มหาสติปัฏฐานสูตร เวทนานุปัสสนา

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Saber, 12 กุมภาพันธ์ 2018.

  1. Saber

    Saber เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มิถุนายน 2010
    โพสต์:
    5,942
    กระทู้เรื่องเด่น:
    19
    ค่าพลัง:
    +11,819
    <CENTER><CENTER>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
    ทีฆนิกาย มหาวรรค</CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="90%" background="" align=center><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TR><TD bgColor=darkblue width="100%" hspace="0" vspace="0">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>



    <CENTER></CENTER><CENTER>๙. มหาสติปัฏฐานสูตร </CENTER><CENTER></CENTER>




    </PRE>



    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>จบนวสีวถิกาบรรพ



    </CENTER><CENTER>จบกายานุปัสสนา



    </CENTER><CENTER class=l>-----------------------------------------------------
    </CENTER>
    [๒๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่อย่างไร
    เล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เสวยสุขเวทนาอยู่ ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนา หรือ
    เสวยทุกขเวทนา ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนา หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนา
    ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา หรือ เสวยสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เรา
    เสวยสุขเวทนามีอามิส
    หรือ เสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุข
    เวทนาไม่มีอามิส หรือเสวยทุกขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนามี
    อามิส หรือ เสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส
    หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส
    หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มี
    อามิส ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายในบ้าง
    พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายใน
    ทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็น
    ธรรมคือความเสื่อมในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความ
    เสื่อมในเวทนาบ้าง อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า เวทนามีอยู่ ก็เพียง
    สักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่

    แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า
    พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ฯ





    <CENTER>จบเวทนานุปัสสนา



    </CENTER><CENTER class=l>-----------------------------------------------------
    </CENTER>
     
  2. บุรุษไร้เงา

    บุรุษไร้เงา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มกราคม 2007
    โพสต์:
    8,428
    ค่าพลัง:
    +35,035
    การปฏิบัติในทางพุทธศาสนา
    มีตำราที่พอเป็นแนวทาง
    และน่าเชื่อถือได้ แต่ก็ไม่ทั้งหมด
    เพราะแปลมาจากบาลีอีกที
    และขึ้นอยู่กับว่า บทนั้นๆใครเป็นผู้แปลด้วยครับ
    ว่าผู้แปลนั้น มีความละเอียด รอบคอบ
    มีองค์ความรู้ มีการหาหลักฐานอ้างอิง
    มาประกอบบริษทนั้นๆหรือไม่อย่างไร

    เช่น คำว่า วิมาร บางเล่มอาจเรียกว่ คันธะฯ (ยกตัวอย่างนะครับ)
    หรืออย่างหลวงปู่ ช ในหนังสือ
    ภาษาไทยท่านพูดว่า ''โง่เหมือนควาย''
    ฝรั่งเอาไปแปลเป็นภาษาฝรั่ง เราไปอ่านดู
    ได้ความว่า `'' ควายนอนในน้ำ'' อย่างนี้เป็นต้น
    พอจะเข้าใจ บริษท หรือการสือนะครับ

    อย่างต้นฉบับอาจมี ๔๕ เล่ม
    อาจแปลได้ ๘๐ เล่มตามอายุพระพุทธเจ้าอะไรอย่างนี้
    ทั้งๆที่ขึ้นเรือมาเดิมอาจมีแค่ ๙ เล่ม(ปัจจัตตัง
    ฟังหูไว้หู)ผ่านยุคผ่านสมัยมากลายเป็น ๔๕
    อะไรทำนองนี้ครับ


    นึกออกไหม ปกติเวลาแปล เราแปลมาเป็น
    ภาษาเรา ย่อมจะต้องมีการขยายความ
    มากกว่าต้นฉบับบ้างเป็นธรรมดา
    ใครเคยแปลภาษามาบ้างจะพอเข้าใจครับ
    ดังนั้น จึงยึดไม่ได้เสียทั้งหมด
    แต่เป็นแนวทางการปฏิบัติ
    หรือเป็นแนวทางการศึกษาได้ครับ
    แต่ก็อย่าไปยึดจนไม่ยอมเปิดใจ
    กว้างมองในฐานข้อมูลอื่นๆนะครับ

