ฝึกสมาธิ กันเพื่ออะไร

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย นักรบธรรม, 16 กันยายน 2015.

  1. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    969
    ค่าพลัง:
    +1,174
    เห็นฝึกกันหลายแนวหลายแบบ เพื่ออะไร
    และแบบใหนดีสุดๆ

    เพื่ออภิญญา หรือ เพื่อ อรหันต์
     
  2. Shinozuke

    Shinozuke Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2015
    โพสต์:
    124
    ค่าพลัง:
    +60
    ฝึกเพื่อให้มีสมาธิคร้าบบบบบ
     
  3. tutong

    tutong เมสัมมุขขา สัพพาหะระติ เตสัมมุขขา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    74
    ค่าพลัง:
    +236
    -เพื่อหลุดพ้นจากวัฏฏะสงสาร (นี้คือเป้าหมายหลักของผู้ปฏิบัติ)
    ส่วนเป้าหมายอื่นเป็นเพียงกระพี้ของพระศาสนา
     
  4. Shinozuke

    Shinozuke Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 กันยายน 2015
    โพสต์:
    124
    ค่าพลัง:
    +60
    ฝึกสมาธิ เพื่อให้มีสมาธิ
    ถ้าไม่มีสมาธิ แล้วจะเอาสมาธิที่ไหนไปเป็นฐานเพื่อการหลุดพ้นล่าววววววววว
     
  5. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    พูดเข้าหลัก "สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ" ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้ว ย่อมรู้ตามความเป็นจริง

    จิตตั้งมั่น = สมาธิ รู้ตามเป็นจริงหรือตามที่มันเป็น = วิปัสสนา

    บ่ง่ว่า สมาธิเป็นบาทฐานของวิปัสสนา (วิปัสสนาส่งต่อวิมุตติ)

    แต่มีเงื่อนไขว่า ในบางรายอาจหลงติดในสมาธิ โดยก้าวไม่ถึงวิปัสสนาญาณก็ได้
     
  6. Workgroup

    Workgroup เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    693
    ค่าพลัง:
    +1,946
    เมื่อมี สมาธิ ย่อม มี สติ เสมอ
     
  7. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494
    ต่ออีกหน่อย เพื่อให้เห็นสมาธิในมุมที่กว้างขึ้น

    * วิสุทธิ.๑/๑๐๕...ในอกุศลจิต เอกัคคตาหรือสมาธิ ก็เกิดได้ ดังที่ อภิ.สํ.๓๔/๒๗๕-๓๓๖/๑๐๑-๑๒๗ แสดงการที่เอกัคคตา สมาธินทรีย์ และมิจฉาสมาธิ ประกอบร่วมอยู่ในจิตที่เป็นอกุศล และอรรถกถาได้ยกตัวอย่าง เช่น คนที่มีจิตแน่วแน่ในขณะเอามีดฟาดฟันลงที่ตัวของสัตว์ ไม่ให้ผิดพลาด ในเวลาตั้งใจลักของเขา และในเวลาประพฤติกาเมสุมิจฉาจาร เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เอกัคคตาในฝ่ายอกุศลนี้ มีกำลังน้อย อ่อนแอ ไม่เข้มแข็งทนทานเหมือนในฝ่ายกุศล เปรียบดังเอาน้ำราดในที่แห้งฝุ่นฟุ้ง ฝุ่นสงบลงชั่วเวลาสั้น ไม่นาน ก็จะแห้ง มีฝุ่นขึ้นตามเดิม...

    * อรรถกถาแสดงไว้อีกแห่งหนึ่งว่า สัมมาสมาธิ ได้แก่ ยาถาวสมาธิ สมาธิที่แท้ หรือสมาธิที่ตรงตามสภาวะ นิยยานิกสมาธิ สมาธิที่นำออกจากวัฏฏะ คือ นำไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์ หรือสู่ความเป็นอิสระ กุศลสมาธิ สมาธิที่เป็นกุศล (เช่น สงฺคณี. อ. ๒๒๔)

    * คำว่า สมาธิ ที่ใช้หมายถึงวิปัสสนาก็มีบ้าง โดยเฉพาะที่ใช้ในสมาธิ ๓ คือ สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ และอัปปนิหิตสมาธิ (ที.ปา.11/228/231...)
     
