พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง) และ คำอธิบาย

ในห้อง 'รวมบทสวดมนต์และคาถา' ตั้งกระทู้โดย หนุมาน, 5 พฤษภาคม 2005.

  1. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE borderColor=#cccccc align=center bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7 height=270>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง) </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>
    [font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font](๑) พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลังอุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมาะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ
    (๒) มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    (๓) นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ

    (๔) อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ

    (๕) กัตวานะ กัฎฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    (๖) สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    (๗) นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    (๘) ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ

    (๙) เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
    <HR color=#ffffff SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  2. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    คำนำ
    ปัจจุบันมีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้นในโลกทำให้ประชาชนต่างเกิดความวิตกกังวล และกลัวภยันตรายจะมาถึงตัวเอง ทำให้เสียขวัญและหมดกำลังใจในการดำเนินชีวิต

    การสวดมนต์ ถือเป็นทางออกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของไทย และเป็นกิจวัตรประจำวันของชาวพุทธเพื่อระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย และบำเพ็ญสมาธิไปพร้อมกัน ดังข้อความที่ปรากฏใน วิมุตตายนสูตร ว่า

     
  3. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc height=310 width=200 bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff align=middle bgColor=#f7f7f7 height=304>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๑
    ผมได้ยกคำบาลีพร้อมคำแปล มาลงให้อ่าน เพื่อจะได้ทราบว่าบทสวดพาหุงนั้น มีความหมายอย่างไร คราวนี้มาเล่าเรื่องราวประกอบ พร้อมข้อสังเกตเพิ่มเติมเท่าที่สติปัญญาอันน้อยของผมจะทำได้ ผิดถูกอย่างไรเราไม่ว่ากันอยู่แล้วมิใช่หรือ หรือ จะว่าก็ไม่เป็นไร

    คาถาพาหุง บทที่ ๑ ความว่า
    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลังอุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมาะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ


    พญามารเนรมิตแขนตั้งพัน ถืออาวุธ
    ครบมือ ขี่ช้าง ครีเมขละ พร้อมด้วยเสนามาร
    โห่ร้องก้องกึก พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้
    ด้วยธรรมวิธี มีทานบารมี เป็นต้น ด้วยเดช
    แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน

    พากย์บาลีเฉพาะคำว่า ชะยะมังคะลานิ ฝ่ายพระธรรมยุตเปลี่ยนเป็น ชะยะมังคะลัคคัง
    ให้เหตุผลว่าเพื่อให้ถูกไวยากรณ์ ผมว่าไม่จำเป็นต้องเคร่งครัดขนาดนั้น ก็ได้ท่านผู้แต่งเองก็ใช่ว่าจะไม่รู้ไวยากรณ์ ท่านคงจงใจใช้อย่างนี้มากกว่า

    บางท่านก็สอนว่า ถ้าต้องการสวดให้ตัวเองให้เปลี่ยน ภะวะตุ เต เป็น ภะวะตุ เม นี่ก็ไม่จำเป็นต้อง​
     
  4. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๒

    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ


    อาฬวกยักษ์ผู้กระด้าง ปราศจาก
    ความอดทน ดุร้าย สู้รบกับพระพุทธเจ้าอย่าง
    ทรหดยิ่งกว่ามารตลอดราตรี พระจอมมุนีทรง
    เอาชนะได้ด้วยขันติวิธีที่ทรงฝึกฝนมาดี ด้วย
    เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
    บทที่แล้วพระพุทธองค์ทรงสู้รบกับมาร มาคราวนี้ทรงสู้รบกับยักษ์ มารอาจหมายถึงมารจริงๆ คือ เทพเกเรที่ชอบมารังแกคน หรือ อาจหมายถึงกิเลสก็ได้ฉันใด ในที่นี้ ก็อาจหมายถึงยักษ์เขี้ยวโง้ง หรือเป็นภาษาสัญลักษณ์หมายถึงคนดุร้ายเผ่าหนึ่ง ในสมัยพุทะกาลก็ย่อมได้

