พระแก้ว 25 พุทธศตวรรษในมุมมองของผมในฐานะช่างผู้สร้างพระแก้ว 25 พุทธศตวรรษ

ในห้อง 'พระพุทธรูป - วิหารทาน - สิ่งก่อสร้าง' ตั้งกระทู้โดย glassbuddha2009, 15 ธันวาคม 2018.

  1. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    พระแก้ว 25 พุทธศตวรรษในมุมมองของผมในฐานะช่างผู้สร้างพระแก้วในอดีตของไทย ซึ่งมุมมองของผมอาจไม่ตรงกับมุมมองของท่านใดทั้งสิ้น ขอท่านโปรดใช้วิจารณญาณครับ




    หมายเหตุ
    กระทู้นี้เคยชื่อ : พระแก้ว ๒๕ พุทธศตวรรษในมุมมองของผมหลายๆด้าน

    เฉลยสาเหตุรอยต่างๆของพระแก้วมาจากอะไร หน้า 4
    พระแก้ว 25 พุทธศตวรรษที่สร้างเกินในอดีต หน้า 8 #158 ขึ้นไป
    หน้า 9 #180 " พระแก้วผิดพิมพ์ " จากคุณทนงศักดิ์
    ร่วมอนุโมทนาน้อมถวายพระแก้วทุกรุ่น 5XX กว่าองค์ไว้ในพระพุทธศาสนาหน้า 13 #242
    พระแก้วพิมพ์ตี JAPAN หน้า 13 # 250 ขึ้นไป
    ข้อด้อยของพระแก้วหลายถอด หน้าล่าสุด
    พระบูชานางกวักแก้วหลายถอด จุดอ่อนอยู่ตรงไหน หรือทั้งองค์
    จุดด้อยของพระบูชานาคปรกแก้วและปางที่มีหลายถอด หน้า 16
    พ่อค้าปลอมตัวมาเป็นหลายสำนักสร้างพระแก้ว 25 พุทธศตวรรษ หน้า 17
    พระแก้วมรกตและพระแก้วสีเขียวหยกทั้งหมดเป็นแก้วที่ควบคุมสีไม่ได้ หน้า 18
    เฉลย : ลองเชิงช่าง หน้า 19
    D.I.Y. หลอมพระแก้วได้ด้วยตนเอง หน้า 21
    พบเทคนิคสร้างพระแก้วยืนสูง 2 เมตรหรือนั่ง 49 นิ้วที่ราคาถูกมาก หน้า 23
    งานสร้างพระแก้วยุคใหม่ในไทย หน้า 24
    พระแก้วมรกต 5 หยอด หน้าล่าสุด
    พระแก้วหน้าตัก 30 นิ้วกลวงเป่าด้วยปอดราคาองค์ละ 1,200.- บาทหน้า 28 #553
    พระแก้วคู่ชาวบ้านในชนบทนานมากว่าครึ่งศตวรรษและตลอดไป หน้า 29
    พระพุทธเจ้าพระองค์จริง หน้า 29 #573 - #574
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กุมภาพันธ์ 2019
  2. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    สารบัญ

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #1 คำนำ

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #14 พระแก้วแตกทิ้งใต้ต้นโพธิ์ต้นไทรและที่อื่นๆจนชินตา และสาเหตุที่ทำให้พระแก้วแตก ร้าว บิ่น ผิวกร้านและอื่นๆคือการอบลดอุณหภูมิที่ไม่ถูกต้องของโรงงานแก้วผู้สร้างพระแก้วส่วนหนึ่ง ( ซึ่งอาจเป็นส่วนมากด้วย )

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #15 วิธีการสร้างพระแก้ว ๒๕ พุทธศตวรรษ ( ชื่อเรียกโดยรวม ) ไม่ว่าขนาดเท่าไร ไม่ว่าสีอะไร ในอดีตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 - 2549 มีอยู่เพียงวิธีเดียวคือวิธีกดปั๊ม หรือ Pressed Glass ซึ่งเป็นวิธีที่ต้องอาศัยช่างแก้วหลายฝ่ายมาก บวกกับเวลาในการสร้างมีเพียงแค่ไม่ถึง 1 นาที จึงเกิดความผิดพลาดได้ง่ายมากแม้ในช่างแก้วที่มีฝีมือดีที่สุดและเข้าใจอย่างเต็มที่ ก็ยังพลาดอยู่ตลอดเวลา