  8. Piagk3

    Piagk3 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ตุลาคม 2011
    โพสต์:
    607
    ค่าพลัง:
    +1,222
    ขอเสริม ถูกแล้ว สมาธิ คือ บาทฐานไปสู่วิปัสนา เพราะ พอมีสมาธิ ก็จะเกิด ปัญญา ให้เห็นการ เกิด ดับ ( วิปัสนา) จากนั้น เมื่อเห็นเกิด-ดับ บ่อยๆ เข้า ก็จะเกิด นิพพิธา ( ความเบื่อหน่าย) จิตก็จะละอาสวะได้
     
  9. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    เคยได้ยินว่าสติเป็นเหตุให้เกิดสมาธิน๊า!
     
  10. ssahn34

    ssahn34 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กันยายน 2013
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +75
    ฝึกกันหลายแนวหลายแบบ เพื่อค้นหาแบบแนวที่ชอบ
    แบบที่ดีที่สุดคือแบบที่ชอบที่สุด คือทำแบบนี้แล้วมีสมาธิง่าย เร็ว เลยชอบ
    เพื่อทั้งอภิญญาและอรหันต์ เพราะฝึกหลายแบบคือต้องการทั้งสองอย่าง
    นั้นแหละ เพื่อต้องการเอาไว้บอกคนที่เดินตามหลังด้วย
    สำหรับผมนะครับ ท่านอื่นก็แล้วแต่
     
  11. Workgroup

    Workgroup เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    693
    ค่าพลัง:
    +1,946
    สติ กลับ สมาธิ สลับกัน ทำงาน แล้วแต่ เหตุ และ ปัจจัย ครับ
     
  12. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    สมาธิจะเป็นเหตุปัจจัยให้สติบริบูรณ์นั้น. คุณต้องมีสติจนเกิดสมาธิก่อนเมื่อสมาธิบริบูรณ์แล้ว. สมาธิถึงทำหน้าที่นั้นได้
     
  13. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,410
    ค่าพลัง:
    +12,662
    ฝึกให้จิตเลิกเสวยอารมย์ ให้จิตมีกำลังพิจารณาเห็นความจริงของธาตุ ๔ ขันธ์ ๕
    เพื่อเลิกก่อภพ ก่อชาติ


    ถ้าไม่ฝึกจิตก็จะทำหน้าที่เสวยอารมย์ก่อภพ ก่อชาติ
    ไม่รู้จบ
     
  14. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    969
    ค่าพลัง:
    +1,174
    มีนักสมาธิเยอะเหมือนกัน น่าสนใจทั้งนั้นนะครับ
    ท่านใดมีวิธี ดีๆ ที่เคยฝึกมั้งครับ
     
  15. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,410
    ค่าพลัง:
    +12,662
    กล้วยไข่พอใจแค่มีปัญญาเห็นความว่าง
     
  16. Workgroup

    Workgroup เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    693
    ค่าพลัง:
    +1,946
    สมาธิ ความหมาย ของผมคือ ความละเอียด ของธรรม

    สติ ความหมาย ของผมคือ ความความระลึก ของธรรม

    สมาธิ ทำงานหนัก ในการ พิจารณา ธรรมนั้นดับไป ก็ต้องดึง สติ มา คอง

    จึงเกิด สติปัฏฐานสี่ กาย เวทนา จิต ธรรม
     
  17. นักรบธรรม

    นักรบธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 กุมภาพันธ์ 2008
    โพสต์:
    969
    ค่าพลัง:
    +1,174
    เห็นมีหลายอาจารย์ เช่น หลวงพ่อจรัญ , หลวงพ่อฤาษีลิงดำ , วัดเขาสมโภชน์ , วัดธรรมกาย , วัดสังฆทาน ,แนวหลวงปู่มั่น ฯลฯ
     
  18. bigtoo

    bigtoo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    2,345
    ค่าพลัง:
    +1,448
    คำที่พระศาสดากล่าไว้ชัดมากครัย. สติเป็นเหตุใกล้ให้เกิดสมาธิ.
     
  19. Workgroup

    Workgroup เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    693
    ค่าพลัง:
    +1,946
    เบืองต้น ถูกครับ สติ ทำให้เกิด สมาธิ

    ถ้าติดอยู่ใน สมาธิ ตัวอย่าง เช่น หลงนิมิต ต้องดึง สติ มาพิจารณา ธรรม นั้นเสมอครับ อยู่ที่ เหตุและปัจจัย
     
  20. มาจากดิน

    มาจากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 เมษายน 2008
    โพสต์:
    5,916
    กระทู้เรื่องเด่น:
    10
    ค่าพลัง:
    +2,494

แชร์หน้านี้

Loading...