สมาธิในบ้านทุกท่านทำได้จริง

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย บดินทร์จ้า, 17 มิถุนายน 2008.

  1. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    [FONT=&quot]ถ่ายทอดประสบการณ์ข้าพเจ้าและเรียบเรียงใหม่ เพื่อเป็นธรรมทาน[/FONT]
    (
    [FONT=&quot]ขอนอบน้อมก้มกราบองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น พระธรรมเจ้า พระสังฆเจ้า[/FONT][FONT=&quot]พระปัจเจกเจ้า พระโพธิสัตว์เจ้า พระอรหันต์เจ้า ครูบาอาจารย์ ทุกๆรูป[/FONT][FONT=&quot]ที่มรณะภาพไปแล้ว และ พรหม เทพ เทวดา ทุกชั้นฟ้า[/FONT][FONT=&quot]นะต่อจากนี้ข้าพเจ้าจะถ่ายทอดประสบการณ์ของข้าพเจ้า[/FONT][FONT=&quot]เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ธรรมอันใดที่ข้าพเจ้าเข้าถึงแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ขอท่านทั้งหลายที่ได้อ่านทุกท่าน ได้เข้าถึงธรรมเหล่านี้ด้วยเถิด สาธุ)[/FONT]
    [FONT=&quot]เรื่องของการฝึกสมาธินั้น สามารถทำได้จริงไม่เลือกสถานที่และเวลา[/FONT] [FONT=&quot]จะทำที่วัด ที่บ้าน ที่ทำงาน ที่เงียบสงบ ที่ป่า หรือ ที่เสียงดัง ที่ตลาด[/FONT] [FONT=&quot]ไม่จำกัดแน่นอนตายตัว ขอเพียงแต่ท่านมีความตั้งใจจริงที่จะทำเท่านั้นครับ[/FONT]
    [FONT=&quot]สิ่ง[/FONT][FONT=&quot]ที่ท่านจะได้อ่านต่อไปนี้ เป็นเรื่องการปฎิบัติตลอดระยะ[/FONT]4 [FONT=&quot]ปีของข้าพเจ้า[/FONT][FONT=&quot]โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่การปฎิบัติสมาธิ จากวัดสู่บ้าน[/FONT][FONT=&quot]สำหรับท่านทั้งหลายที่ไม่มีปัจจัยและเวลา ในการไปปฎิบัติธรรมถือศีลที่วัด[/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้เป็นการอวดอ้างตัวเพื่อหาประโยชน์ใดๆ[/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้เป็นการลบหลู่ครูบาอาจารณ์ เป็นไปเพื่อสาธารณะประโยชน์[/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้ยกยอตัวเองว่าเป็นผู้มี อภิณญากรรมฐาน[/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้มีอิทธิอำนาจเหนือคนทั่วไป[/FONT]
    [FONT=&quot]และ ข้าพเจ้าเข้าใจอุปกิเลส [/FONT]16[FONT=&quot]และวิปัสสนูปกิเลส 10 เป็นอย่างดี ตลอดระยะเวลา [/FONT]4 [FONT=&quot]ปี ฝึกทำสมาธิเพราะความตั้งใจจริงอยู่ที่บ้านโดยลำพัง[/FONT][FONT=&quot]มี[/FONT][FONT=&quot]ครูบาอาจารย์ที่เมตตาสั่งสอนข้าพเจ้ามาโดยตลอด ระยะเวลา [/FONT]4 [FONT=&quot]ปี[/FONT][FONT=&quot]ทั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ พระปัจเจกเจ้า พระโพธิสัตว์เจ้า[/FONT][FONT=&quot]พระอรหันต์เจ้า[/FONT][FONT=&quot]และ องค์พรหม เทพ เทวดา[/FONT] [FONT=&quot] ซึ่งข้าพเจ้ามีความตั้งใจเดิมอยู่แล้วว่าจะพิมพ์เรื่องสมาธิที่บ้าน[/FONT] [FONT=&quot]ให้ผู้สนใจทุกท่าน ได้รับทราบการปฎิบัติ ของข้าพเจ้า[/FONT] [FONT=&quot]เผื่อท่านใดจะมีประสบการณ์ คล้ายๆกัน จะได้ผ่านขั้นตอนการปฏิบัติ[/FONT] [FONT=&quot]โดยไม่เสียเวลา ซึ่งข้าพเจ้าจะเรียบเรียงใหม่และถ่ายทอดประสบการณ์[/FONT] [FONT=&quot]ให้เป็นสมบัติของทุกๆคน แต่ห้ามทำใดๆในด้านธุรกิจการค้า[/FONT]

    พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)<o></o>
    พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) <o></o>
    [347] [FONT=&quot]อุปกิเลส หรือ จิตตอุปกิเลส [/FONT]16 ([FONT=&quot]ธรรมเครื่องเศร้าหมอง[/FONT], [FONT=&quot]สิ่งที่ทำให้จิตขุ่นมัว รับคุณธรรมได้ยาก ดุจผ้าเปรอะเปื้อนสกปรก[/FONT][FONT=&quot]ย้อมไม่ได้[/FONT])
    1. [FONT=&quot]อภิชฌาวิสมโลภะ (คิดเพ่งเล็งอยากได้ โลภไม่สมควร[/FONT], [FONT=&quot]โลภกล้า[/FONT] [FONT=&quot]จ้องจะเอาไม่เลือกควรไม่ควร[/FONT])
    2. [FONT=&quot]พยาบาท (คิดร้ายเขา[/FONT])
    3. [FONT=&quot]โกธะ (ความโกรธ[/FONT])
    4. [FONT=&quot]อุปนาหะ (ความผูกโกรธ[/FONT])
    5. [FONT=&quot]มักขะ (ความลบหลู่คุณท่าน[/FONT], [FONT=&quot]ความหลู่ความดีของผู้อื่น[/FONT], [FONT=&quot]การลบล้างปิดซ่อนคุณค่าความดีของผู้อื่น [/FONT])
    6. [FONT=&quot]ปลาสะ (ความตีเสมอ[/FONT], [FONT=&quot]ยกตัวเทียมท่าน[/FONT], [FONT=&quot]เอาตัวขึ้นตั้งขวางไว้[/FONT] [FONT=&quot]ไม่ยอมยกให้ใครดีกว่าตน)[/FONT]
    7. [FONT=&quot]อิสสา (ความริษยา[/FONT])
    8. [FONT=&quot]มัจฉริยะ (ความตระหนี่[/FONT])
    9. [FONT=&quot]มายา (มารยา[/FONT])
    10. [FONT=&quot]สาเถยยะ (ความโอ้อวดหลอกเขา[/FONT], [FONT=&quot]หลอกด้วยคำโอ้อวด[/FONT])
    11. [FONT=&quot]ถัมภะ (ความหัวดื้อ[/FONT], [FONT=&quot]กระด้าง[/FONT])
    12. [FONT=&quot]สารัมภะ (ความแข่งดี[/FONT], [FONT=&quot]ไม่ยอมลดละ มุ่งแต่จะเอาชนะกัน[/FONT])
    13. [FONT=&quot]มานะ (ความถือตัว[/FONT], [FONT=&quot]ทะนงตน[/FONT])
    14. [FONT=&quot]อติมานะ (ความถือตัวว่ายิ่งกว่าเขา[/FONT], [FONT=&quot]ดูหมิ่นเขา[/FONT])
    15. [FONT=&quot]มทะ (ความมัวเมา[/FONT])
    16. [FONT=&quot]ปมาทะ (ความประมาท[/FONT], [FONT=&quot]ละเลย[/FONT], [FONT=&quot]เลินเล่อ[/FONT])<o></o>
    [FONT=&quot][328] [/FONT][FONT=&quot]วิปัสสนูปกิเลส [/FONT][FONT=&quot]10 ([/FONT][FONT=&quot]อุปกิเลสแห่งวิปัสสนา[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ธรรมารมณ์ที่เกิดแก่ผู้ได้ตรุณวิปัสสนา หรือวิปัสสนาอ่อนๆ[/FONT][FONT=&quot]ทำให้เข้าใจผิดว่าตนบรรลุมรรคผลแล้ว[/FONT][FONT=&quot]เป็นเหตุขัดขวางให้ไม่ก้าวหน้าต่อไปในวิปัสสนาญาณ[/FONT][FONT=&quot])
    1. [/FONT][FONT=&quot]โอภาส (แสงสว่าง[/FONT][FONT=&quot])
    2. [/FONT][FONT=&quot]ญาณ (ความหยั่งรู้[/FONT][FONT=&quot])
    3. [/FONT][FONT=&quot]ปีติ (ความอิ่มใจ[/FONT][FONT=&quot])
    4. [/FONT][FONT=&quot]ปัสสัทธิ (ความสงบเย็น[/FONT][FONT=&quot])
    5. [/FONT][FONT=&quot]สุข (ความสุขสบายใจ[/FONT][FONT=&quot])
    6. [/FONT][FONT=&quot]อธิโมกข์ (ความน้อมใจเชื่อ[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ศรัทธาแก่กล้า[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ความปลงใจ [/FONT][FONT=&quot])
    7. [/FONT][FONT=&quot]ปัคคาหะ (ความเพียรที่พอดี[/FONT][FONT=&quot])
    8. [/FONT][FONT=&quot]อุปัฏฐาน (สติแก่กล้า[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]สติชัด[/FONT][FONT=&quot])
    9. [/FONT][FONT=&quot]อุเบกขา (ความมีจิตเป็นกลาง[/FONT][FONT=&quot])
    10. [/FONT][FONT=&quot]นิกันติ (ความพอใจ[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ติดใจ[/FONT][FONT=&quot])
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    [/FONT]<link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="Edit-Time-Data" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_editdata.mso"><!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:&quot; panose-1:0 0 0 0 0 0 0 0 0 0; mso-font-alt:"Times New Roman"; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-format:eek:ther; mso-font-pitch:auto; mso-font-signature:0 0 0 0 0 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]นิกันติ[/FONT]
    [FONT=&quot]บ่วงมารอันละเมียดละไม ลำดับที่ [/FONT]10 [FONT=&quot]อันเป็นบ่วงสุดท้าย ซึ่งชื่อว่า[/FONT][FONT=&quot]นิกันติ นั้น ได้แก่ วิปัสสนานิกันติ กล่าวคือ ความไคร่ ความต้องการ[/FONT][FONT=&quot]ความยินดี ความติดใจ ความชอบใจ ในคุณวิเศษทั้ง [/FONT]9 [FONT=&quot]ประการ ตั้งแต่โอภาส[/FONT][FONT=&quot]จนถึงอุเบกขา ตามที่กล่าวมาแล้วนั้น[/FONT]
    [FONT=&quot]ท่านผู้มีปัญญาทั้งหลาย บ่วงมารอันละเมียดละไม กล่าวคือ วิปัสนูกิเลส[/FONT][FONT=&quot]มีอยู่ ทั้งหมด [/FONT]10 [FONT=&quot]ประการด้วยกัน แต่ว่า[/FONT][FONT=&quot]เพื่อความเรืองปัญญาและเพื่อความเข้าใจดี ในเรื่องวิปัสสนูปกิเลสนี้ยิ่ง[/FONT][FONT=&quot]ขึ้นไป จึงจะขอบรรยายเพิ่มเติมอีก[/FONT][FONT=&quot]หวังว่าผู้มีปัญญาทั้งหลายคงจะให้โอกาสด้วยดี[/FONT]
    [FONT=&quot]ก็วิปัสปนูปกิเลสทั้งปวงตั้งแต่ โอภาสเป็นอาทิ จนถึง อุเบกขาเป็นปริโยสาร[/FONT][FONT=&quot]รวมเป็นวิปัสสนูปกิเลส [/FONT]9 [FONT=&quot]ประการนี้ เมื่อกล่าวโดยสภาพธรรมที่เป็นจริงแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ไม่ได้เป็นอกุศล คือ ไม่ได้เป็นกิเลสร้ายอะไรเลย[/FONT][FONT=&quot]โดยที่แท้เป็นตัวกุศลธรรมฝ่ายข้างดี[/FONT][FONT=&quot]แต่ต้องเสียชื่อกลายเป็นวิปัสสนูปกิเลส หรือ เป็นอุปกิเลสในวิปัสสนาไป[/FONT][FONT=&quot]ก็เพราะเป็นที่อาศัยของกิเลสร้ายทั้ง [/FONT]3 [FONT=&quot]ตัว คือ ตัณหา ๑ มานะ๑ ทิฐิ ๑[/FONT][FONT=&quot]แต่วิปัสสนูปกิเลสลำดับที่ ๑๐ กล่าวคือ นิกันติวิปัสสนูปกิเลสนั้นสิ[/FONT][FONT=&quot]เป็นอกุศลธรรมชั่วร้ายอย่างแท้จริง คือเป็นทั้งตัวอกุศล[/FONT][FONT=&quot]เป็นทั้งตัวอุปกิเลสด้วย[/FONT]
    [FONT=&quot]หมายความว่าอย่างไร[/FONT][FONT=&quot]ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น[/FONT][FONT=&quot]หมายความว่าอย่างไร[/FONT][FONT=&quot]อธิบายให้ชัดเจนกว่านี้[/FONT][FONT=&quot]จะได้หรือไม่[/FONT]
    [FONT=&quot]หมาย[/FONT][FONT=&quot]ความว่า ธรรมวิเศษทั้งหลายเหล่านี้คือ โอภาส ญาณ ปีติ ปัสสัทธิ สุข[/FONT][FONT=&quot]อธิโมกข์ ปัคคาหะ อุปัฏฐานะ อุเบกขา รวม [/FONT]9 [FONT=&quot]ประการนี้ เป็นกุศลธรรม คือ[/FONT][FONT=&quot]เป็นธรรมที่ดีแท้นะซี ก็จะไม่ดีอย่างไรเล่า ด้วยว่า กว่าธรรมวิเศษเหล่านี้[/FONT][FONT=&quot]จะอุบัติมีขึ้นในดวงใจของบุคคลทั้งหลายได้นั้น เป็นการยากแสนยากหนักหนา[/FONT][FONT=&quot]ต้องอุตสาห์พากเพียรบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐาณ ผ่านญาณอะไรต่อมิอะไรเรื่อยมา[/FONT][FONT=&quot]ครั้นเกิดขึ้นแล้วกลับต้องมากลายเป็นวิปัสสนูปกิเลสไป[/FONT][FONT=&quot]ก็เพราะอกุศลธรรม[/FONT] 3 [FONT=&quot]ประการ[/FONT][FONT=&quot]คือ[/FONT][FONT=&quot]ตัณหา[/FONT][FONT=&quot]มานะ[/FONT][FONT=&quot]ทิฐิ[/FONT][FONT=&quot]นั่นเหละ[/FONT][FONT=&quot]คอยพากันมาแทรกผสมอยู่ด้วยกัน[/FONT][FONT=&quot]ยกตัวอย่างเช่น[/FONT][FONT=&quot]เมื่อโอภาสอุบัติขึ้น[/FONT][FONT=&quot]เจ้าอกุศลธรรมนามว่า[/FONT][FONT=&quot]ทิฐิ[/FONT][FONT=&quot]ก็จะมาแทรกกระซิบว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]โอ้[/FONT][FONT=&quot]หน่อ ธรรมวิเศษเกิดขึ้นแก่เราแล้ว นั่นเห็นไหม โอภาส ดวงกลมโตสุกใส[/FONT][FONT=&quot]มีรัศมีสวยงามยิ่งกว่าพรอาทิตย์พระจันทร์ นั่นยังไง นั่นแลคือ[/FONT][FONT=&quot]ดวงมรรคดวงผล และดวงนิพพาน อโห เราเห็นพระนิพพานแล้ว[/FONT][FONT=&quot]เราได้ธรรมวิเศษแล้วโดยไม่ต้องสงสัย[/FONT][FONT=&quot]ดีเหมือนกันจะได้เลิกบำเพ็ญกรรมฐานเสียที[/FONT]
    [FONT=&quot]คราทีนั้น[/FONT][FONT=&quot]เจ้าอกุศลธรรมนาม ว่ามานะ[/FONT][FONT=&quot]ก็จะเข้าแทรกผสม[/FONT][FONT=&quot]พลอยยุยงส่งเสริมให้หนักเข้าไปอีก[/FONT]
    [FONT=&quot]เออ[/FONT][FONT=&quot]ใช่แล้ว นั่นแลเป็นธรรมวิเศษละ เป็นธรรมวิเศษจริงๆ น้อยคนนักที่จะมีจักษุ[/FONT][FONT=&quot]บังเกิดเห็นดวงธรรมนี้ เป็นบุญบารมีของเราเองแท้ๆทีเดียว[/FONT][FONT=&quot]นั่งสมาธิทำกรรมฐาณไม่นานเท่าใดก็ได้ธรรมวิเศษแล้ว ใครเล่าจะเหมือนเรา[/FONT]
    [FONT=&quot]เท่านั้นยังไม่พอที[/FONT][FONT=&quot]ด้วยว่ายังมี[/FONT][FONT=&quot]เจ้าอกุศลธรรมอันมีนามว่าตัณหา[/FONT][FONT=&quot]เข้ามาผสมแทรกอีก[/FONT][FONT=&quot]ทำให้มีจินตนาการไปตามนัยที่ว่า[/FONT]
    [FONT=&quot]โอ้[/FONT][FONT=&quot]หน่อ ดวงกลมโตคือโอภาสนี้ประเสริฐนัก เป็นดวงมรรคดวงผลในพุทธศาสนา[/FONT][FONT=&quot]ต่อไปนี้ เมื่อเรานั่งสมาธิหลับตาลงคราใด ขอให้โอภาสดวงมรรคนี้[/FONT][FONT=&quot]จงปรากฏมีตลอดกาลเถิด[/FONT]
    [FONT=&quot]โดยพฤติกรรมอันเป็นไปในทำนองดังกล่าวนี้ จึงทำให้โอภาส ซึ้งตามธรรมดาเป็น[/FONT][FONT=&quot]ธรรมที่ดีคือ เป็นกุศลธรรมแท้ๆกลับต้องมาเสียชื่อเสียงเป็นวิปัสสนูกิเลส[/FONT][FONT=&quot]อันเป็นธรรมฝ่ายชั่วร้ายไปชั่วคราว[/FONT]
    [FONT=&quot]ธรรม[/FONT][FONT=&quot]วิเศษทั้งหลาย อันมีโอภาสเป็นอาทิ และ มีอุเบกขาเป็นปริโยสาน[/FONT][FONT=&quot]ก็ย่อมเป็นเช่นนั้นเหมือนกัน กล่าวคือ โดยสภาพธรรมที่แท้จริงแล้ว[/FONT][FONT=&quot]ธรรมวิเศษเหล่านั้นเป็นกุศลธรรม เป็นธรรมดีวิเศษแท้ๆ[/FONT][FONT=&quot]แต่ที่ต้องมาพลายเสียชื่อ ถูกเขาลือกันไปทั้งโลกาว่าเป็นวิปัสสนูปกิเลส[/FONT][FONT=&quot]ก็เพราะ ตัณหา มานะ ทิฐิ เป็นตัวก่อเหตุแท้ๆ[/FONT]
    [FONT=&quot]ต่อเมื่อผ่านอุทยัพพยญาณไปแล้ว ซึ่งนั่นก็หมายความว่า เจ้าตัณหา มานะ ทิฐิ[/FONT][FONT=&quot]ได้พากันจากไปหมดสิ้น ธรรมวิเศษ เหล่านี้ก็หมดมลทิน กลับเป็นตนของตน[/FONT][FONT=&quot]คือเป็นกุศลธรรม ทรงไว้ซึ่งสภาพธรรม อันเป็นธรรมฝ่ายดีตามเดิม[/FONT][FONT=&quot]และจะกลับดีวิเศษยิ่งขึ้นไปด้วนซ้ำ เพราะอะไร[/FONT][FONT=&quot]เพราะธรรมเหล่านี้นับเนื่องเข้าไปในโพชฌงค์ องค์ธรรม[/FONT][FONT=&quot]เป็นเครื่องตรัสรู้โน่นแน่ะ ดังนั้น ธรรมเหล่านี้ จึงเป็นแนวทาง คือ[/FONT][FONT=&quot]เป็นองคคุณ บันดาลให้ได้บรรลุมรรคผลอย่างสำคัญ[/FONT][FONT=&quot]มรรคผลจะเกิดขึ้นได้ในโอกาสต่อไปนั้น[/FONT][FONT=&quot]ก็ต้องอาศัยธรรมที่กำลังเสียชื่อโดนถูกเรียกว่า วิปัสสนูปกิเลส[/FONT][FONT=&quot]นี่แลเป็นหลักสำคัญทีเดียว[/FONT]
    [FONT=&quot]เมื่อท่านผู้มีปัญญาธรรมทั้งหลาย[/FONT][FONT=&quot]รู้เท่าทัน[/FONT][FONT=&quot]เจ้า ตัณหา[/FONT][FONT=&quot]มานะ[/FONT][FONT=&quot]ทิฐิ[/FONT][FONT=&quot]แล้ว[/FONT][FONT=&quot]โอกาศที่ท่านทั้งหลายบรรลุมรรคผลนั้นมีสูงมาก[/FONT]<!--[if gte vml 1]><v:shapetype id="_x0000_t75" coordsize="21600,21600" o:spt="75" o:preferrelative="t" path="m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe" filled="f" stroked="f"> <v:stroke joinstyle="miter"/> <v:formulas> <v:f eqn="if lineDrawn pixelLineWidth 0"/> <v:f eqn="sum @0 1 0"/> <v:f eqn="sum 0 0 @1"/> <v:f eqn="prod @2 1 2"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="prod @3 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @0 0 1"/> <v:f eqn="prod @6 1 2"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelWidth"/> <v:f eqn="sum @8 21600 0"/> <v:f eqn="prod @7 21600 pixelHeight"/> <v:f eqn="sum @10 21600 0"/> </v:formulas> <v:path o:extrusionok="f" gradientshapeok="t" o:connecttype="rect"/> <o:lock v:ext="edit" aspectratio="t"/> </v:shapetype><v:shape id="_x0000_i1025" type="#_x0000_t75" alt="" style='width:12pt; height:12pt'> <v:imagedata src="file:///C:\DOCUME~1\A14B~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://palungjit.org/images/icons/icon10.gif"/> </v:shape><![endif]--><!--[if !vml]-->
    [​IMG]
    ;aa37;aa26;aa8
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มีนาคม 2010
  2. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    สำหรับอานาปานุสติกรรมฐาน เราเริ่มทำใหม่ๆ รู้สึกจะเป็นของยากไปนิด คำว่ายากคือกำลังใจของเรายังไม่เข้มแข็งพอ อารมณ์ของเราหยาบมาก่อน อาศัยที่เราไม่ได้ใช้สติสัมปชัญญะควบคุมกำลังใจ อารมณ์ใจมันเชื่องกับความคิดที่ไม่มีขอบเขต ตอนนี้ ในเมื่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แนะนำให้เราใช้ อานาปานุสติกรรมฐาน ก็เพื่อป้องกันยับยั้ง หรือว่าประหัตประหาร อารมณ์ฟุ้งซ่านของจิต ดังนั้นท่านจะเจริญกรรมฐานกองใดก็ตาม จะภาวนากองไหนก็ตาม หรือว่าจะเจริญวิปัสสนากองใดก็ตาม เป็นอันว่าส่วนนั้นๆกรรมฐานกองนั้นๆจะเว้นอานาปานุสติกรรมฐานไม่ได้
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]การที่จะปฏิบัติให้มีผลจริงๆนั้นก็คือ ต้องมีอารมณ์สำรวมอยู่เสมอ คำว่าสำรวมก็ได้แก่การระมัดระวังคือ[/FONT][FONT=&quot]
    1.[/FONT]
    [FONT=&quot]ระวังศีลอย่าให้บกพร่อง[/FONT][FONT=&quot](ศีล ๕ และ กุศลกรรมบถ ๑๐[/FONT][FONT=&quot]ซึ่งเป็นธรรมเครื่องขัดเกลากิเลส)[/FONT][FONT=&quot]
    2.[/FONT]
    [FONT=&quot]ระวังสมาธิอย่าให้เคลื่อน[/FONT][FONT=&quot](รูปฌาน 4 และ อรูปฌาน 4 หรือ เรียกว่า ฌาน 8 เป็นสมาธิ)[/FONT][FONT=&quot]
    3.[/FONT]
    [FONT=&quot]ระวังปัญญาอย่าให้ใช้ในด้านอกุศล[/FONT][FONT=&quot](วิปัสสนากรรมฐาน เพื่อมุ่งดับอาสวะกิเลสหรืออวิชา ซึ่งมีเหตุปัจจัยที่เกิดจากสังขารการปรุงแต่ง))[/FONT]
    (kiss)[FONT=&quot]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]--><!--[endif]-->[/FONT]