    ไม่เพียงแต่ ยักษ์และมาร นาคที่ปรากฏในคัมภีร์ศาสนา ก็อาจเป็นภาษาสัญลักษณ์ เช่นกัน นาคปลอมมาบวช ตำราว่าเป็นพญานาคที่มีฤทธิ์ จำแลงกายเป็นคนได้ ตราบใดที่ยังมีสติอยู่ก็จะเป็นมนุษย์ แต่ถ้าเผลอสติ หรือหลับเมื่อใด ร่างนาคหรืองูใหญ่ก็จะปรากฏทันที

    พระหนุ่มนาคจำแลง นอนหลับใหลในเวลากลางวันในห้อง ร่างกลายเป็นงูใหญ่ขดอยู่เต็มห้อง พระรูปหนึ่งเปิดประตูเข้าไปเห็นเข้าร้องเสียงหลงด้วยความตกใจ พระนาคจำแลงรู้ว่าเกิดอะไรขึ้น จึงแปลงร่างเป็นพระหนุ่มตามเดิม เรื่องรู้ถึงพระพุทะองค์ เธอเปิดเผยความจริงว่าเธอเป็นนาค (งูใหญ่) ปลอมมาบวชเพราะความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา

    พระพุทธองค์ตรัสว่าเพศบรรพชิตไม่เหมาะสำหรับสัตว์เดรัจฉาน จึงให้เธอลาสิกขากลับไปสู่นาคพิภพตามเดิม ตรงนี้ ตำราในเมืองไทยแต่งต่อว่า นาคกราบทูลขอว่า​
     
  5. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๓

    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ


    พญาช้างชื่อ นาฬาคิรี ตกมัน
    ดุร้ายยิ่งนัก ประดุจไฟป่า จักราวุธ และสายฟ้า
    พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้ด้วยวิธีรดด้วยน้ำ
    คือเมตตา ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน

    ต้นเหตุให้เกิดเรื่องนี้ก็คือ พระเทวทัตอดีตเจ้าชายหนุ่มแห่งโกลิยวงศ์ ตำนานฝ่ายเถรวาทว่า เป็นเชษฐาของพระนางยโสธราพิมพาแต่ฝ่ายมหายานว่าเป็นลูกพี่ลูกน้องกับพระนางยโสธราพิมพา ซึ่งก็อาจเป็นไปได้ เพราะคัมภีร์ฝ่ายเถรวาทบางแห่งก็พูดในทำนองนั้น ดังเช่นเมื่อพระเทวทัตยื่นข้อเสนอ ให้พระพุทธองค์มอบสงฆ์ให้ท่านปกครองอ้าวว่า​
     
  6. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๔

    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ


    โจรองคุลิมาล (โจรฆ่าคนเอานิ้ว
    ทำพวงมาลัยแสนดุร้าย) ถือดาบเงื้อง่าวิ่งไล่ฆ่า
    พระพุทธองค์สิ้นระยะทาง ๓ โยชน์ พระจอมมุณี
    ทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจเอาชนะได้ราบคาบ
    ด้วยเดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
    องคุลิมาล เดิมชื่อ อหิงสกะ มีประวัติความเป็นมาค่อนข้างพิลึกพิลั่น เป็นพระสาวกรูปหนึ่งที่ได้รับยกย่องในฐานะที่เป็น​
     
  7. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๕

    กัตวานะ กัฎฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ


    นางจิญจมาณวิกา (สาวิกาพวกนิครนถ์)
    เอาไม้กลมๆ มาผูกท้อง ทำอาการ
    ประหนึ่งว่ามีครรภ์ ใส่ร้ายพระพุทะเจ้า
    ท่ามกลางฝูงชน พระจอมมุนีทรงเอาชนะได้
    ด้วยวิธีสงบระงับพระหฤทัยอันงดงาม ด้วย
    เดชแห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคลจงมีแก่ท่าน
    การผจญภัยครั้งนี้ของพระพุทะองค์เป็นเรื่องใหญ่ยิ่ง เพราะทรงผจญกับข้อกล่าวหาเรื่อง​
     
