญาณที่กล่าว กลับวิ่งตาม จนตามผู้เขียนทัน และได้ขอให้[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ช่วยปลดปล่อยพวกเขาที ผู้เขียนถามกลับแล้วจะให้ทำอย่างไรตัวผู้เขียนไม่มีความสามารถที่[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]จะทำตามที่ขอให้หรอก ผู้เขียงโต้ตอบกับวิญญาณเสร็จ ก็เดินกึ่งวิ่ง จะหนี ก้าวเดินยังไม่ถึง[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]สามก้าว ก็ได้มีดวงวิญญาณดวงหนึ่งเป็นเสียงผู้ชาย กล่าวว่า [/FONT]" [FONT=&quot]ท่านทำได้โปรดช่วยเหลือเรา[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]เถิด [/FONT]" [FONT=&quot]ผู้เขียนกล่าวตอบ[/FONT]"[FONT=&quot] ไม่[/FONT]! [FONT=&quot]เราไม่มีบารมีที่จะสามารถปลดปล่อยพวกท่านได้หลอก[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ให้ ไปขอท่านอื่นที่เขาสามารถทำตามที่ท่านร้องขอได้เถิด [/FONT]" [FONT=&quot]ท่านทำได้ ท่านทำได้ ช่วยเรา[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ด้วยเถิดขอเพียงท่านรับปากว่าจะช่วย [/FONT]" [FONT=&quot]ผู้เขียนไม่ทราบว่าจะทำอย่าไร ใจก็อยากจะไปให้[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]พ้นจากวิญญาณเหล่านั้น จึงรับปากช่วย แบบขอไปที [/FONT]"[FONT=&quot]เรารับที่ช่วยแล้ว[/FONT]! [FONT=&quot]เราไปนะ ตัว[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ผู้เขียนเดินจากมา ดวงจิตดวงเดิมได้กล่าวขึ้นอีกว่า [/FONT]"[FONT=&quot]เดี๋ยว ท่านบอกจะช่วยให้เราหลุดพ้น [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ท่านต้องส่งกุศลให้เราก่อน[/FONT]" [FONT=&quot]ผู้เขียนกำหนดแผ่ส่วนบุญให้กับดวงวิญญาณเหล่านั้น ดวง[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]วิญญาณเล่านั้นได้รับบุญกุศลที่ผู้เขียนแผ่ให้ ร้องดีใจกันเสียงดังขรม พร้อมกลับกลายเป็น[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ดวงจิตเล็กๆมากมากมองเห็นได้รอบๆตัวผู้เขียน ดวงจิตเหล่านั้นมีแสงระยิบระยับเป็นดวง[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]เล็กๆคล้ายหิงห้อย ล่องลอยขึ้นสู่บนฟ้า ผู้เขียนขึ้นตามไปส่ง ไปได้ประมาณครึ่งทางก็ตกใจ[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ตื่น เหตุการณ์หมดที่เกิดขึ้นนั้นผุ้เขียนตื่นขึ้นยังจำได้ทุกเหตุการณ์ที่นิมิตฝัน และได้ถ่ายทอด[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]เป็นเรื่องเล่าให้คุณผู้อ่านได้อ่าน พร้อมสรุปในเรื่องราวของการนิมิตปนฝันนี้ว่า น่าจะเป็น[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]จากบทสวดมนต์เมตตาใหญ่ฯ และชินบัญชร ที่ผู้เขียนได้สวดและแผ่ส่วนบุญส่วนกุศล[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]ให้กับวิญญาณเหล่านั้น ท่านผู้อ่านๆเรื่องเล่านี้แล้ว ผู้เขียนหวังว่า เรื่องเล่าเรืองนี้จะทำให้[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ท่านทราบว่า สิ่งที่มองไม่เห็นรับรู้ได้ ทางฝันและนิมิตอีกทางหนึ่ง และพุทธทานุภาพของ[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot] บทสวดมนต์ ต่างๆที่พระพุทธเจ้าได้เผยแพร่ให้เราชาวพุทธได้ปฏิบัติ เปี่ยมด้วยพุทธทา[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]นุภาพบารมี ถึงพระองค์ท่านจะ ปรินิพานหมดภพชาติความเป็นมนุษย์[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot](ตรัสรู้ไปนานแล้ว) พุทธทานุภาพ บารมีของท่านมิมีเสื่อมถอยไปตามกาลเวลา แม้ บทสวด [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]แม่ตาใหญ่ฯ ผู้เขียนนั้น พึ่งจะนำมาปฏิบัติสวดไม่ถึงสิบครั้ง บารมียังเกิด มีดวงวิญญาณมา[/FONT]
    <O>
    <O></O></O>[FONT=&quot]ขอบารมีให้ช่วยปลดปล่อยเขาให้ไปจุติเกิด ณ[/FONT].[FONT=&quot]ภพภูมิใหม่ [/FONT]" [FONT=&quot]สาธุ ขอให้ดวงวิญญาณเหล่านั้น[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]สู่สุคติ หมดภพภูมิ ที่จะต้องใช้กรรมทุกข์ทรมาน ไม่ ว่าท่าน ตอนมีชีวิต ท่านจะเป็นสาวก[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ของพระผู้เป็นเจ้าพระองค์ใด ปัดนี้ พุทธทานุภาพ ของสมเด็จพระพุทธเจ้า พระพุทธโคดม [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ได้ปลดปล่อยท่านให้หลุดพ้น ขอให้ท่านมีภพภูมิที่สูงส่ง จุติเป็นมนุษย์ ได้มาอยู่ในร่มโพธิ์[/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]บารมี ของพระพุทธเจ้าณ[/FONT].[FONT=&quot]ประเทศไทย สยามประเทศ เถิด [/FONT]"[FONT=&quot] จบเรื่องเล่า สวดมนต์ [/FONT]
    <O></O>[FONT=&quot]ปลดปล่อยวิญญาณ[/FONT]