    นอกจากนี้แล้วกำลังใจเป็นสิ่งสำคัญ ควรปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่าง
    ไม่ว่าเรื่องการงานที่ทำอยู่ การเงิน ความรัก ความโลภ ความโกรธ ความหลง
    อาบน้ำ สวดมนต์ ให้เรียบร้อย
    ประสบการณ์ที่ 1 นอน ภาวนา "พุธโธ"
    ในคืนวันหนึ่งนอนไม่ค่อยจะหลับ ไม่รู้จะทำอย่างไรดี ก็เลยนอนนับลมหายใจเล่นๆ กะว่าซัก 108 จบ นับไปนับมา ลมหายใจเริ่มแผ่วเบาลงไปเรื่อยๆ หูก็เริ่มเบาลงเรื่อยๆ ความรู้สึกตอนนั้น รู้สึกว่าร่างกายของเราหนักมาก ทุกๆจุดที่สัมผัส บริเวณที่นอน สามารถรู้ได้ว่าที่นอนของเราตรงไหน ยุบลง ตรงไหนเอียง จะยกมือขึ้นมาก็รู้สึกจะหนักเหมือนหิน
    หลังจากนั้นหูกับดับ ลมหายใจก็เบา องค์ภาวนาก็หาย รู้สึกสบายอย่างไม่เคยพบเจอมาก่อน ในชีวิต นี่คือประสบการณ์ครั้งแรกของผู้เขียน

    ประสบการณ์ที่ 2 เริ่มสนใจการปฏิบัติสมาธิ

    1.ชอบทำบุญทำทานมากขึ้น
    2.เริ่มถือศีล 5 อย่างเคร่งครัด
    3.สวดมนต์ไหว้พระที่บ้านทุกวัน
    4.ฝึกนั่งสมาธิ โดยสวดบท อิติปิโส เท่าอายุ ประมาณ 1 เดือน
    สรุปง่ายๆคือ ทาน ศีล ภาวนา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 มิถุนายน 2009
  3. ธรรมะชาติ

    ธรรมะชาติ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 เมษายน 2008
    โพสต์:
    191
    ค่าพลัง:
    +64
    ศีล5ไม่บกพร่อง.....สมาธิจับดูการประพฤติศีลตลอดเวลา..........ปัญญาเกิด...........สามารถ..รู้ได้ทุกสิ่ง...เหนือทุกสิ่ง.....รู้จักตนเอง..ชนะตัวเอง....เห็นธรรม....ใครเห็น..พระพุทธเจ้า...พระอริยะ..คนนั้น..กำลังเข้าสู่กระแสพระนิพพาน.....รู้ได้เฉพาะตน................ ทำได้อย่างนี้แล้วถือว่าเป็น สงฆ์....ถือผ้าเหลืองไว้...ผืนเล็กๆ..ก็ได้..จะดีมากขึ้น...
     
  4. ผู้หญิงธรรมดา

    ผู้หญิงธรรมดา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 มกราคม 2008
    โพสต์:
    1,122
    ค่าพลัง:
    +535
    นำเสนอต่อด้วยค่ะ กำลังสนใจจ้า
     
  5. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    คำสอนหลวงปู่ฤาษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง
    ว่าด้วยการกำเนิดรู้ลมหายใจเข้าออกอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะ นั่ง ยืน เดิน นอน และเมื่อบรรดาท่านทั้งหลาย กำเนิดรู้ลมหายใจเข้าออกอยู่อย่างนี้ เป็นปกติ อะไรที่ไหนมันจะเกิดขึ้น สิ่งที่มันจะเกิดขึ้นก็คือ ฌานสมาบัติ อย่างเลวที่สุดเพียง 1 เดือน ทุกท่านจะทรงฌาน 4 ได้หมด
    <o></o>ขั้นตอนการปฏิบัติสมาธิจากประสบการณ์จริงมีดังนี้ครับ<o></o>