    และในความเห็นส่วนตัวนะครับ สำหรับเรื่องนี้
    ดวงจิตที่จะไปสติปัฏฐานได้นะครับ
    ยังไม่ต้องถึงมหาสติฯนะครับ
    อย่างน้อย จิตจะต้องพอแยกรูปแยกนาม
    พอจะแยกได้ว่า อะไรเป็นจิต อะไรเป็น
    กิริยาของความคิดที่เกิดจากจิต
    กิริยาของขันธ์ ๕ ส่วนนามธรรมซึ่งเป็นฝ่าย
    อารมย์เป็นอย่างไร(ความคิดที่ผุด
    โดยไม่ได้ตั้งใจที่เป็นสัญญาในอดีต)
    จิตเกิดกิริยาเป็นอย่างไร
    จิตกระเพื่อมเป็นอย่างไร จิตเป็นกลางเป็นอย่างไร
    และเดินปัญญามาได้ซักพัก
    ได้ก่อนเป็นอย่างน้อยครับ
    ไม่งั้นผลที่ได้จะเป็นทางสมมุติได้อยู่
    ยังไม่เกิดผลขึ้นจริงกับตัวจิตครับ
    ซึ่งมันจะส่งผลกระทบซิ่ง
    ในทางด้าน ความเข้าใจทางนามธรรมต่างๆ
    ไม่ว่า อารมย์ กิริยาระหว่างทางในขณะฝึก
    สมาธิหรือกรรมฐานกองต่างๆ
    ทำให้ไปได้ช้าหรือไม่ถึงระดับ
    ที่สามารถใช้งานได้ครับ.......

    ดังนั้นพื้นฐานเรื่องการเจริญสติในชีวิต
    ประจำวัน เพื่อควบคุมความคิด
    ควบคุมพฤติกรรมของจิต
    จนจิตคลาย จากความคิด
    คลายจากขันธ์ ๕ ส่วนนามธรรม
    (หรือความคิดที่ผุดขึ้นมาโดยไม่ได้ตั้งใจ)
    เป็นเรื่องสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
    ถ้าหากไม่อยากเสียดายเวลาในการปฏิบัติครับ

    จะไปมหาสติได้ อย่างน้อยจะต้องสังเกตุ
    การเกิดดับ เกิดดับ รู้เหตุในการเกิดการดับ
    ให้ได้ก่อนครับ และก็มีกำลังเพียงพอ
    ที่จิตจะตามรู้ตามเข้าใจในทุกๆเรื่อง
    โน้นหละครับ เป็นอีกระดับหนึ่ง
    ไม่ง่ายเหมือนอ่านเอาจากตำรานะครับ
    ถ้าจิตจะเข้าถึงสภาวะได้จริงๆ

    ปล.แค่เพียงแต่เล่าให้ฟังครับ
     
  3. เราโตมาคนละแบบ

    เราโตมาคนละแบบ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2017
    โพสต์:
    729
    ค่าพลัง:
    +197
    ;):(:mad: พระปยุติ์ ปยุคิ์โต ..ออกมายอมรับเอง ในคลิปที่ไอ้หมอผี noppakan ..อย่างคุณเอาออกเปิดเมือ่วาน ประจานตัวอาจารย์ เป็นผู้แต่งเองเหรอ-หรือให้ลูกศิษย์แต่ง เป็น100 ปี เพิ่ฃมาบอกว่า "แปลผิด" ..บอกเป็นแค่ตำราให้ศึกษา อย่าเชื่อ..ศรีธนญชัย ชัดๆนี่

    :mad::p:eek: วันนี้ ไอ้หมอผี noppakan..ทำเป็นผู้รู้ คาถาหมอผี มาออกตัวเล่นของสูง เรียกราคา ยอมรับว่า พระไตรปิฏก แปลผิดอีกคนแล้วเหรอ อิอิ

    :mad:ดูไอ้หมอผี มันโพสต์..ทำเป้นผู้รู้ อิอิ :p

    นึกออกไหม ปกติเวลาแปล เราแปลมาเป็น
    ภาษาเรา ย่อมจะต้องมีการขยายความ
    มากกว่าต้นฉบับบ้างเป็นธรรมดา
    ใครเคยแปลภาษามาบ้างจะพอเข้าใจครับ
    ดังนั้น จึงยึดไม่ได้เสียทั้งหมด
    แต่เป็นแนวทางการปฏิบัติ
    หรือเป็นแนวทางการศึกษาได้ครับ
    แต่ก็อย่าไปยึดจนไม่ยอมเปิดใจ
    กว้างมองในฐานข้อมูลอื่นๆนะครับ
     