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #16 สูตรตารางการอบลดอุณหภูมิแก้ว แสดงถึงสูง 4XXC และสูตร 5XXC ซึ่งความจริงยังมีสูตรอีกมากมายหลายสูตร ขึ้นอยู่กับปัจจัยมากมาย เช่นปริมาณทรายซิลิก้าที่เป็นตัวแปรสำคัญ และเคมีภัณฑ์ในปริมาณเชิงสัมฤทธิ์ผลหรือพูดง่ายๆว่า เคมีหากมากพอ ก็อาจเป็นตัวแปรนี้ได้อีกด้วย

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #17 เพียงไม่ถึง 1 นาที เปิดคลิปให้ชมว่า พระแก้วก็ใช้เทคนิคแบบนี้เหมือนกัน คือไม่ถึง 1 นาทีการขึ้นรูปเสร็จสิ้น ดังนั้นจึงมีโอกาสพลาดเยอะมาก

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #18 กล่าวถึงปรมาจารย์ช่างแก้วจากจีนมาสอนผมในวิชาแก้ว

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #19 แม้แต่พระแก้วที่สร้างในอิตาลีเมื่อปี พ.ศ. 2475 โรงงานแก้วในอิตาลีสมัยนั้น ก็อาจมีการอบลดอุณหภูมิได้ไม่ถูกต้อง 100% หรืออาจมีปัจจัยอื่นร่วม โดยเฉพาะในเนื้อแก้วสีที่เป็นสีนม เช่น เขียวนมเป็นต้น

    หน้า 1 ความคิดเห็นที่ #20 หญิงชาวกัมพูชาพบพระแก้วแตกหัก นำไปบูชา ถือเป็นอุดมมงคล
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 ธันวาคม 2018
  3. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  4. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  5. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  6. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  7. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  8. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  9. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    สำรอง 008
     
  10. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  11. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  12. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  13. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
  14. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    old-glass-buddha-statues-lying-around-the-grounds-of-the-shan-temple-C2XEFM.jpg
    พระพุทธรูปสร้างจากแก้วธรรมดา ( แก้วโซดาไลม์ซิลิก้า )
    [ Sodalimesilica Glass ] ที่หลายๆแห่งจะเห็นคนไปวางทิ้งไว้ใต้ต้นโพธิ์ต้นไทร หรือบางแห่งแย่หน่อยก็นำไปทิ้ง เนื่องจากมีการแตกร้าว บิ่น หรือยอดพระเศียรแก้วหลุด จนกระทั่งเป็นภาพชินตาของคนไทยส่วนหนึ่ง


    ทั้งนี้สาเหตุเนื่องจากสมัยนั้น ( พ.ศ. 2497 - 2552 ) โรงงานสร้างพระแก้วส่วนหนึ่ง ( อาจเป็นส่วนมากด้วยซ้ำ ) ยังไม่รู้สูตรการอบลดอุณหภูมิเนื้อแก้วอย่างถูกต้อง เมื่ออบลดอุณหภูมิไม่ถูกต้อง จึงทำให้เนื้อแก้วยังหลงเหลือความเครียด ( Stress ) และเป็นเหตุให้พระแก้วแตกร้าว บิ่น ผิวกร้านหยาบ หรืออื่นๆอันเป็นเหตุให้มีการแตกร้าว บิ่นในตำแหน่งต่างๆขององค์พระแก้ว ซึ่งบางองค์มีอาการเร็วภายในไม่ถึงปี แต่บางองค์ส่วนใหญ่มีอาการผ่านการใช้งานหลายปี หรือ หลายสิบปี และผมคาดการณ์เองว่า อาจมีอาการแตกร้าว บิ่น ผิวกระเทาะเมื่อผ่านไปอีกเรื่อยๆ ไม่ทราบว่าองค์ไหนจะมีอาการก่อนหรือหลัง

    หมายเหตุ
    อาจมีบางโรงงานสร้างพระแก้วที่อาจอบลดอุณหภูมิพระแก้วได้ถูกต้อง ซึ่งหากเป็นเช่นนั้น พระแก้วที่ลดอุณหภูมิได้ถูกต้อง ก็จะไม่แตก ร้าว บิ่น ผิวกระเทาะ หรือแสดงอาการอันไม่พึงประสงค์ใดๆ ต่อให้นานกี่ร้อยกี่พันปีก็ตาม
     