    1.ให้ท่านกล่าวคำอาราธนาขอศีล 5 จากองค์พระพุทธ ที่ท่านบูชาอยู่
    2.หลังจากที่ท่านพร้อมที่จะฝึกสมาธิ กันแล้ว ให้ทำสมาธิแบบไหนก็ได้ครับ ไม่ว่าจะ นั่ง ยืน เดิน หรือ นอน ตามแต่สะดวก แล้วหลับตาอธิฐานจิต แล้วว่าตามดังนี้ครับ<o></o>
    บัดนี้ ข้าพเจ้า นายหรือนาง ขอปฏิบัติสมาธิภาวนากรรมฐาน ขออำนาจคุณ<st1>พระศรีรัตนตรัย อันมี</st1> พระพุทธพระธรรม พระสงฆ์ และครูบาอาจารย์ สายพระกรรมฐาน<o></o>ทุกรูป ทั้งที่ยังอยู่และที่มรณภาพไปแล้วขอท่านได้โปรดเมตตาดูแล ลูกหลานในการปฏิบัติสมาธิภาวนากรรมฐานให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยเทอญ<o></o>
    (หมายเหตุ ถ้าท่านมีพระที่ท่านนับถืออยู่ในใจแล้ว ให้เอ๋ยชื่อท่านก็ได้ครับ หรือมีคำอธิฐานเดิมอยู่แล้วก็ได้ครับ เพราะเป็นกำลังใจเหมือนกัน)<o></o>
    จากนั้นก็เริ่มทำสมาธิตามแต่ถนัด ถ้าเป็นผู้ฝึกใหม่ ให้นับลมหายใจก่อน เช่น หายใจเข้า พุธ หายใจออก โธ นับเป็น 1 ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึงที่ตั้งใจไว้ สำหรับส่วนตัวข้าพเจ้า แรกๆจะนับ 1-108 ก็จะได้ประมาณ 20 นาที นับ 3 รอบ เท่ากับ 1ชั่วโมงพอดี อันนี้เรื่องเวลาไม่แน่นอนครับ บางท่านหายใจเข้าออกเร็วหรือ ช้า ไม่เหมือนกัน ไม่ได้บังคับ
    <meta http-equiv="Content-Type" content="text/html; charset=utf-8"><meta name="ProgId" content="Word.Document"><meta name="Generator" content="Microsoft Word 11"><meta name="Originator" content="Microsoft Word 11"><link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]การนับลมหายใจจะใช้สำหรับผู้ปฏิบัติใหม่ครับ เมื่อมีความชำนาญแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องนับก็ได้[/FONT][FONT=&quot]<o:p></o:p>[/FONT]
    <o></o>ถ้าหากถามว่าทำไมต้องนับลมหายใจด้วย ?<o></o>
    คำตอบก็คือ
    1.เป็นการฝึกซ้อมเวลาในการทำสมาธิ เป็นการบังคับตัวเอง ว่าวันนี้จะนับ ถึงไหน
    ไม่ใช่นึกจะนั่งสมาธิก็นั่ง นึกจะเลิกก็เลิก
    2.เพื่อที่ ท่านจะได้เปลี่ยนท่าทางการทำสมาธิ จากนั่งเป็นยืน จากยืนเป็นเดิน จากเดินเป็นนอน เป็นต้นครับ และ อีกอย่างท่านจะได้ไม่หลับในสมาธิครับ รวมทั้งสามารถแก้อาการง่วง หาวได้ครับ
    3.เป็นการบังคับจิตไม่ไห้ไปคิดสิ่งอื่นใดนอกเหนือจากลมหายใจและองค์ภาวนาครับ เมื่อท่านนับผิดก็ให้ไปเริ่มต้นใหม่นะ ครับ ทำอย่างนี้ทุกคืน ซัก 1 เดือน พยายามทำให้ได้นานเท่าที่จะทำได้นะครับ อย่าบังคับตนเองจนเกินไป ค่อยๆไปโดยธรรมชาติ
    <o></o>
    ข้อบังคับห้ามนะครับในขั้นนี้
    จงอย่าสนใจกับสิ่งที่พบเห็นทางสมาธิขณะหลับตา หรือ หูที่ได้ยิน เราต้องการทำสมาธิในขั้นนี้เพื่อความสงบและฝึกเวลาของจิตเท่านั้น
    สิ่งอื่นใดเราจะไม่สนใจ จะไม่อยากรู้ จะไม่อยากเห็น จะไม่สนใจ<o></o>
    เมื่อท่านเริ่มเคยชินกันแล้วกับสมาธิในขั้นนี้ ขอให้ท่านกำเนิดลมหายใจทุกครั้งหลังจากที่จะทำอะไรก็ตาม ในวันต่อไป ระลึกไว้อยู่เสมอ นึกไม่ออกบ้างช่างมัน แต่พอนึกได้ ก็นับต่อไป แรกๆจะยากหน่อย นานๆเข้าจะชินไปเองครับ <o></o>
    (good)<o></o>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 มิถุนายน 2009
  6. oomsin2515

    oomsin2515 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    2,934
    ค่าพลัง:
    +3,393
    กุศลผลบุญใด ๆ ก็ตามที่ข้าพเจ้าได้ทำมาแล้ว ตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบันนี้ ข้าพเจ้าขออุทิศให้<O:p</O:p


     
  7. อวยชัย จิรชัยธร

    อวยชัย จิรชัยธร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    235
    ค่าพลัง:
    +662
    ถึงคุณ บดินทร์จ้า
    เนื้อหาของคุณน่าสนใจมากครับ
    ผมกำลังติดตามอยู่ถ้าเป็นไปได้
    อยากจะให้ Post ลงเน็ตอย่างต่อเนื่อง เผื่อว่า
    คนอื่นที่กำลังสนใจอยู่จะได้รับอานิสงค์นี้ด้วย
    อนุโมทนาบุญครับ
     
  8. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ประสบการณ์ที่ 3 ทำองค์ภาวนาให้มีอยู่ทุกเวลา
    1.การกำเนิดลมหายใจเข้าออก ท่านทั้งหลายจะใช้องค์ภาวนาแบบไหนก็ได้ บทไหนก็ได้ เพียงขอให้ระลึกรู้อยู่กับลมหายใจอยู่เสมอ ทุกเวลา ทุกอริยาบถ จะลืมตาหรือหลับตาก็ได้ไม่สำคัญ สำคัญรู้ว่าตอนนี้หายใจเข้า หรือ หายใจออก อยู่ ซึ่งเป็นการยึดจิตให้นิ่งก่อน และให้อยู่ตรงที่ ตรงทางของมัน แรกๆก็จะยากครับ แต่ทำบ่อยๆจะเคยชินไปเอง ลองทำดูซัก 1 สัปดาห์เป็นอย่างต่ำครับ<o></o>
    เมื่อท่านมีความคล่องแล้ว ท่านจะพบว่าองค์ภาวนาจะเกิดโดยอัตโนมัติ เมื่อท่านหยุดคิดเรื่องการงาน ถ้าจะเปรียบ หากมีใครชมว่าท่านดี ท่านก็ยืดอกโดยอัตโนมัติ ยิ้มโดยอัตโนมัติ หากใครด่าหน่อยก็จะการโต้ตอบทันที โดยอัตโนมัติ ใช่ไหมครับ ดูแล้วเหมือนจะยาก แต่ที่จริงง่ายมาก ลองทำดูครับ
    2.การหายใจนั้น ขอให้ทุกท่านที่จะปฏิบัติตาม อย่าไปกลั้นลมหายใจเด็ดขาด ควรเป็นแบบปกติ นะครับ เพราะถ้าหากท่านกลั้นลมหายใจ ท่านจะมึนหัวครับ บางคนอาจจะเป็นลมได้ หรือนั่งได้ไม่นานรู้สึกอึดดัด เวลานอนก็หายใจให้แบบปกติ เพียงแต่เพิ่มการนับไปด้วยแค่นั้น เองครับ
    หากจะถามว่าเพราะเหตุใด หากกลั้นลมหายใจ จึงมีอาการเหล่านี้ ? ก็ขอตอบว่าอากาศไม่เพียงพอต่อความต้องการในร่างกาย บางท่านตัวใหญ่ต้องหายใจให้มาก หากกลั้นหายใจ ก็มีอาการอย่างที่กล่าวครับ
    ท่านทั้งหลาย หนังละครเพิ่งจะเริ่มเล่น ท่านอย่าเพิ่งด่วนสรุปว่าตอนจบจะเป็นเช่นไร บทความธรรม ก็เช่นกัน ท่านไม่สามารถสรุปได้ภายในวันเดียว อย่าเพิ่งสับสนใดๆเลย
    <o></o>

    เพราะความสับสนหรือด่วนสรุปเร็วเกินไป ทำให้ท่านทั้งหลาย หลงเดินทางผิด ไปทางอวิชาก็ มีมากอยู่ ท่านทั้งหลาย ท่านเคยได้อ่านสิ่งเหล่านี้หรือไม่ ทางโลกเรียนออกจากตัว ทางธรรมเรียนเข้าหาตัว ในทางโลกก็มีหลายชั้นเรียน ทางธรรมก็มีหลายชั้นเรียน ถ้าท่านเรียนจบแค่ชั้นใดชั้นหนึ่งแล้วภูมิรู้ของท่านก็จะจบลงแค่นั้น ธรรมมะนั้นมีมากมายนัก หรือจะยกตัวอย่างง่ายๆเด็กสมัยนี้เป็นอย่างไร พวกเขาเป็นเด็กในสายตาของผู้ใหญ่ แต่เขาสามารถเรียนรู้เทคโนโลยีที่ทันสมัย กว่าเราเสียอีก ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจว่าผู้เขียน มาเล่น net เพื่ออะไร เพื่อความรู้ที่กว้างออกไปไม่รู้จบ ความรู้ไม่ได้จำกัด สถานที่ ธรรมมะก็ใช่ว่าจะมีได้แค่ตำราเท่านั้น ครับ........... การตั้งกระทู้ของผู้พิมพ์ก็เพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ ครับ;aa13<o></o>

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กุมภาพันธ์ 2009
  9. pawan

    pawan สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    37
    ค่าพลัง:
    +19
    ขออนุโมทนาค่ะ ติดตามมาอ่านจากกระทู้เดิม และจะนำไปปฏิบัติด้วยจ๊า
     
  10. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    สำหรับวันนี้ก็ยังคงเป็นเรื่องเดิมอีก หลายๆท่านอาจจะบ่นกันบ้างแล้ว หาว่าบ้า อันว่าการกำเนิดลมหายใจด้วยอาณาปานุสสติ นี้เป็นรากฐานที่สำคัญที่สุดแห่งสมถภาวนา เปรียบเหมือนการสร้างบ้านถ้ารากฐานไม่แข็งแรงไม่มั่นคงแล้ว บ้านก็จะทนแรงลม หรือกิเลสที่มาคอยยั่วยุไม่ได้ สุดท้ายก็จะทำให้ท่านทั้งหลาย ล้มเลิกโครงการ การสร้างบ้านไปโดยปริยาย แหมมันน่าเสียดายไม่ใช่น้อย
    คำสอนหลวงปู่ฤาษีลิงดำ แห่งวัดท่าซุง
    แม้แต่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เองก็ตรัสแก่พระสารีบุตรว่า สารีปุตตะ ดูก่อนสารีบุตร เราเองก็เป็นผู้มากไปด้วยอานาปานุสสติ กรรมฐาน คำว่า มาก ก็หมายความว่าพระพุทธเจ้าทรงกำเนิดรู้ลมหายใจเข้าออกเป็นปกติ ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าอานาปานุสสติหรือว่าการกำเนิดรู้ลมหายใจเข้าออกนี้ เป็นกรรมฐานระงับกายสังขาร คือเป็นกรรมฐานคลายอารมณ์เครียดของจิตใจและร่างกาย อาการเครียดทางร่างกายมีทุกขเวทนาเป็นต้น <o></o>
    ข้อดีแห่งกรรมฐานอาณาปานุสสตินี้จากประสบการณ์ส่วนตัว<o></o>
    1.จิตจะไม่อ่อนไหวง่ายตามสภาวะแวดล้อม จาก การรับรู้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ<o></o>
    2.รู้ข้อสงสัยแห่งความ ตาย คำๆนี้ดูน่ากลัว แต่มันก็เป็นความจริงที่ต้องเจอกันทุกคน หลีกหนีไม่ได้ แต่ถ้าเราซ้อมหรือรู้จักความตายแล้ว ท่านจะไขข้อสงสัยที่ว่า ทำไมคนที่ตายแล้วฟื้น ทำไมถึงพบเห็นอะไรมากมายในโลกใบนี้และคนที่กำลังจะตายทำไมเขาต้องเห็นภาพต่างๆมากมาย ไม่ว่ากรรมเก่า เก่าใหม่หรือบุญกุศลที่เขาทำ <o></o>
    3.หายข้อสงสัยในบทธรรมต่างๆที่ครูบาอาจารย์พยายาม อบรมสั่งสอนมนุษย์ผู้มากด้วยกิเลสที่ปิดบังทางแห่งความหลุดพ้น<o></o>
    <o></o>ขอย้ำว่าลองฝึกทำอาณาปานุสสติพื้นฐานให้เคยชินก่อน ง่ายนิดเดียว ฝึกทำให้คล่อง ลองทำดูนะครับ ไม่ว่าจะนั่ง ยืน เดิน นอน ทุกเวลาทุกสถานที่
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กุมภาพันธ์ 2009
  11. yawamon