  4. บุรุษไร้เงา

    บุรุษไร้เงา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มกราคม 2007
    โพสต์:
    8,428
    ค่าพลัง:
    +35,035

    ข้ออ้างอิงไว้ก่อน ป้องกันการกับไปแก้ไขนะครับ
    ถ้าได้อ่านข้อความที่ข้าพเจ้าโพสใน #Rep ที่ 2 ประโยคชุดแรก
    ข้าพเจ้าใช้ข้อความว่า

    ''การปฏิบัติในทางพุทธศาสนา
    มีตำราที่พอเป็นแนวทาง
    และน่าเชื่อถือได้ แต่ก็ไม่ทั้งหมด

    เพราะแปลมาจากบาลีอีกที
    และขึ้นอยู่กับว่า บทนั้นๆใครเป็นผู้แปลด้วยครับ
    ว่าผู้แปลนั้น มีความละเอียด รอบคอบ
    มีองค์ความรู้ มีการหาหลักฐานอ้างอิง
    มาประกอบบริษทนั้นๆหรือไม่อย่างไร''


    และข้อความประโยคที่ 2 ข้าพเจ้าเขียนไว้ว่า

    ''นึกออกไหม ปกติเวลาแปล เราแปลมาเป็น
    ภาษาเรา ย่อมจะต้องมีการขยายความ
    มากกว่าต้นฉบับบ้างเป็นธรรมดา
    ใครเคยแปลภาษามาบ้างจะพอเข้าใจครับ
    ดังนั้น จึงยึดไม่ได้เสียทั้งหมด
    แต่เป็นแนวทางการปฏิบัติ
    หรือเป็นแนวทางการศึกษาได้ครับ

    แต่ก็อย่าไปยึดจนไม่ยอมเปิดใจ
    กว้างมองในฐานข้อมูลอื่นๆนะครับ''

    ไม่มีคำว่า ''บอกเป็นแค่ตำราให้ศึกษา อย่าเชื่อ'' อย่าง
    ที่นาย เราโตมาคนละแบบ กล่าวหา ว่าเป็นศรีธนญชัย
    เลยซักประโยคที่กล่าวมาและในประโยคทั้งหมด




    สรุปว่า นาย โตมาคนละแบบ กล่าวนั้น
    นอกจากเป็นการกล่าวความเท็จทั้งปวง แบบมโนและยังมีการ
    ปรามาส ให้ร้าย กล่าวตู่ ดิสเครดิสผู้อื่น
    เพื่อเบี่ยงเบนประเด็น เหตุจากความ
    แค้นฝั่งลึก ในเรื่องเกี่ยวกับ ตำราพุทธวจนะ ดัดแปลง
    ที่เหตุเกิดจากกระทู้อื่น แต่ด้วยเป็นคนที่เจ้าคิดเจ้าแค้น
    ที่ขาดตรรกะ ทางด้านเหตุและผลอย่างมาก
    จึงเป็นเหตุให้แสดงอุปนิสัย ดังที่สมาชิกเห็น
    หรือได้เคยประสบมานั้นเอง



    เนื่องจากมีการพยายามก่อนหน้านั้น
    ซึ่งกระทู้ได้ถูกลบไปแล้ว(ยังไม่สำนึก ที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง)
    ยังพยายามที่จะยัดเยียด ตำราพุทธวจนะ ดัดแปลงนั้น
    เพื่อให้เกิดการยอมรับ ณ ห้องอภิญญา-สมาธินี้
    เนื่องจาก ตนเองยึดมั่นถือมั่น
    ว่าตำราเล่มนี้ดีที่สุด โดยไม่ยอมรับฟังเหตุและผล
    ของสมาชิกท่านอื่นๆที่แสดงเหตุและผลในทางตรงข้าม


    ซ้ำร้าย ยังกล่าวหาแบบมโนปรุงแต่งไปเรื่อยเปื่อยพูดเหมือนคนไร้สติ
    สัญญาเริ่มวิปลาส และมีการให้ร้าย ยอกย้อน ย้อนแย้ง ขาดตรรกะ
    ปรามาส ดูถูก ด่า ประนาม ดิสเครดิส
    สมาชิกท่านอื่นๆที่เห็นต่าง
    จนเป็นเอือมระอามาช่วงหนึ่ง