  15. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    ทรายแก้วและเคมีภัณฑ์นำมาหลอมด้วยความร้อนสูงประมาณ 1,200C - 1,600C ( แล้วแต่สูตรการหลอมแก้วของแต่ละโรงงาน ) นานสิบกว่าชั่วโมงจะได้น้ำแก้วนำมาอัดปั๊มขึ้นรูปเป็นพระพุทธรูปแก้วซึ่งรวมเรียกทุกรุ่นที่สร้างในสมัยนั้นว่าพระแก้ว 25 พุทธศตวรรษ ที่สำคัญคือการอบลดอุณหภูมิต้องทำอย่างถูกต้อง ในสมัยนั้นโรงงานแก้วส่วนหนึ่งอาจลดได้ถูกต้องและอีกส่วนหนึ่งทำการลดอุณหภูมิอบแก้วได้ไม่ถูกต้อง จึงเป็นเหตุให้พระแก้วแตก ร้าว บิ่น ผิวกระเทาะ พระเศียรหลุด พระเกศาหักหรือหลุด หรือร้าวผิวหรืออื่นๆ แต่ก็อาจมีบางโรงงานที่ทำได้ถูกต้องเหมือนกัน 20180717062218_91194.jpg
    แม่พิมพ์เหล็กขึ้นรูปพระแก้วในรูปนี้ ผมขอยืมภาพจาก Gillinder ซึ่งไม่นับว่าเป็นพระแก้ว 25 ศตวรรษนะครับ แต่เนื่องจากพระแก้ว ๒๕ พุทธศตวรรษของไทยเราเลือกใช้วิธีกดปั๊มด้วยแม่พิมพ์เหล็กเหมือนกัน ผมจึงขอยืมภาพมาอธิบายให้เห็นถึงแม่พิมพ์ครับ
    gillinder hollow buddha mould06.jpg

    ภาพนี้เป็นภาพการขึ้นรูปพระแก้วของบัคคาฮ่ามีขนาดหน้าตัก 8 นิ้วเศษ ซึ่งนับว่าเป็นขนาดใหญ่ที่สุดของโลกที่ขึ้นรูปด้วยวิธีนี้ตั้งแต่มีโลกนี้มาเลยทีเดียว และยังไม่มีใครสร้างด้วยวิธีนี้ให้ใหญ่กว่านี้ได้
    127668.jpg
    อัตราความเร็วในการสร้างพระแก้ว ๒๕ พุทธศตวรรษคือประมาณ 1 นาทีต่อ 1 องค์ต่อ 1 แท่นการปั๊ม ซึ่งเฉพาะโรงงานแก้วที่ผมเป็นผู้จัดการเมื่อปี พ.ศ. 2516 - 2520 ผมคุมแท่นปั๊มพระ 2 แท่นเครื่อง นอกนั้นอีก 12 แท่นนั้น ผมคุมปั๊มโคมถนน ปั๊มโถปั่นน้ำผลไม้ เป่าโคมไฟและอื่นๆ
    vO1xZp.gif
    โดยทีมช่าง 6 คนไปทำการม้วนน้ำแก้วมา ช่างอีก 1 คนใช้กรรไกรตัดน้ำแก้ว แล้วใช้ลิ่มเดือยกดปั๊ม 1 ทีพระแก้วก็ขึ้นรูปเสร็จ 1 องค์ แล้วจะมีช่างนำพระแก้วออกไปเข้าเตาอบทันที

    บางโรงงานมี 6 แท่นเครื่อง บางโรงงานมี 14 แท่นเครื่อง แต่ส่วนมากเท่าที่ผมเคยไปโรงงานแก้วที่ผมรู้จัก มักจะมีประมาณ 2 - 8 แท่นเครื่องครับ
     
  16. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    ตารางการอบลดอุณหภูมิที่ถูกต้องสูตร 960F หรือ 516C
    annealing-chart516C001.jpg ตารางอบลดอุณหภูมินอก02.jpg ตารางการอบลดอุณหภูมิที่ถูกต้องสูตร 806F หรือ 430C
     
  17. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    ani 0001.gif เนื่องจากการกดปั๊มพระแก้ว ๒๕ พุทธศตวรรษมีการขึ้นรูปชิ้นงานคล้ายกับคลิปที่ผมนำมาให้ชมให้เข้าใจกันว่า มีความเร็วค่อนข้างสูง คือแทบจะพูดได้เลยว่า ไม่ถึง 1 นาทีต่อ 1 ชิ้นงานต่อ 1 แท่น จึงทำให้ช่างแก้วส่วนมาก ไม่มีความรู้ ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในการขึ้นรูป จึงทำให้ชิ้นงานมีความบกพร่องหลายๆประการ หากมีโอกาสจะได้อธิบายให้ทราบต่อไปครับ
     