    yawamon เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    97
    ค่าพลัง:
    +219
    รออ่านต่อค่ะ เพื่อนำส่วนที่ชอบและดีมาปรับใช้กับตนเองค่ะ เพราะว่าตัวคนเดียวไม่มีครูบาอาจารย์ ฝึกแบบผิด ๆ หย่อนยานตลอด ขอบคุณนะคะที่นำสิ่งดี ๆ จากประสบการณ์มาเล่าสู่กันฟัง ขออนุญาตร่วมอนุโมทนาบุญด้วยนะคะ
     
  12. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    มาดูคำว่า “สมาธิ” กันก่อนนะครับ<o></o>
    พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)<o></o>
    พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

    สมาธิ ความมีใจตั้งมั่น, ความตั้งมั่นแห่งจิต, การทำให้ใจสงบแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน, การมีจิตกำหนดแน่วแน่อยู่ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ
    ขณิกสมาธิ สมาธิชั่วขณะ, สมาธิขั้นต้นพอสำหรับใช้ในการเล่าเรียนทำการงานให้ได้ผลดี ให้จิตใจสงบสบายได้ พักชั่วคราว และใช้เริ่มปฏิบัติวิปัสสนาได้
    (ขั้นต่อไป คือ อุปจารสมาธิ)<o></o>

    อุปจารสมาธิ สมาธิจวนจะแน่วแน่, สมาธิที่ยังไม่ดิ่งถึงที่สุด เป็นขั้นทำให้กิเลสมีนิวรณ์เป็นต้นระงับ ก่อนจะเป็นอัปปนา คือถึงฌาน
    อัปปนาสมาธิ สมาธิแน่วแน่, จิตตั้งมั่นสนิท เป็นสมาธิในฌาน
    สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ, จิตมั่นชอบ คือสมาธิที่เจริญตามแนวของ ฌาน ๔

    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
    ก่อนเข้าใจในเรื่องสมาธิและฌาน4เรามากล่าวถึงพื้นฐานของสมาธิเสียก่อน
    ท่านจะต้องทำความรู้จักกับนิวรณ์5ก่อน
    1.กามฉันทะ ความติดใจในกาม
    2.พยาบาทความคุมแค้น
    3.ถีนมิทธะ ความท้อใจและซึมเซา
    4.อุทธัจจะกุกกุจจะความฟุ้งซ่านและรำคาญใจ
    5.วิจิกิจฉาความลังเลใจ
    ถ้ามีอย่างใดอย่างหนึ่งใจจะเสียคุณภาพอ่อนกำลังเสียปัญญาทันที
    กามคุณ5 คือ รูปเสียง กลิ่น รส และ สัมผัส
    ซึ่งเรียกว่าสัมพาธคือ สิ่งแคบ เมื่อใจไปติดพันกับสิ่งแคบก็ย่อมเกิดความคับแค้นขึ้นในใจ เหมือนอยู่ในที่แคบ ฉะนั้นเมื่อกามคุณ 5 ยังมีอำนาจเหนือใจ ยั่วให้ใจเกิดกำหนัดขัดเคืองคุมแค้นใจ ขู่ให้เกิดความท้อใจอ่อนไหว อ่อนใจ หมดหวัง หรือคำรามให้เกิดความตื่นเต้น ตกใจคิดเพ้อไปและให้เกิดรำคาญใจหงุดหงิด ปั่นให้เข้าใจผิด สองจิตสองใจ ลวนเลไม่แน่ใจจะไปทางไหนดีกามคุณ5 และกิเลสอันมีลักษณะดังกล่าวนี้ ยังมีอำนาจเหนือจิตใจอยู่เพียงไรจิตใจจะสงบเป็นฌาณ ไม่ได้ ดังนั้นท่านที่ต้องการสมาธิระดับฌานจะต้องไม่ไปสนใจหรือแวะดูสิ่งที่เห็นทางสมาธิ ภาพที่เห็นเสียงที่ได้ยินแสงสว่างที่พบเห็น สุดท้ายจะไม่มีตัวตนมีแต่ความว่างเปล่าเท่านั้นลมหายใจจะละเอียดมากจนไม่รู้ว่าหายใจอยู่

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><link rel="Edit-Time-Data" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_editdata.mso"><!--[if !mso]> <style> v\:* {behavior:url(#default#VML);} o\:* {behavior:url(#default#VML);} w\:* {behavior:url(#default#VML);} .shape {behavior:url(#default#VML);} </style> <![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]--> [FONT=&quot]มาดูคู่ต่อสู้ของ การเจริญสมาธิ[/FONT][FONT=&quot] (องค์ฌาน 5 ก่อนจะเข้าใจ ฌานทั้ง4[/FONT][FONT=&quot])[/FONT]
    [FONT=&quot](รู้ เขารู้เรา รู้จิตรู้ใจกันก่อน ก่อนที่ ท่านจะเริ่มฝึก สมาธิ รบ100 ครั้ง ชนะ 10 ครั้ง ก็ยังดี เพราะ ฌาน 4 เป็นสมบัติของนักปฏิบัติธรรมทุกคน ไม่มีอะไรน่าหวาดกลัว ถ้าเราไม่สู้ ไม่ดู ไม่อ่าน ให้เข้าใจก่อน แทนที่ท่านจะเดินหน้า กลับ ถอยหลังหรืออยู่กลับที่ เสียเวลาเปล่า สำหรับเรื่อง อำนาจทิพย์ก็แล้วแต่ชาติปางก่อนที่บุคคลใด พึงจะมีได้ ถ้ามีอำนาจทิพย์ กันทุกคน บ้านเมืองคงวุ่นวายพิลึก เพราะ ฌาน 4 เป็นแค่กดกิเลสให้เบาบางลงเท่านั้น ยังไม่สามารถถอนรากได้ทั้งหมด วิปัสสนากรรมฐาน เท่านั้น ถึงจะถอนรากได้ ครับ)[/FONT]
    [FONT=&quot]องค์ฌาน[/FONT][FONT=&quot] 5 เป็นปฏิปักษ์ กับ นิวรณ์ 5 ดังนี้[/FONT]
    [FONT=&quot]1. วิตก[/FONT]=[FONT=&quot]ความคิด เป็นปฏิปักษ์ กับถีนมิทธะ [/FONT]
    [FONT=&quot]2.วิจาร[/FONT]=[FONT=&quot]ความอ่าน เป็นปฏิปักษ์ กับวิจิกิจฉา [/FONT]
    [FONT=&quot]3.ปีติ[/FONT]=[FONT=&quot]ความชุ่มชื่น เป็นปฏิปักษ์ กับ พยาปาทะ[/FONT]
    [FONT=&quot]4.สุข[/FONT]=[FONT=&quot] ความสบาย เป็นปฏิปักษ์กับ อุทธัจจ กุกกุจจะ[/FONT]
    [FONT=&quot]5.เอกัคคตา[/FONT]= [FONT=&quot]ความเป็นหนึ่ง เป็นปฏิปักษ์ กับ กามฉันทะ[/FONT]
    [FONT=&quot]ทั้งนี้ท่านได้อธิบายไว้ว่า[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]วิตก[/FONT][FONT=&quot]=[/FONT][FONT=&quot]ความคิด[/FONT][FONT=&quot] ย่อมมีลักษณะจิตขึ้นสู่อารมณ์ และเคล้าคลึงอารมณ์นั้น ซึ่งตรงข้ามกลับ[/FONT][FONT=&quot]ถีนมิทธะ[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งมีลักษณะหดหู่ท้อถอย ซึมเซา ปล่อยอารมณ์ไม่อยากคิดอะไร หากวิตกชนะถีนมิทธะ ครองความเป็นใหญ่ในจิต จะไม่ง่วงซึม[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]วิจาร[/FONT][FONT=&quot]=[/FONT][FONT=&quot]ความอ่าน[/FONT][FONT=&quot] มีลักษณะตรวจตราพินิจพิจารณาเหตุผล และข้อเท็จจริงให้ได้รับความแน่ชัด ย่อมเป็นลักษณะตรงกันข้ามกับ [/FONT][FONT=&quot]วิจิกิจฉ[/FONT][FONT=&quot]า ซึ่งมีลักษณะสงสัยไม่แน่ใจในเหตุผลหรืข้อเท็จจริงนั้นๆ หากวิจารชนะวิจิกิจฉา ครองความเป็นใหญ่ในจิต ข้อนี้มองเห็นง่าย เราสงสัยในเรื่องใดเราก็พิจารณาเรื่องนั้นอย่างเอาจริงเอาจัง เราก็สิ้นสงสัยทันที[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ปีติ [/FONT][FONT=&quot]= [/FONT][FONT=&quot]ความชุ่มชื่น[/FONT][FONT=&quot] มีลักษณะชื่นฉ่ำ สดใส ทำกายให้ผ่อง จิตใจสดชื่น ย่อมมีลักษณะตรงข้าม กับ [/FONT][FONT=&quot]พยาปาทะ[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งมีลักษณะ รุ่มร้อน เหี่ยวแห้ง จืดชืด ซีดเผือก เมื่อปีติชนะพยาปาทะ และครองความเป็นใหญ่ในจิต [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ข้อนี้พอมองเห็นง่าย คนใจดีนิสัยสดชื่นรื่นเริง ไม่โกรธง่าย ถึงโกรธความถือโกรธคุ่มแค้นในใจก็จะมีกำลังอ่อน[/FONT][FONT=&quot]พลันที่จะจางตกลงไปจากใจ [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]สุข[/FONT][FONT=&quot]=[/FONT][FONT=&quot]ความสบาย[/FONT][FONT=&quot] มีลักษณะปลอดโปร่ง ไม่อึดอัด กลัดกลุ้ม เป็นลักษณะตรงข้ามกับ[/FONT][FONT=&quot]อุทธัจจะกุกกุจจะ[/FONT][FONT=&quot] ซึ่งมีลักษณะ เดือดพล่าน และหลุกหลิก ลุกลน รำคาญ เหมือนน้ำเป็นคลื่นระลอก เมื่อ สุขชนะ อุทธัจจะกุกกุจจะ [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]ครอง ความเป็นใหญ่ในจิตได้ คนมีความสุขย่อมสงบอยู่ได้ ไม่ลุกลนเหมือนคนมีทุกข์ เช่น นั่งสบาย ก็มักนั่งนานๆได้ แต่เมื่อไม่สบายแล้ว แม้เวลานิดหน่อยก็รู้สึกนาน ถ้าจำเป็นต้องนั่งต่อไป ก็เกิดรำคาญหงุดหงิดขึ้นในใจ[/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เอกัคคตาหรือ สมาธิ[/FONT][FONT=&quot]=[/FONT][FONT=&quot]มีความเป็นหนึ่ง[/FONT][FONT=&quot] หรือความสงบ มีลักษณะนิ่งๆ เที่ยงตรง ไม่ซัดส่าย หรือสั่นไหว ซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับกามฉันทะ ซึ่งมีลักษณะกระสับกระส่าย ดิ้นรน กระดุกกระดิก เร้าจิตให้สั่นสะเทือน [/FONT][FONT=&quot]
    [/FONT][FONT=&quot]เอ กัคคตาเป็นลักษณะอย่างอ่อนของอุเบกขา ดังนั้นเมื่อถึงขั้น ฌาน [/FONT][FONT=&quot]4 ท่านจึง ให้เติมอุเบกขา เข้าไป คือ ไม่ดูถูกหรือรังเกียจความทุกข์ และไม่ยกยอความสุขจนเกินไป อย่างนี้เขาเรียก อุเบกขาหรือทางสายกลาง ถ้าเป็นสมัยนี้ก็ คือ ทำสมาธิอย่างพอเพียง แต่ไม่ประมาท ครับ[/FONT][FONT=&quot]
    <!--[if !supportLineBreakNewLine]-->[/FONT]อาการจิตตกภวังค์ คำภาวนาที่กำกับอยู่จะหายไป เท่าที่ทราบมี 2 อย่าง<o></o>
    1.ค่อยๆรวมพับ<o></o>