    คำพูดที่ข้าพเจ้ากล่าวนั้น
    ก็เป็นเพียงบางคำพูดที่ได้ยินมาจากท่าน
    ศาสตราจารย์พิเศษ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
    นามเดิม ประยุทธ์ อารยางกูร ฉายา ปยุตฺโต
    หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา "ป. อ. ปยุตฺโต"
    ท่านได้กล่าวมาแล้วทั้งสิ้น ดังลิงค์ข้างล้างนี้



    เนื้อหาโดยย่อคือ สมเด็จฯท่านได้
    กล่าวไว้ตั้งแต่ตำราที่เป็นภาษาบาลี
    ประวัติความเป็นมาต่างๆ
    จนกระทั่งถึงปัจจุบัน
    จนกระทั้งถึงกรณี ตำรา
    พระพุทวจนะ ดัดแปลงนั้น ว่าเป็นอย่างไร
    เป็นได้เพียงแค่คู่มือและเครื่องประกอบในการศึกษาเท่านั้น
    ประมาณ นาทีที่ ๒๕ หากท่านใดไม่มีเวลาลองฟังได้นะครับ
    สมเด็จฯท่านพูดเองนะครับ


    หากท่านผู้ใด พอมีเวลาว่าง
    เชิญรับฟังได้ทั้งหมด


    การยึดตำราที่แปลมา แต่ปากบอก
    ไม่สนใจอรรถกถา แต่ตำราที่แปล
    และที่ตนเองยึดเป็นหลักนั้น
    ก็แปลตามอรรถกถานั่นหละครับ
    พอเข้าใจนะครับ


    นอกจากตำราที่ยึดจะมีคลาดเคลื่อนอยู่แล้ว
    ซึ่งพอเป็น''คู่มือและเครื่องประกอบในการศึกษา'' จากคำกล่าว
    ของ ท่าน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์



    ขอทำความเข้าใจดังนี้ครับ
    อรรถกถา
    อัดถะกะถา/
    คำนาม
    แปลว่า คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก
    ข้อมูล จากวิกิพีเดีย


    ยกตัวอย่างให้พอเข้าใจง่ายๆ
    เช่น ภาษาบาลีเดิมก่อนแปลมีความหมายว่า
    ''โง่เหมือนควาย''
    แต่ตำราแปลมาว่า “ควายนอนในน้ำ”
    เราจะพบได้ว่า ความหมายมันผิดเพี้ยน จากข้อความที่ยกมาเป็นตัวอย่าง


    แต่ท่านที่แปล ที่ทำ ตำรา ที่มีปัญหา นั้น
    ปากก็บอกไม่สนใจ อรรถกถา แต่ท่าน
    ก็ยึดเอาคำว่า
    “ควายนอนในน้ำ” เป็นหลัก
    ทั้งๆที่ คำว่า
    ''ควายนอนในน้ำ''มันก็แปลมา
    แล้วอ้างว่า จะให้มีหน่วยงานทางพระการรับรองนั้น
    ซึ่งหน่วยงานทางพระนั้นไม่สามารถรับรองได้
    เพราะไม่มีอำนาจและหน้าที่อะไรครับ
    ที่คือเหตุในอดีตที่ผ่านมา
    หากท่านพิจารณาดีๆ จะพบว่า
    ตำราขาดความน่าเชื่อถือตั้งแต่ต้นแล้วครับ


    แต่ปัจจุบันนอกจาก ไม่มีการปรับปรุงตรงนี้
    ก็ยังมีการอวดอ้างสรรพคุณของตำรา
    เชิงยกว่าของตนวิเศษ ดีกว่าพระไตรปิฏก
    และเรื่องพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่างๆ
    อีกหลายๆเรื่องครับ ฯลฯ


    ปล.หวังจะเข้าใจอะไรนะครับ
    สำหรับบางท่าน และหากว่าอนาคตอันใกล้นี้
    นาย เราโตมาคนและแบบ
    สัญญาจะเริ่มวิปลาส และดูขาดตรรกะ
    แล้วเพี้ยนๆ นิสัยแปลกๆ
    ข้าพเจ้าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆทั้งสิ้นนะครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...