  18. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    คุณพ่อคุณแม่ผมได้เชิญปรมาจารย์วิชาแก้วที่ท่านเป็นอาจารย์ของช่างแก้วแทบทุกสาขาวิชาแก้วในสมัยนั้น ซึ่งท่านอยู่ระดับแถวหน้าสุด เรียกว่าท่านเป็นอัจริยะทางการสร้างชิ้นงานแก้วอันดับต้นๆของไทย ( ความจริงท่านเป็นอาจารย์ของช่างแก้วจากจีนมาก่อนหน้านั้นแล้ว และนำความรู้นี้มาสอนให้ช่างแก้วไทย ซึ่งมีน้อยคนได้เล่าเรียนในสมัยนั้น )

    ปรมาจารย์แก้วในความเห็นส่วนตัวผมนั้น ในประเทศไทยในสมัยนั้นมีไม่กี่ท่าน และท่านเป็นอันดับต้นๆ ส่วนอาจารย์ช่างแก้วบางท่านจะเป็นวิชาแค่ท่านละ 1 วิชา เช่น หากเป็นอาจารย์สอนผสมสีแก้ว ก็เป็นอยู่วิชาเดียว หากเป็นอาจารย์เป่าแก้ว ก็เป็นอยู่วิชาเดียว หากเป็นอาจารย์ปั๊มแก้วก็เป็นวิชาเดียวเช่นกัน หากเป็นนักหลอมแก้วก็เป็นวิชาเดียว ซึ่งวิชาเกี่ยวกับแก้วมีหลายหลากวิชามาก จนต้องมีช่างหลายแขนงวิชามาก แต่ในปรมาจารย์แก้วผมนั้น ท่านเก่งทุกวิชารวมอยู่ในท่านคนเดียว ซึ่งยากมากที่จะหาปรมาจารย์ที่เก่งในระดับอัจริยะอย่างท่าน
     
  19. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    6350681276427700002.jpg
    ภาพพระแก้วที่สร้างในอิตาลีเมื่อปี พ.ศ. 2475 เนื้อแก้วเป็นสีเขียวนม เมื่อสร้างผ่านเวลาไประยะหนึ่ง เนื้อแก้วมีอาการดังที่เห็นนี้ ดังนั้น จึงอาจสรุปได้ว่า แม้แต่ในอิตาลีเมื่อยุคสมัยนั้น ก็ยังมีการอบลดอุณหภูมิที่อาจไม่ถูกต้องก็เป็นไปได้ แต่เนื่องจากการร้าวในลักษณะนี้ อาจมีปัจจัยของแก้วนม หรือ ตะกั่วในแก้วสีนม ก็อาจทำปฏิกิริยาอย่างนี้ก็เป็นไปได้ ดังนั้น ผมจึงยังไม่สรุปว่า อิตาลีอบลดอุณหภูมิไม่ถูกต้อง อาจเป็นตะกั่วในเนื้อแก้วนมที่ทำปฏิกิริยาอย่างนี้ก็เป็นไปได้
     
  20. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    36,102
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,807
    พระแก้ว 25 พุทธศตวรรษที่เปลวเพลิงหัก และองค์พระแก้วแตกขาดที่ขาดังในภาพนี้ เป็นการแตกขาดที่เกิดจากการอบลดอุณหภูมิที่ฝรั่งเรียกว่า Glass Forming Relaxation หรือ Glass Annealing Process มีความไม่ถูกต้องหรือยังถูกต้องไม่เต็มที่ ก็อาจมีอาการเช่นนี้ได้ตั้งแต่ปีแรกๆถึงนานไปนับร้อยปีก็ยังคงแตกร้าวได้
    0086.jpg
    คุณผู้หญิงท่านนี้อยู่ในกัมพูชาซึ่งต้องนับถือน้ำใจท่านที่ยังคงนำชิ้นส่วนองค์พระแก้วมาบูชาต่อครับ 0085.jpg
    แก้วสีเขียวใส หรือบางคนเรียกว่าเขียวมรกต ( ไม่ใช่สีเขียวนม ) สีนี้เป็นสีในเนื้อแก้วที่มีน้ำแก้วสีต้นกำเนิดต่างกันโดยสิ้นเชิงเมื่อเปรียบเทียบแก้วสีเขียวนม
     

แชร์หน้านี้

Loading...