    2.รวมเข้าแบบทันทีทันใด คล้ายตกจากที่สูง
    ผู้ปฏิบัติใหม่บางท่านก็เข้าใจผิด นึกว่าองค์ภาวนาหายไปไหน เกิดความสงสัย นึกว่าผิด กลับมาคว้าองค์ภาวนาอีก การเดินสมาธิจึงไม่ถึงไหน ดังนั้นควรศึกษา เรื่องของฌาน 4 และ องค์ 5 (วิตก วิจารณ์ ปิติ สุข เอกัคคตา ) ของสมาธิเสียก่อนให้เข้าใจ
    อาการ เมื่อเข้าสู่ ฌาน 4 คือไม่มีลมหายใจจากประสบการณ์
    สังเกตลมหายใจละเอียดมาก เบามาก ละเอียดมาก ค่อยๆหายไป จากฐานเหนือสะดือ ไล่ขึ้นมาเรื่อยๆ จนสุดปลายจมูก แล้วหายไป เข้าสู่ความว่างเปล่า <o></o>เมื่อเข้าสู่ฌาน 4 แล้วให้เติม อุเบกขา ใจเป็นกลางเที่ยงธรรม ข้อดีของขั้นนี้มี
    1.ละสุข ทุกข์ได้ คือระงับลมหายใจอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขทุกข์ได้
    2.ดับโสมนัส โทมนัสได้
    3.จิตไม่มีทุกข์
    4.จิตเป็นกลาง
    5.จิตมีพละกำลัง คือ สติในชั้นนี้เป็นสติพละ สติสัมโพชฌงค์และสติสัมมาสมาธิ ซึ่งเป็นองค์ของมรรค เข้าควบคุมจิตใจใว้อย่างกระชับที่สุดจึงมีพละกำลังเพียงพอที่จะเป็นบรรทัดฐานแห่งการสร้างทิพยอำนาจได้
    6.จิตมีความบริสุทธิ์ผุดผ่อง
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มิถุนายน 2009
  13. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    ในการบอกเล่าประสบการณ์ การทำสมาธิ แม้จะมีผู้อ่านเป็น 100 หรือ 1000 คน แต่มีผู้สนใจ เพียง 1 คน ก็เพียงพอแล้ว ถ้าผู้อ่าน อ่านแล้ว พิจารณาตาม ด้วยเหตุและผล ที่มีอยู่ในตัวบุคคลเท่านั้น ไม่สามารถบังคับกันได้ เพราะตัวผู้เขียนบอกเล่าก็ตระหนักดีว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วนไม่เที่ยง ล้วนเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่สมควรจะยึดมั่นถือมั่น กระทู้นี้ก็เหมือนกัน ตอนนี้อยู่หน้า 1 อีกไม่นานก็จะตกไปอยู่หน้าที่เท่าไหร่ก็ไม่รู้ ไม่แน่นอน ด้วยเหตุนี้ถ้าจะตั้งเป็นหลายกระทู้ความ ก็เป็นการไม่ต่อเนื่องกันของผู้มาอ่านทีหลัง ก่อนอื่นผู้เขียนขอออกตัวก่อนว่า ตอนนี้ผู้เขียนปฏิบัติธรรมไปไกลเกินกว่าที่หลายท่านจะคาดคิด
    ว่าด้วยเรื่องอรูปฌาน คือ อากาศ อ่านดูแล้วหลายๆท่าน อาจจะหัวเราะกันบ้างแล้ว แต่อย่าพึ่งนะอุบไว้ก่อน ว่าด้วยอากาศนี้หรือการพิจารณา อรูปฌาน นี้หาอ่านในตำรายากมากนะ น้อยคนจะเข้าใจ หรือถ้าหาก มีบางท่านเข้าใจดีกว่านี้แล้ว ก็ขอให้บอกต่อกันบ้าง ผู้เขียนเพียงเพื่อจะถ่ายทอดประสบการณ์ สู่ผู้ปฏิบัติใหม่ สำหรับอรูปฌานนี้ ตัวข้าพเจ้า พิจารณาถึงความว่างเปล่า หรือ อากาศ โดยแท้จริงๆแล้ว ก็ยังมีตำหนิอยู่ ยังสามารถก่อให้เกิดรูป ได้ โดยการรวมตัวกันของอนุภาคเล็กๆหลายๆจุด ขนาดความมืด ก็ยังมีการแบ่งย่อยเม็ดสีเล็กๆสีดำ มากกว่าสีขาว ยิ่งมากเท่าไหล่ นั่นเป็นผลดีต่อผู้ปฏิบัติ ความสว่างก็เช่นกัน เม็ดสีขาว มากกว่าสีดำ ยิ่งขาวมากยิ่งเป็นผลดีต่อผู้ปฏิบัติ อากาศก็เหมือนกันเมื่อมันแปรปรวนสามารถ ดึงจิตของท่านเข้าสู่สภาวะดิ่งลึกมาก กว่า รูปฌานทั้ง 4 เสียอีก สำหรับผลที่ได้ในขั้นนี้นั้น ก็จะบอกเล่าเท่าที่มีประสบการณ์ เท่านั้นคือ มองดูท้องฟ้าหรือรอบๆตัว จะสดใสชัดเจนขึ้นกว่าเดิมเหมือนใส่คอนแทคเลคเลย ตัวหนังสือชัดเจน มาก แต่ก่อนยามใกล้ค่ำสายตาจะตามัวๆ เดี่ยวนี้ผิดกันมาก สมองโล่งๆ บอกไม่ถูก มันสบายกว่ารูปฌานทั้ง 4 มาก มองดูความว่างเปล่าทั้งลืมตาและหลับตา เหมือนกันอย่างกับพิมพ์เดียวกัน จนในบางครั้งตัวผู้เขียนเอง ขณะหลับตาทำสมาธิเมื่อเริ่มเห็นการจับตัวกันของอนุภาคเล็กๆแล้ว ก็อดจะลืมตามาดูว่า เหมือนกันกับตอนหลับตาหรือไม่ สุดท้ายก็เหมือนกัน จับตัวรวมกันให้เห็นเป็นวงอยู่ต่อหน้า ผู้เขียน ก็หลายครั้ง มองดูท้องฟ้าหรือที่มืดหรือที่สว่างก็ยังสามารถที่จะรวมตัวกันให้เห็นได้โดยไม่ต้องหลับตาเลย แปลกดีใช่ใหมครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กุมภาพันธ์ 2009
  14. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    เอ้าหละท่านผู้รู้ทั้งหลายตอนนี้ในเรื่อง ฌาน 5 ที่ผู้เขียนพอมีประสบการณ์มาเล่าสู่กันฟัง ถ้าอยากจะหัวเรอะก็ตามสบายนะครับ ไม่ว่ากัน ถือว่าเป็นนิทานสนุกก็แล้วกันครับ จริงๆแล้ว ผู้ปฏิบัติที่มุ่งพระนิพพานจริงๆ เพียงแค่ฌาน 4 ก็เพียงพอแล้ว แต่ที่ตัวผู้เขียนอาจหาญไปเล่นอรูปฌานนั้น เพราะต้องการรู้ต้องการศึกษา ตามคำสั่งสอนขององค์พระศาสดาครับ ไม่ได้อาจหาญ ที่จะเป็นพระโสดาบัน พระสกคามี พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ หรอกครับเพราะครูบาอาจารย์ท่านย้ำเสมอ ว่าเรามีเพียงแค่ศีล 5 ให้เกาะติดพระนิพพาน เป็นที่สุดท้ายก็เพียงพอแล้ว ผมจึงต้องเกาะติดคำสอนขององค์พระศาสดา เกาะติดคำสอนครูบาอาจารย์ เกาะติดศีล 5 อย่าให้บกพร่อง ครับ<o></o>
    ถ้าหากบางท่านสงสัยว่า ท่านผู้เล่าสู่กันฟังนี้ สำเร็จ ฌาน 4 แล้วจะจริงหรือ ผู้เขียนก็ของบอกได้เลยว่า ฌาน4 นี้ เป็นสมบัติที่ติดตัวท่านมาทุกคน ตราบใดที่ท่านทั้งหลายยังยึดมั่นคำสั่งสอนแห่งองค์พระศาสดา ยังรู้ว่าศีล 5 ข้อมีอะไรบ้าง รู้จักบาปและบุญ รู้จักกับเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เป็นเช่นไร ส่วนเรื่องอิทธิฤทธิและอภิญญาก็แล้วแต่บุญบารมี ของแต่ละบุคคลที่จะสั่งสมมาจากอดีตชาติ แต่สำหรับตัวผู้เขียนเองไม่ชอบเล่น เพราะเหมือนกับเป็นกับดัก หรอกจิต จึงมีโอกาสที่จะให้คุณและโทษแก่ผู้ปฏิบัติและบุคคลรอบข้างในสังคมได้ ง่าย ขนาดผู้เขียนอยากจะมีแค่ตาทิพย์ ครูบาอาจารย์ท่านยังมาสอนเป็นเรื่องเป็นราว บอกให้ทิ้งความอยากมีตัวนี้ไปเลย ก็เพราะอะไรละ ก็เพราะเรามีเพียงแค่ศีล 5 เท่านั้น จะไปหวังอะไรนักหนา ถึงแค่นิพพานก็เพียงพอแล้วครับ
    <o></o>