    อนุโมนา เรืองตะวัน<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มกราคม 2010
  2. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385
    มหาเมตตาใหญ่ บทแปล

    บทแผ่เมตตา<O:p</O:p
    พรหมวิหาระภาวนา <O:p</O:p
    (มหาเมตตาใหญ่แปล)<O:p</O:p
    <O:p</O:p
    <O:p</O:p

    ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นและรพผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทาน

    พระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะรับ) อานิสงส์ ๑๑ ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนต้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี ๕ ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ ๑๑ ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง?

    (อานิสงส์ ๑๑ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ)<O:p</O:p

    (๑) นอนหลับเป็นสุข<O:p</O:p

    (๒) ตื่นเป็นสุข
    <O:p</O:p
    (๓) ไม่ฝันร้าย

    <O:p</O:p(๔) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
    <O:p</O:p
    (๕) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
    <O:p</O:p
    (๖) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
    <O:p</O:p
    (๗) ไฟ ยาพิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
    <O:p</O:p
    (๘) จิตเป็นสมาธิเร็ว
    <O:p</O:p
    (๙) ผิวหน้าผ่องใส
    <O:p</O:p
    (๑๐) ไม่หลงตาย
    <O:p</O:p
    (๑๑) ยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ ๑๑ ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม ด้วยวสี ๕ ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศที่มีอยู่ฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี ๕ อย่าง<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) มี ๗ อย่าง<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี ๑๐ อย่างฯ<O:p</O:p

    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่างมีอะไรบ้าง?
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) ๕ อย่าง คือ

    <O:p</O:p(๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ

    <O:p</O:p(๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปโดยเจาะจง (บุคคล) ๗ อย่าง คือ)
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ ๑๐ อย่าง คือ)
    <O:p</O:p
    (๑) ประเภทที่ ๑
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ประเภทที่ ๒
    <O:p</O:p
    (๑) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ประเภทที่ ๓
    <O:p</O:p
    (๑) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ประเภทที่ ๔
    <O:p</O:p
    (๑) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ประเภทที่ ๕
    <O:p</O:p
    (๑) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ประเภทที่ ๖
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ประเภทที่ ๗
    <O:p</O:p
    (๑) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ประเภทที่ ๘
    <O:p</O:p
    (๑) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ประเภทที่ ๙
    <O:p</O:p
    (๑) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    <O:p</O:p(๑๐) ประเภทที่ ๑๐
    <O:p</O:p
    (๑) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๑) ประเภทที่ ๑๑
    <O:p</O:p
    (๑) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    <O:p</O:p(๙) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๒) ประเภทที่ ๑๒
    <O:p</O:p
    (๑) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๒) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๓) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๔) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๕) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๖) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๗) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๘) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๙) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    (๑๐) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
    <O:p</O:p
    เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ ๘ นี้ คือ
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๑
    <O:p</O:p
    ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร ๑
    <O:p</O:p
    จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ ๑
    <O:p</O:p
    จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ ๑
    <O:p</O:p
    จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯ<O:p</O:p
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มกราคม 2010
  3. Jeerachai_BK

