พบหลักฐาน "ดาวนายพราน" ซ่อนกลุ่มดาววัยเอ๊าะ

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย Catt Bewer, 22 เมษายน 2009.

  1. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>พบหลักฐาน "ดาวนายพราน" ซ่อนกลุ่มดาววัยเอ๊าะ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>22 เมษายน 2552 15:08 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>กลุ่มก๊าซที่พวยพุ่งด้วยความเร็วคือบริเวณที่เป็นสีแดงในภาพ ซึ่งพุ่งออกมาจากบริเวณที่มีดาวอายุน้อยก่อตัวในกลุ่มดาวนายพราน (รอยเตอร์/กล้องโทรทรรศน์สปิตเซอร์)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>กลุ่มก๊าซที่พวยพุ่งด้วยความเร็วคือบริเวณที่เป็นสีแดงในภาพ ซึ่งพุ่งออกมาจากบริเวณที่มีดาวอายุน้อยก่อตัวในกลุ่มดาวนายพราน (รอยเตอร์/กล้องโท</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพที่ผสมผสานระหว่างภาพจากกล้องสปิตเซอร์และกล้องโทรทรรศน์อินฟราเรด เผยให้เห็นบริเวณที่ดวงดาวอายุน้อยจำนวนมากก่อตัว โดยเผยให้เห็นส่วนหนึ่งของเมฆหมอกในกลุ่มดาวนายพราน โดยกลุ่มดาวอายุน้อยอยู่ในแถบสีส้มทองของภาพ (รอยเตอร์ /กล้องอินฟราเรดแห่งสหราชอาณาจักร/กล้องสปิตเซอร์)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภาพรอยเตอร์ /กล้องอินฟราเรดแห่งสหราชอาณาจักร/กล้องสปิตเซอร์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>พบกลุ่มก๊าซที่พวยพุ่งด้วยความเร็วสูงนับโหล แผ่ขยายจากกลุ่มดาวอายุน้อย ซึ่งซ่อนอยู่ในกลุ่มดาวนายพราน

    นิตยสารนิวไซแอนทิสต์ระบุว่า เนบิวลาดาวนายพราน (Orion) ซึ่งอยู่ห่างจากโลก 1,300 ปีแสง อาจเป็นเพียงส่วนหนึ่งของแหล่งอนุบาลดาวอายุน้อยขนาดใหญ่มาก ซึ่งกลุ่มเมฆหมอกนี้ได้แผ่ขยายบนท้องฟ้าและสว่างราวกับจันทร์เต็มดวง ถึง 20 ดวง แต่ถูกกลุ่มก๊าซและฝุ่นในอวกาศบดบัง

    การสังเกตท้องฟ้าในความยาวช่วงคลื่นหนึ่ง ได้เผยให้เห็นความเคลื่อนไหวในกลุ่มเมฆหมอก ซึ่งรวมถึงกลุ่มก๊าซที่มีความเร็วสูง ซึ่งแผ่ขยายจากกลุ่มดาวอายุน้อยเป็นระยะหลายล้านกิโลเมตร และสนามแม่เหล็กที่ออกมารอบๆ ดาวทำให้เกิดโครงสร้างที่น่าทึ่ง

    ทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติกลุ่มหนึ่ง ได้เปรียบเทียบภาพอินฟราเรดของกลุ่มเมฆหมอกเมื่อ 10 ปีก่อน กับข้อมูลใหม่ที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์อินฟราเรดแห่งสหราชอาณาจักร (United Kingdom Infrared Telescope) ที่ตั้งอยู่ในฮาวาย ข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์ (Spitzer Space Telescope) และกล้องโทรทรรศน์วิทยุไอแรม (IRAM) ซึ่งจากการวัดความเร็วและทิศทางของกลุ่มก๊าซความเร็วสูงในเมฆหมอก จนทำให้พวกเขาได้พบกับดาวอายุน้อย

    "การวัดความเร็วและทิศทางของกลุ่มก๊าซ เป็นจุดที่ชี้ให้เห็นแหล่งกำเนิดที่ขับเคลื่อน โดยเฉพาะบริเวณที่กลุ่มก๊าซเบียดเสียดกันอยู่" เดิร์ค โฟรบริช (Dirk Froebrich) สมาชิกของทีมนักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเคนท์ (University of Kent) กล่าว

    "ด้วยดาวอายุน้อยจำนวนมาก เราสามารถศึกษาปริมาณของการเกิดดวงดาว การศึกษาครั้งนี้ทำให้เราได้ความคิดว่าดาวอายุเกิดใหม่ใช้เวลานานแค่ไหนในการเพิ่มจำนวนด้วยการดึงก๊าซที่อยู่รอบๆ มาสร้างดาวดวง และอะไรคือตัวหยุดการก่อตัวของดวงดาว และการเกิดของดาวนั้นได้รับอิทธิพลจากดาวอื่นๆ ในบริเวณที่มีดาวก่อตัวได้อย่างไร" สเปซด็อทคอมรายงานความเห็นของ ทอม เมเกียธ (Tom Megeath) นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโทเลโด (University of Toledo) ในมลรัฐโอไฮโอ สหรัฐฯ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9520000044852</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle></TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. kwamawauyo

    kwamawauyo Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    499
    ค่าพลัง:
    +64
    ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ
     

แชร์หน้านี้

Loading...