    และสาธุ กลับนักปฏิบัติทุกท่านครับ ถนนเส้นทางเดียวกัน แต่เราจะไม่เดินเหยียบย่ำรอยเท้าเดียวกันครับ ต่างคนต่างประสบการณ์ จุดมุ่งหมายคือให้แดนนิพพานเต็มไปด้วยนักท่องเว็บพลังจิตทุกท่านครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กุมภาพันธ์ 2009
  15. คีตเสวี

    คีตเสวี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 มกราคม 2007
    โพสต์:
    980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +750
    กำลังติดตามอ่านอยู่ด้วยคนครับ อนุโมทนาอย่างยิ่ง

    ขอตัวหนังสือโตขึ้นหน่อยก็ดีครับ
     
  16. lingli_chen

    lingli_chen สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1
    ค่าพลัง:
    +2
    ก่อนนั่งสมาธิต้องมีคำกล่าวด้วยใช่ไหมค่ะ อยากได้คำกล่าวก่อนนั่งสมาธิอ่ะค่ะ

    แล้วนั่งสมาธิก่อนนอนได้ไหมค่ะ จะใช้คำกล่าวอันไหน

    เพราะถ้านั่งตอนกลางวันนั่งไม่ได้เพราะต้องทำงานค่ะ

    ช่วยชี้แน่ะด้วยนะค่ะ เพิ่งจะเริ่มทำน่ะค่ะ
     
  17. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    คำกล่าวนำมีในกระทู้อยู่แล้วครับ ลองอ่านดูดีๆนะ ครับ จะนั่ง จะนอน จะเดิน จะนอน ได้ทั้งนั้นครับ สำหรับผมตอนหัดใหม่ๆ ผมก็นอนนับลมหายใจ ไปจนถึง 108 จบ แล้วจิตก็เข้าสมาธิ ก็เกิดปิติสุขมากกว่าที่ไม่เคยเป็นมาก่อนช่วงแรกๆ สุขทั้งวันยันเช้าเลยครับ หมายเหตุ ตอนเป็นสมาธิยังไม่นอนหลับนะ ยังรู้ตัวอยู่ แต่ถ้าท่านหลับในสมาธิท่านก็จะฝันดี แบบไม่เคยเห็นมาก่อนเช่นกันครับ
    ปกติเวลาทำงานก็ทำสมาธิได้ โดยไม่ต้องนั้งหลับตา เพียงแต่ถ้าว่างเมื่อไร ก็นึกถึงองค์ภาวนา เช่น พุธ -โธ ครับ
     
  18. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    สำหรับผู้เขียนจะถ่ายทอดเรื่องเล่าประสบการณ์เริ่มแรกจนถึงองค์ฌาน 4 กันก่อน เพื่อเป็นการไม่เสียเวลาแก่ท่านผู้สนใจปฏิบัติและศึกษาสมาธิ โดยจะแบ่งเป็นขั้นๆ เป็น หัวข้อ แต่ละหัวข้อไป<o></o>
    1.สร้างกำลังใจแก่ตนเองให้เกิดขึ้น <o></o>
    จากประสบการณ์ของผู้เขียน กำลังใจเป็นสิ่งสำคัญของนักปฏิบัติสมาธิใหม่ ๆผู้เขียนเคยไปสอบถามพระอาจารย์แถวบ้านมาตอนหัดทำใหม่ๆ<o></o>
    ผู้เขียน: ท่านอาจารย์ผมอยากจะนั่งทำสมาธิ แต่อีกทางหนึ่งผมก็ต้องสร้างเนื้อสร้างตัว สร้างครอบครัว ลำพังถ้าจะมาปฏิบัติสมาธิที่วัด 2 วัน หรือ 3 วัน แล้วผมจะเอาอะไรกิน แล้วจะเอาเงินที่ไหนมาใช้จ่ายภายในครอบครัว หยุดทำมาค้าขายแค่วันเดียวก็แย่อยู่แล้วครับ<o></o>
    ท่านพระอาจารย์: ท่านตอบว่า โยมสามารถจะทำสมาธิที่ไหนก็ได้ ไม่จำเป็นต้องอยู่ที่วัด จะทำอยู่ที่บ้านก็ได้ เพราะโยมบางคนมาถือศีลที่วัด แต่ไม่เห็นจะสำรวมในศีล ทำตัวเหมือนอยู่บ้าน จับกลุ่มนั่งพูดคุยเรื่องราวประสบการณ์ กันอย่างสนุกสนาน แต่โยมต้องมีครูบาอาจารย์คอยดูแลนะ ถ้าทำคนเดียวโดยไม่มีครูชี้แนะ อาจจะเป็นบ้าได้นะ โยมไม่กลัวหรือ<o></o>
    ผู้เขียน: กระผมไม่กลัวหรอกครับ กระผมก็อาศัยอ่านหนังสือของหลวงปู่มั่น หลวงปู่เจี๊ยะ หลวงปู่เทส หลวงพ่อจรัญ หลวงตามหาบัว ครับ <o></o>
    ท่านพระอาจารย์: ถ้าอย่างนั้น หลวงพ่อก็ขอให้ โยม ฝึกทำสมาธิไปโดยอ่านหนังสือครูบาอาจารย์ท่านก็แล้วกัน ขอให้ฝึกและพิจารณา เหตุและผลควบคู่ไปกลับสมาธิด้วยนะ เจริญพร <o></o>
    ผู้เขียน: จากนั้นข้าพเจ้าก็ลากลับ แล้วก็เริ่มฝึกสมาธิมาโดยลำพัง โดยยึดหนังสือพระอาจารย์ที่กล่าวมา เป็นสรณะที่พึ่ง<o></o>
    กำลังใจนี้ถ้าจะพิจารณาให้ดีอีกทีหนึ่ง ขอให้ผู้สนใจใหม่ หรือผู้สนใจจะฝึกอยู่ที่บ้าน แต่ยังมีความกลัวติดอยู่ กลัวบ้าอยู่ กลัวตายอยู่ ขอให้ท่าน พึงระลึกอยู่เสมอว่า หากว่าจะรอแต่เวลาที่จะค้นหาครูบาอาจารย์ ที่ดี มาช่วยอบลมสั่งสอน แล้ว ท่านรู้หรือไม่ว่า ปีหนึ่งมี กี่เดือน เดือนหนึ่งมีกี่อาทิตย์ อาทิตย์หนึ่งมีกี่วัน วันหนึ่งมีกี่ชั่วโมง ชั่วโมงหนึ่งมีกี่นาที นาทีหนึ่งมีกี่วินาที แล้วเวลานั่งสมาธิตลอดทั้งปี ท่านนั่งได้กี่วัน กี่ชั่วโมง กี่นาที แล้วเวลาที่เสียไปล่ะท่านเอาไปไว้ไหนหมด เอาไว้ไปสอบถามพระที่วัด เอาไว้หาครูบาอาจารย์ เอาไว้มีเวลาว่าง หรือ มัวแต่ทำงาน อย่างนั้นหรือ ถ้าท่านคิดดังนี้แล้วถือว่าท่านเป็นบุคคลที่ตั้งอยู่ในความประมาท ไม่นึกถึงความตาย ว่าวันใดจะมาถึง ความตายไม่มีเวลาแน่นอน มัวแต่เสียเวลาหาครูบาอาจารย์สุดท้ายก็ไม่ได้อะไรติดตัวไปเลย ความดีที่คิดอยากทำก็ไม่ได้ทำ มันน่าเสียดายครับ สู้ท่านนำเวลาที่เสียไป มาฝึกทำสมาธิจนเคยชินอยู่ที่บ้าน วันละครั้ง อาทิตย์ละครั้ง เดือนละครั้ง จะดีกว่าครับ เมื่อมีเวลาว่างจริงๆไปปฏิบัติธรรมที่วัดหากวัดนั้นเขานั่งกัน 1 ชั่งโมง ท่านก็นั่งได้ หรือ 12 ชั้วโมง ท่านก็นั่งได้สบาย พระอาจารย์ที่สอนท่านก็สบาย บุญกุศลก็มีมหาศาล แล้วแดนนิพพาน ก็อยู่ไม่ไกลเกินไปสำหรับท่านผู้ปฏิบัติครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กุมภาพันธ์ 2009
  19. บดินทร์จ้า