    Jeerachai_BK เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    318
    ค่าพลัง:
    +821
    ฝากไฟล์เสียงสวดบทนี้สำหรับผู้ที่สนใจนะครับ

    ขอบคุณครับสำหรับบทสวดมหาเมตตาใหญ่

    สาูธุ

    ปล. เสียงสวดบทมหาเมตตาใหญ่ เริ่มที่ 1:22 นาที นะครับ ตอนต้นเป็นการสวดเพื่อบูชาพระ และตอนท้ายเป็นการอุทิศส่วนกุศลครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,306
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,002
    อนุโมทนาครับ การสวดมนต์เเผ่เมตตานั้นอุทิศถึงกันได้จริงครับ ผมก็มีประสบการณ์นี้ครับ ตอนนี้ผมสวดทุกวันมาหลายปีแล้ว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กันยายน 2020
  5. jarung18

    jarung18 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 เมษายน 2008
    โพสต์:
    207
    ค่าพลัง:
    +655
    หัดมาได้ประมาณหนึ่งอาทิตย์แล้วครับ

    ขอบคุณมาก สวดแล้วสบายใจดี
     
  6. chantasakuldecha

    chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    ไม่ทราบว่ามีบทสวดแบบย่อไหมครับ
     
  7. kungfuloma

    kungfuloma เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2009
    โพสต์:
    234
    ค่าพลัง:
    +1,011
    เมตตาพรัหมะวิหาระภาวนา พิสดาร (แบบย่อเล็ก)

    เอวัมเม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ
    เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู
    อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง
    ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา
    อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ
    อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา
    ปาฏิกังขาฯ กะตะเม เอกาทะสะฯ

    (๑) สุขัง สุปะติ
    (๒) สุขัง ปะฏิพุชฌะติ
    (๓) นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ
    (๔) มะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๕) อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ
    (๖) เทวะตา รักขันติ
    (๗) นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ
    (๘) ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ
    (๙) มุขะวัณโณ วิปะสี ทะติ
    (๑๐) อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ
    (๑๑) อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติฯ

    เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ
    พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ
    ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาฯ

    อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตีหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ
    กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ

    สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา สัพเพ ปุคคะลา
    สัพเพ อัตตะภาวะปริยาปันนา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    สัพพา อิตถิโย สัพเพ ปุริสา สัพเพ อะริยา สัพเพ อะนะริยา
    สัพเพ จาตุมมหาราชิกาเทวา สัพเพ ตาวะติงสาเทวา
    สัพเพ ยามาเทวา สัพเพ ตุสิตาเทวา สัพเพ นิมมานะระตีเทวา
    สัพเพ ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีเทวา สัพเพ อินทา สัพเพ พรหมา
    สัพเพ จตุโลกะปาลา สัพเพ ยมมะราชา สัพเพ ยะมะปาลา
    สัพเพ สิริคุตตะระอมัจจา สาสะนัง อนุรักขันตุ
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    สัพเพ ยักขา สัพเพ กุมภัณฑา สัพเพ ครุทธา
    สัพเพ กินนรา สัพพา กินนะรี สัพเพ นาคา สัพเพ มะนุสสา
    สัพเพ อะมะนุสสา สัพเพ วิริยะปะติกา สัพเพ มิตตา
    สัพเพ อมิตตา สัพเพ มัชฌะตา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    สัพเพ ติรัฉฉา สัพเพ เปติกา สัพเพ เปตา
    สัพเพ อะสุระกายา สัพเพ เปตาวัตถุโย สัพเพ เปตวิเสยยา
    สัพเพ วินิปาติกา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    อิมัสมิง จะอาราเม สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา
    อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    อิมัสสมิง ชมภูทีเป สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา
    อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    อิมัสสมิง มังคลาจักกะวาเฬ สัพเพ สัตตา
    อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    ทะสาสุทิสาสุรัฐธิตายะ สัพเพ สัตตา อะเวรา
    อัพยาปัชฌา อะนีฆา โหนตุ สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

    อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ
    สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา อะปีฬะนายะ อุปะฆาตัง
    วัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ สันตาปัง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ
    ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชตวา
    อะวิเหสายะ สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน สุขิโน
    โหนตุมา ทุกขิโน สุขิตัตตา โหนตุ มา ทุกขิตัตตาติ อิเมหิ
    อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตตายะตีติ เมตตาตัง ธัมมัง
    เจตะยะตีติ เจโต สัพพะพยาปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ
    วิมุตติ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
    เมตตาพรัหมะวิหาระภาวนา นิฏฐิตาฯ
    __________________
    <!-- google_ad_section_end --> <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->http://www.mettajetovimuti.org

    ไปกระทู้นี้เพื่อ ดาวน์โหลดไฟล์ pdf และไฟล์เสียงสวดไ้ด้ครับ ด้านล่างคุณ analyser ได้จัดไว้ให้แล้ว

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CENJOY%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:pMingLiU; panose-1:2 2 3 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-alt:新細明體; mso-font-charset:136; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 137232384 22 0 1048577 0;} @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} @font-face {font-family:"@PMingLiU"; panose-1:2 2 3 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-charset:136; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:3 137232384 22 0 1048577 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:pMingLiU; mso-bidi-font-family:"Angsana New"; mso-fareast-language:ZH-TW;} a:link, span.MsoHyperlink {color:blue; text-decoration:underline; text-underline:single;} a:visited, span.MsoHyperlinkFollowed {color:purple; text-decoration:underline; text-underline:single;} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:"Table Normal"; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> เชื่อหรือไม่-สวดมนต์เพียงไม่กี่นาที-เราบำเพ็ญบารมีครบทั้ง-10-ทัศ

    เชิญร่วมบูรณะหอพระไตรปิฏกอายุกว่า 200 ปี ที่วัดใหม่ทองเสน

    โครงการอุปถัมภ์หนังสือเรียนนักธรรมเพื่อสามเณรในชนบท

    โครงการกฐินแสนกอง-ปี2552-ปีที่-4<o></o>
     
  8. chantasakuldecha

    chantasakuldecha เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 เมษายน 2008
    โพสต์:
    991
    ค่าพลัง:
    +2,331
    อนุโมทนา สาธุ สาธุ
     
  9. Tequila

    Tequila เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    226
    ค่าพลัง:
    +1,733
    "เหฏฐิมายะ" อ่านยังไงคะ
     
  10. Nagaman

    Nagaman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    2,041
    ค่าพลัง:
    +6,329
    เหด-ถิ-มา-ยะ ครับ
     
  11. ฑ

    เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2009
    โพสต์:
    119
    ค่าพลัง:
    +257
    อนุโมทนาสาธุ

    ขอขอบคุณคุณบอลและทุกท่านที่แนะนำมหาเมตตาใหญ่ให้ได้สวด
     
  12. กนกพิชญ์

    กนกพิชญ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    60
    ค่าพลัง:
    +163
    อนุโมทนาค่ะ

    ทำไมเวลาสวดบทนี้ทีไรจะชอบฝันเห็นผีประจำเลยค่ะ
     
  13. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385
    HAPPY 2010 ส่งความสุข ๒๕๕๓ ครับ คุณ"ติง" เจริญด้วยพร ทุกๆประการ สุข สม หวัง งทางธรรมและทางโลก

    และขอขอบคุณทุกๆกระทู้ที่ญาติธรรมเข้ามาให้กำลังใจครับ


    อนุโมทนา
     
  14. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385
  15. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,292
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,115
    ก่อนอื่นต้องขออนุโมทนากับ จขกท ครับ ที่นำมาให้เพื่อน ๆ ได้สวดมนต์บทนี้กัน จริง ๆแล้วผมได้ บทสวดนี้มาก็หลายเดือนแล้วครับ สวดบ้างไม่สวดบ้าง พอเมื่อคืนที่ผ่านมานี้
    ผมอยากทราบคำแปลก็เลยนั่งอ่านดู มาสะดุดอยู่ตรง คำบาลีที่แปลว่าทิศต่าง ๆ ครับ

    ผมจะขอรบกวนท่านที่มีความรู้ ด้านบาลี ช่วยตรวจสอบหน่อยครับ ว่า ถูกหรือเปล่าครับ คือคำที่มีความหมาย ถึงทิศต่าง ๆ ทั้งสิบทิศนั้น มันซ้ำกันอยู่น่ะครับ ผมว่าผิดแน่นอนครับ อย่างเช่น ทิศตะวันออก เท่าที่เคยอ่านมานั้น จะใช้คำว่า บูรพาครับ แต่ผมก็ไม่แน่ใจว่า
    จริง ๆ แล้วคำที่ถูกคือ คำไหนครับ ก็อยากจะรบกวนเพื่อนสมาชิกที่มีความรู้เกี่ยวกับบาลีช่วยแก้ไขให้ด้วยครับ จะได้สวดให้ถูกต้องตามความหมาย