  8. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๖

    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ


    สัจจกนิครนถ์ผู้ถือตัวว่าฉลาด
    เป็นนักโต้วาทะชั้นยอด สละเสียซึ่งสัจจะ
    ตั้งใจมาได้วาทะหักล้างพระพุทธองค์ เป็นคน
    มืดบอดยิ่งนัก พระจอมมุนีผู้สว่างจ้าด้วย​
     
  9. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๗

    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ


    พญานาค ชื่อนันโทปนันทะ ผู้มี
    ความรู้ผิดมีฤทธิ์มาก พระจอมมุนี ทรงมี
    พุทธบัญชาให้พระโมคคัลลานะพุทธโอรส ไป
    ปราบด้วยวิธีแสดงฤทธิ์ที่เหนือกว่า ด้วยเดช
    แห่งชัยชนะนั้น ขอชัยมงคล จงมีแก่ท่าน
    คราวนี้ทรงเอาชนะพญานาคราช ซึ่งพอเอ่ยคำว่า
     
  10. หนุมาน

    หนุมาน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    196
    ค่าพลัง:
    +281
    <TABLE width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    <TABLE borderColor=#cccccc bgColor=#ffffff border=1><TBODY><TR><TD borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE borderColor=#f7f7f7 width="80%" align=center border=1><TBODY><TR><TD vAlign=top borderColor=#ffffff bgColor=#f7f7f7><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD align=middle bgColor=#99cc00 height=23>พระคาถาพาหุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=20 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 width="94%" align=center bgColor=#f7f7f7 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=61>[font=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif, AngsanaUPC][/font]
    บทที่ ๘,๙

    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุเต ชะยะมังคะลานิ


    พรหมชื่อพกะ (ถือตัวว่า) มีความ
    บริสุทธิ์ รุ่งเรืองและมีฤทธิ์
    ยึดมั่นในความเห็นผิด
    ดุจมีมือถูกอสรพิษขบเอา

    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ


    คนมีปัญญาสวดพุทธชัยมงคล
    คาถาทั้ง ๘ นี้เป็นประจำ โดยไม่เกียจคร้าน
    พึงขจัดอุปัทวันตรายทั้งหลายได้ บรรลุถึงซึ่ง
    พระนิพพานอันเป็นสุข
    บทที่ ๘ นี้เป็นบทสุดท้ายของพระคาถาพาหุง ส่วนบทที่๙ เป็นคำสรุปตบท้าย ความว่า

    คำแปลอาจฟังยากไปนิด ความหมายเป็นการเปรียบเทียบ คือ เปรียบเทียบความเห็นผิดเหมือนอสรพิษร้าย พกะพรหมแกยึดมั่นในความเห็นผิด เรียกว่าเป็นคนอยู่ในภาวะอันตราย ดุจจับงูพิษ แล้วถูกมันขบเอาไม่ตายก็คางเหลืองอะไรทำนองนั้น

    พระพุทธองค์ทรงรักษาพิษงู (ความเห็นผิด) ด้วยใช้ยาวิเศษ คือญาณ (ความหยั่งรู้ความจริง) แล้วในที่สุดพกะพรหม แกก็รอดตาย แปลให้ฟังง่ายๆ ดังนี้ก็แล้วกัน ภาษาพระมันยากอย่างนี้แหละ ท่านสารวัตร อีกอย่างหนึ่งท่านประพันธ์เป็นบทกวีด้วย ก็ต้องถอดความกันหลายชั้นหน่อย

    ดุจดังบทกวีว่า ​
     

แชร์หน้านี้

Loading...