    บดินทร์จ้า เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    493
    ค่าพลัง:
    +749
    แล้วอีกอย่างหนึ่งคือ อย่าลังเล อย่าคิดว่ามีแต่ผู้สูงอายุเขาทำกัน ไว้อายุมากแล้วค่อยคิดทำ คิดอย่างนี้ก็ถือว่าประมาท เพราะโลกเปลี่ยนแปลงไปมาก ภัยพิบัติเกิดขึ้นได้ทุกพื้นที่ ไม่ว่าประเทศไหนในโลกนี้ ถ้าหากธรรมชาติของโลกไม่สมดุลแล้ว ธรรมชาตินั้นแหละจะปรับตัวมันเอง แล้วท่านจะมัวเสียเวลาทำไม เมื่ออ่านเจอข้อความนี้แล้วน่าจะตัดสินใจได้นะครับ และที่สำคัญเราก็มีนักปฏิบัติรุ่นพี่ๆในเว็บไซค์พลังจิต แห่งนี้มากมายพอที่จะให้คำปรึกษาท่านได้ เพราะท่านเหล่านี้ก็ได้รับการถ่ายทอดมาจากครูบาอาจารย์อีกทีหนึ่งครับ พอที่จะเป็นกำลังใจช่วยแนะนำน้องใหม่อยู่เสมอครับ<o></o>
    2.เกาะติดคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและครูบาอาจารย์<o></o>
    จากนั้นผู้เขียนค่อยๆฝึก และ อ่านหนังสือหน้าเดิมซ้ำแล้ว ซ้ำอีกไม่รู้กี่สิบรอบ จนกว่าสมาธิจะเข้าถึงระดับนั้นๆ และ เห็นจริงตามครูบาอาจารย์ท่านสอนในขั้นตอนแห่งการปฏิบัติธรรมนั้นๆ ซึ่งตำราครูบาอาจารย์ส่วนมาก ท่านจะย้ำอยู่เสมอว่า การส่งจิตออกสู่ภายนอก ไม่ใช่เป็นหนทางที่ถูกต้องในการเจริญสมาธิ เพราะยังต้องพบเจอ กับความรัก ความโลภ ความโกรธ และความหลง ความติดใจในกามคุณ ล้วนแต่ทำให้เกิด ความดีใจ ความเสียใจ ความท้อแท้ใจ ความทุกข์ใจ ความอยากได้ อยากมี อยากเป็น และ ท่านยังบอกว่าให้กลับมาพิจารณา ดูตัวเองและค่อยๆกำจัดกิเลสไปในตัวเอง อะไรเป็นเหตุให้เกิด ความทุกข์ (รูป เสียง กลิ่น รส และผัสสะ) อะไรเป็นหนทางแห่งการดับทุกข์( อริยสัจ 4 มี ทุกข์ สมุทัย นิโรส มรรค8) อะไรคือไตรลักษณ์( อนิจจัง ทุกข์ขัง อนัตตา ) อะไรเป็นอุปสรรค์ในการเจริญสมาธิ(นิวรณ์ทั้ง 5 ) อะไรคืออุบายในการใช้ปัญญาประหารกิเลส (การเกิดอยู่ การตั้งอยู่ การดับไป ) อะไรคือองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต (ขันธ์ 5 ประกอบด้วย 1.รูปขันธ์ มี ดิน น้ำ ลม ไฟ 2.นามขันธ์ มีเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) <o></o>
    3.ทำการศึกษาเพื่อจะได้คุ้นเคยกับ องค์สมาธิจะได้ไม่ตื่นกลัว และหลงทาง <o></o>
    รู้เขารู้เรา รบ 100 ครั้ง ชนะ 10 ครั้ง ก็ยังดี ที่บอกกล่าวเช่นนี้ก็เพราะว่ากำลังใจของผู้ปฏิบัติใหม่ยังไม่เต็ม 100 ยังมีความกลัวอยู่ซึ่งเป็นธรรมดา ที่จะกลัวตาย กลัวบ้า กลัวผิด อยู่ จึงเป็นการสร้างความคุ้นเคยให้กลับตัวเอง และจิต ก่อน ขั้นแรกของสมาธิ คือ ขณิกสมาธิ สงบแค่ประเดี๋ยว เดียว ได้บ้างเสียบ้าง ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบมาจากสังคม หรือสภาวะแวดล้อม แต่ก็ถือว่าเป็นนิมิตรหมายที่ดี ที่ท่านตั้งใจจะปฏิบัติธรรม ขั้นที่ 2 ของสมาธิ คืออุปจารสมาธิ ซึ่งมีทั้ง อย่าง หยาบ กลาง และ ละเอียดซึ่งก็ประกอบไปด้วยองค์ของฌาน 4 ประการ คือ วิตก วิจารณ์ ปีติ แล้วก็ สุข ซึ่งหาอ่านได้ในหลายๆกระทู้ ครับ ขั้นที่3 ของสมาธิ ถ้าในอาณาปานุสติ(กำหนดลมหายใจ เข้าออก ) คือ ฌานทั้ง 4 ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุฌาน ครับ โดยจะประกอบด้วยองค์ของฌาน 5 ประการ คือ วิตก วิจารณ์ ปีติ สุข เอกคตา และจะค่อยๆลดลง ตามกำลังของ ฌานทั้ง 4 ครับ สำหรับรายละเอียดและการสังเกตอาการ ของฌานทั้ง 4 มีอยู่ในหลายกระทู้ความเช่นเดียวกันครับ ศึกษารู้ไว้แต่ไม่ได้ยึดติดนะครับ เพราะท่านต้องรู้และปฏิบัติให้เห็นผลจริงด้วยตัวเองแล้วใช้ปัญญาที่เกิดขึ้น แก้เอง รู้เอง เข้าใจเอง แล้วทำให้สำเร็จตามเป้าหมาย คือ ฌาน ทั้ง 4 ซึ่งผู้คนหรือนักปฏิบัติใหม่ส่วนใหญ่ จะติดอยู่ในขั้นที่ 2 คือ อุปจารสมาธิ (แบบละเอียด) ของสมาธิแค่นั้นเองครับ แล้วก็ถูกเจ้านิวรณ์ ทั้ง 5 กำหลาบซะอยู่หมัด
    ข้อสังเกตุเล็กๆน้อยๆที่ไม่ควรมองข้าม
    อุปจารสมาธิ มี องค์ 4 คือ วิตก ๑ วิจารณ์๑ ปิติ ๑ สุข ๑
    อัปปมาสมาธิเป็น ฌาน มี องค์ 5 คือ วิตก ๑ วิจารณ์ ๑ ปิติ๑ สุข๑ เอกกัคตา ๑

    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} @font-face {font-family:Tahoma; panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:swiss; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:1627421319 -2147483648 8 0 66047 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->
    [FONT=&quot]อัปปนาสมาธิ[/FONT] คือ [FONT=&quot]สมาธิแน่วแน่[/FONT], [FONT=&quot]จิตตั้งมั่นสนิท เป็นสมาธิในฌาน[/FONT]<o>:p></o>:p>
    <link rel="File-List" href="file:///C:%5CDOCUME%7E1%5CA14B%7E1%5CLOCALS%7E1%5CTemp%5Cmsohtml1%5C01%5Cclip_filelist.xml"><!--[if gte mso 9]><xml> <w:WordDocument> <w:View>Normal</w:View> <w:Zoom>0</w:Zoom> <w:punctuationKerning/> <w:ValidateAgainstSchemas/> <w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid> <w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent> <w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText> <w:Compatibility> <w:BreakWrappedTables/> <w:SnapToGridInCell/> <w:ApplyBreakingRules/> <w:WrapTextWithPunct/> <w:UseAsianBreakRules/> <w:DontGrowAutofit/> </w:Compatibility> <w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel> </w:WordDocument> </xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml> <w:LatentStyles DefLockedState="false" LatentStyleCount="156"> </w:LatentStyles> </xml><![endif]--><style> <!-- /* Font Definitions */ @font-face {font-family:"Angsana New"; panose-1:2 2 6 3 5 4 5 2 3 4; mso-font-charset:0; mso-generic-font-family:roman; mso-font-pitch:variable; mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;} /* Style Definitions */ p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal {mso-style-parent:""; margin:0cm; margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:12.0pt; mso-bidi-font-size:14.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Angsana New";} @page Section1 {size:612.0pt 792.0pt; margin:72.0pt 90.0pt 72.0pt 90.0pt; mso-header-margin:36.0pt; mso-footer-margin:36.0pt; mso-paper-source:0;} div.Section1 {page:Section1;} --> </style><!--[if gte mso 10]> <style> /* Style Definitions */ table.MsoNormalTable {mso-style-name:ตารางปกติ; mso-tstyle-rowband-size:0; mso-tstyle-colband-size:0; mso-style-noshow:yes; mso-style-parent:""; mso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt; mso-para-margin:0cm; mso-para-margin-bottom:.0001pt; mso-pagination:widow-orphan; font-size:10.0pt; font-family:"Times New Roman"; mso-bidi-font-family:"Times New Roman"; mso-ansi-language:#0400; mso-fareast-language:#0400; mso-bidi-language:#0400;} </style> <![endif]-->[FONT=&quot]ฌานคือ [/FONT][FONT=&quot]การเพ่งอารมณ์จนใจแน่วแน่ เป็นอัปปนาสมาธิ[/FONT][FONT=&quot], [/FONT][FONT=&quot]ภาวะจิตสงบประณีต ซึ่งมีสมาธิเป็นองค์ธรรมหลัก[/FONT]
    หากท่านใด ยังมีนิวรณ์ 5 อยู่ อย่าพึงคิด ว่าเป็นฌาน นะครับ
    หรือบางครั้งไม่ต้องคิดหรือสนใจยิ่งดี
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กุมภาพันธ์ 2009
  20. jokerpalm

    jokerpalm Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    231
    ค่าพลัง:
    +46
    อนุโมทนาครับ ผมเองก็เพิ่งฝึก ช่วยๆกันขุดกระทู้นี้หน่อยนะครับ สุดยอดจริงๆ
     

แชร์หน้านี้

Loading...