    (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๒) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๓) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๔) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๕) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๖) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๗) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๘) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๙) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

    (๑๐)สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
    (๑๐) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
     
  16. poon-pan

    poon-pan เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    2,292
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +7,115

    กำลังหัดลบครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มกราคม 2010
  17. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385
    ขอบคุณทุกๆอนุโมทนาครับ

    มีลิ้งใหม่เป็นเรื่องความคืบหน้าความเจ็บป่วย ตามลิ้งครับ

    httphttp://palungjit.org/threads/ก��...��.223401/<!-- google_ad_section_end -->
     
  18. ☻Mocca☻

    ☻Mocca☻ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มกราคม 2010
    โพสต์:
    21
    ค่าพลัง:
    +23
    ขอร่วมอนุโมทนาด้วยนะคะ บทเมตตาใหญ่นี้ส่วนใหญ่ใช้ในพิธีกรรมสำคัญๆ จึงไม่ค่อยมีผู้รู้จักแพร่หลายนักใช่ไหมคะเคยอ่านพบในหนังสือประมวลมนต์พิธีคะ ^ ^
     
  19. baiiboom

    baiiboom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    276
    ค่าพลัง:
    +2,385
    เจริญในธรรมครับทุกๆกระทู้
     
  20. olly

    olly เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    84
    ค่าพลัง:
    +141
    ตอนนี้ก็สวดมาได้8วันแล้วค่ะ วันแรกที่สวดไม่รุอุปทานหรือป่าว ฝันเห็นว่ามีผีเหมือนคนทุกอย่างแต่ซีดกว่าอายุกลางๆคน เค้าบอกว่าช่วยเค้าหน่อยเค้าอยากไปเกิด แหมไอ้เราก็กลัวเพราะยังงัยก็ขึ้นชื่อว่าผีอ่านะ วิ่งหนีตับแลปวิ่งขึ้นบันไดเค้าวิ่งมาทันจับขาไว้ ไอ้เราก็โวยวายใหญ่ T-T พอสงบสติอารมณ์ได้เลยหยุดโวยวายแล้วฟังเค้าเพราะเค้ามาแบบดี หุหุ (ไม่น่ากลัวเพราะไม่เละ) เค้าก็เล่าสิ่งที่เค้าต้องการไอ้เราก็ไม่รุเรื่องว่าจะช่วยยังงัย แต่กำลังจาพูดกับเค้าก็มีผู้ชายคนนึงมาบอกว่าพ่อเลี้ยงเจ้าไม่ดีหรอ ทำมอยากไปเกิดเป็นกุมารไม่ดีรึงัย คุณผีก็บอกว่าผมอยากเกิดไม่อยากอยู่แล้ว แหะๆเราก็ยืนฟังตาปริบๆ (คุณผียังจับเท้าอยู่) แล้วทีนี้เหมือนคนที่บอกว่าเป็นพ่อจะทำอะไรซักอย่างแล้วคุณผีก็ไปเราก็สะดุ้ง...... ตื่นมายังสั่นอยู่เลยให้หลับต่อก็ไม่ไหวเฮ้อ แต่จนใจที่จะช่วยเน้อถ้าคนเป็นพ่อเค้าม่ปล่อยก็คงช่วยอะไรไม่ได้ โดยส่วนตัวก็เป็นคนที่เลี้ยงกุมารทองแต่เพราะความจำเป็นก็บอกเค้าแต่แรกแล้วว่าให้มาแสวงบุญด้วยกันถึงเวลาปเกิดได้เลยไม่ต้องรอ อ้อ...ลืมบอกอีกแล้ว จะให้เค้ามาสวดมนต์ด้วยเค้าจะได้มีบุญเป็นของตัวเองและได้ไปเกิดเร็วขึ้น
    ..
    ..สรุป เรื่องจริงที่เป็นความฝัน หรือ อุปทานไปเอง
    ..ถ้าช่วยเค้าได้จริงต้องทำยังงัยค่ะ ทุกวันนี้ก็แผ่เมตตาไปให้ค่ะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...